fbpx
วิกิพีเดีย

ภาษาโซ่ (ทะวืง)

ระวังสับสนกับ ภาษาโซ่

ภาษาโซ่ (ทะวืง) หรือ ภาษาทะวืง มีผู้พูดทั้งหมด 2,520 คน พบในไทย 750 คน (พ.ศ. 2539) ในจังหวัดสกลนคร พูดภาษาลาวได้ด้วย ในลาวมี 1,770 คน (พ.ศ. 2543) จัดอยู่ในตระกูลภาษาออสโตรเอเชียติก กลุ่มมอญ-เขมร สาขาเวียตติก ในประเทศไทยบางครั้งเรียกภาษานี้ว่าภาษาโซ่ เป็นคนละภาษากับภาษามลาบรีหรือภาษาผีตองเหลือง

ภาษาโซ่ (ทะวืง)
ประเทศที่มีการพูดไทย, ลาว
จำนวนผู้พูด700 คน  (2550 )
ตระกูลภาษา
ระบบการเขียนอักษรไทย (ในไทย)
รหัสภาษา
ISO 639-3thm

สัทวิทยา

พยัญชนะ

หน่วยเสียงพยัญชนะภาษาโซ่ (ทะวืง) ถิ่นหนองม่วงและหนองแวง จังหวัดสกลนคร
ลักษณะการออกเสียง ตำแหน่งเกิดเสียง
ริมฝีปาก ปุ่มเหงือก เพดานแข็ง เพดานอ่อน เส้นเสียง
เสียงนาสิก m n ɲ ŋ
เสียงหยุด ก้อง b d
ไม่ก้อง ไม่พ่นลม p t c k ʔ
พ่นลม
เสียงเสียดแทรก (f) s h
เสียงข้างลิ้น l
เสียงกึ่งสระ w j


  • หน่วยเสียงที่เป็นได้ทั้งพยัญชนะต้นและพยัญชนะท้ายมี 11 หน่วยเสียง ได้แก่ /m/, /n/, /ŋ/, /p/, /t/, /k/, /ʔ/, /s/, /h/, /w/ และ /j/
  • หน่วยเสียง /c/ อาจออกเสียงเป็น [c] หรือ [t͡ɕ]
  • หน่วยเสียง /f/ พบเฉพาะในคำยืมจากภาษาไทย ผู้พูดรุ่นเก่ามักออกเสียงพยัญชนะนี้เป็น [pʰ]
  • หน่วยเสียง /s/ เมื่ออยู่ในตำแหน่งต้นพยางค์ออกเสียงเป็น [s] หรือ [ʃ] และเมื่ออยู่ในตำแหน่งท้ายพยางค์ออกเสียงเป็น [ç]

สระ

สระเดี่ยว

หน่วยเสียงสระเดี่ยวภาษาโซ่ (ทะวืง) ถิ่นหนองม่วงและหนองแวง จังหวัดสกลนคร
ระดับลิ้น ตำแหน่งลิ้น
หน้า กลาง หลัง
สูง i ɨ u
กึ่งสูง e ə o
กึ่งต่ำ ʌ
ต่ำ ɛ a ɔ

สระประสม

หน่วยเสียงสระประสมภาษาโซ่ (ทะวืง) ถิ่นหนองม่วงและหนองแวงมี 2 หน่วยเสียง ได้แก่ /ia/ และ /ua/

ลักษณะน้ำเสียง

ภาษาโซ่ (ทะวืง) ถิ่นหนองม่วงและหนองแวงมีลักษณะน้ำเสียง 3 ลักษณะ ได้แก่ ลักษณะน้ำเสียงปกติ ลักษณะน้ำเสียงทุ้มต่ำ และลักษณะน้ำเสียงสูงบีบ ปัจจุบันลักษณะน้ำเสียงเหล่านี้อยู่ระหว่างการพัฒนาขึ้นมาเป็นเสียงวรรณยุกต์

ระบบการเขียน

ตัวเขียนภาษาโซ่ (ทะวืง) อักษรไทยตามที่คณะกรรมการจัดทำระบบเขียนภาษาท้องถิ่นของกลุ่มชาติพันธุ์ด้วยอักษรไทย สำนักงานราชบัณฑิตยสภา ได้กำหนดไว้ มีดังนี้

พยัญชนะ
อักษรไทย เสียง ตัวอย่างคำ ความหมาย
/k/ ไก่
เล็ เหล้ก
/kʰ/ ค้ จระเข้
/ŋ/ งั วัว
ทั่ ไม้
/c/ จ้ หมา
/s/ ซี มือ
กุ ไฟ
/ɲ/ ญี หัวใจ
/d/ เรือ
/t/ (เมื่อเป็นพยัญชนะท้าย) แป้ ปลูก
/t/ (เมื่อเป็นพยัญชนะต้น) ตื้ ถ้วยชาม
/tʰ/ ท็อง กระสอบ
/n/ นิ้ คอ
กู้ หมู
/b/ นกฮูก
/p/ (เมื่อเป็นพยัญชนะท้าย) จุ กีดขวาง (ใช้กับต้นไม้)
/p/ (เมื่อเป็นพยัญชนะต้น) ดอกไม้
/pʰ/ พียง ฟางข้าว
/m/ มั นัยน์ตา
เป พระจันทร์
/j/ งเ จักรยาน
นื อยู่
/l/ ลุ งู
/w/ ว้อง หม้อ
อ้า เสื้อ
/ʔ/ (เมื่อเป็นพยัญชนะต้น) อุ บ้าน
/h/ ฮ็อก คางคก
ติ หนอน
ไม่มีรูป /ʔ/ (เมื่อเป็นพยัญชนะท้าย) ฮุ รู้
สระ
อักษรไทย เสียง ตัวอย่างคำ ความหมาย
–ะ /a/ (เมื่อออกเสียงสั้น ไม่มีพยัญชนะท้าย
และอยู่ในคำหลายพยางค์ หรือเมื่อมีพยัญชนะท้ายเป็น /ʔ/)
ลู้น ไข่
มัน (สรรพนาม)
–ั /a/ (เมื่อออกเสียงสั้นและมีพยัญชนะท้ายอื่น) บั หน่อไม้
–า /a/ (เมื่อไม่มีพยัญชนะท้ายหรือเมื่อออกเสียงยาว) ไก่
จ้ ข้าวสุก
–ิ /i/ (เมื่อออกเสียงสั้น) ติ หนอน
–ี /i/ (เมื่อไม่มีพยัญชนะท้ายหรือเมื่อออกเสียงยาว) ตี ไป
จี เท้า
–ึ /ɨ/ (เมื่อออกเสียงสั้น) บึ เปิด
–ือ /ɨ/ (เมื่อไม่มีพยัญชนะท้าย) จือ จำ
–ื /ɨ/ (เมื่อออกเสียงยาวและมีพยัญชนะท้าย) ฮื บุหรี่
–ุ /u/ (เมื่อออกเสียงสั้น) ตุ่ ถั่ว
–ู /u/ (เมื่อไม่มีพยัญชนะท้ายหรือเมื่อออกเสียงยาว) ทู ลึก
กู้ หมู
เ–ะ /e/ (เมื่อออกเสียงสั้นและมีพยัญชนะท้ายเป็น /ʔ/) เตะ
เ–็ /e/ (เมื่อออกเสียงสั้นและมีพยัญชนะท้ายอื่น) เล็ เหล็ก
เ– /e/ (เมื่อออกเสียงยาว) ปม พระจันทร์
แ–ะ /ɛ/ (เมื่อออกเสียงสั้นและมีพยัญชนะท้ายเป็น /ʔ/) กะ เกวียน
แ–็ /ɛ/ (เมื่อออกเสียงสั้นและมีพยัญชนะท้ายอื่น) แล็ เป็น
แ– /ɛ/ (เมื่อไม่มีพยัญชนะท้ายหรือเมื่อออกเสียงยาว) มี
ก้น มด, เอว
โ–ะ /o/ (เมื่อออกเสียงสั้นและมีพยัญชนะท้ายเป็น /ʔ/) กะ กะลา
โ–็ /o/ (เมื่อออกเสียงสั้นและมีพยัญชนะท้ายเป็น /h/ หรือ /w/) โก็ คำ
โท็ แก, มึง
โ–ะ (ลดรูป) /o/ (เมื่อออกเสียงสั้นและมีพยัญชนะท้ายอื่น) กน คน
โ– /o/ (เมื่อไม่มีพยัญชนะท้ายหรือเมื่อออกเสียงยาว) อะก้ ข้าวสาร
อง ช้าง
เ–าะ /ɔ/ (เมื่อออกเสียงสั้นและมีพยัญชนะท้ายเป็น /ʔ/) ซะาะ ทิ่ม, ตำ
–็อ /ɔ/ (เมื่อออกเสียงสั้นและมีพยัญชนะท้ายอื่น) ญ็อ ตั๊กแตนตำข้าว
–อ /ɔ/ (เมื่อไม่มีพยัญชนะท้ายหรือเมื่อออกเสียงยาว) ลิง
ต่อ (แมลง)
เ–อะ /ə/ (เมื่อมีพยัญชนะท้ายเป็น /ʔ/) อะ นินทา
เ–อ /ə/ (เมื่อไม่มีพยัญชนะท้าย) เก้อ ใกล้
เ–ิ /ə/ (เมื่อมีพยัญชนะท้ายอื่น) เนิ้ คอ
เ–อฺ /ʌ/ เว้อฺ บ้า
เ–า /aw/ เจ้า เรา
เ–ีย /ia/ เยีย ปลาไหล
–ัว /ua/ (เมื่อไม่มีพยัญชนะท้าย) กั้ว ผึ้ง
–ว– /ua/ (เมื่อมีพยัญชนะท้าย) อะย ชวน
  • การเลือกใช้รูปสระสั้นหรือยาวเป็นไปตามการออกเสียงของเจ้าของภาษา
    ซึ่งไม่สามารถระบุเงื่อนไขการเกิดเสียงสั้นและยาวได้
ลักษณะน้ำเสียง
อักษรไทย ลักษณะน้ำเสียง ตัวอย่างคำ ความหมาย
ไม่มีรูป ปกติ กา ไก่
แกน แตงกวา
–่ ทุ้มต่ำ ทั่ ไม้
ฮ่าน ห่าน
–้ สูงบีบ ก้ ปลา
ก้ ครกตำข้าว

อ้างอิง

  • Gordon, Raymond G., Jr. (ed.), 2005. Ethnologue: Languages of the World, Fifteenth edition. Dallas, Tex.: SIL International. Online version: http://www.ethnologue.com/
  1. Thavưng at Ethnologue (18th ed., 2015)
  2. สำนักงานราชบัณฑิตยสภา. คู่มือระบบเขียนภาษาโซ่ (ทะวืง) อักษรไทย ฉบับราชบัณฑิตยสภา. กรุงเทพฯ : สำนักงานราชบัณฑิตยสภา, 2560, หน้า 26.
  3. Premsrirat, Suwilai. "Phonological characteristics of So (Thavung), a Vietic language of Thailand." Mon-Khmer Studies 26 (1996): 161-178.
  4. สำนักงานราชบัณฑิตยสภา. คู่มือระบบเขียนภาษาโซ่ (ทะวืง) อักษรไทย ฉบับราชบัณฑิตยสภา. กรุงเทพฯ : สำนักงานราชบัณฑิตยสภา, 2560, หน้า 11.
  5. สำนักงานราชบัณฑิตยสภา. คู่มือระบบเขียนภาษาโซ่ (ทะวืง) อักษรไทย ฉบับราชบัณฑิตยสภา. กรุงเทพฯ : สำนักงานราชบัณฑิตยสภา, 2560, หน้า 29.
  6. สำนักงานราชบัณฑิตยสภา. คู่มือระบบเขียนภาษาโซ่ (ทะวืง) อักษรไทย ฉบับราชบัณฑิตยสภา. กรุงเทพฯ : สำนักงานราชบัณฑิตยสภา, 2560, หน้า 4.


ภาษาโซ, ทะว, ระว, งส, บสนก, ภาษาโซ, หร, ภาษาทะว, ดท, งหมด, คน, พบในไทย, คน, 2539, ในจ, งหว, ดสกลนคร, ดภาษาลาวได, วย, ในลาวม, คน, 2543, ดอย, ในตระก, ลภาษาออสโตรเอเช, ยต, กล, มมอญ, เขมร, สาขาเว, ยตต, ในประเทศไทยบางคร, งเร, ยกภาษาน, าภาษาโซ, เป, นคนละภาษาก, บภาษา. rawngsbsnkb phasaos phasaos thawung hrux phasathawung miphuphudthnghmd 2 520 khn phbinithy 750 khn ph s 2539 incnghwdsklnkhr phudphasalawiddwy inlawmi 1 770 khn ph s 2543 cdxyuintrakulphasaxxsotrexechiytik klummxy ekhmr sakhaewiyttik inpraethsithybangkhrngeriykphasaniwaphasaos epnkhnlaphasakbphasamlabrihruxphasaphitxngehluxngphasaos thawung praethsthimikarphudithy lawcanwnphuphud700 khn 2550 1 trakulphasaxxsotrexechiytik mxy ekhmrewiyttikphasaos thawung rabbkarekhiynxksrithy inithy rhsphasaISO 639 3thm enuxha 1 sthwithya 1 1 phyychna 1 2 sra 1 2 1 sraediyw 1 2 2 sraprasm 1 3 lksnanaesiyng 2 rabbkarekhiyn 3 xangxingsthwithya aekikhphyychna aekikh hnwyesiyngphyychnaphasaos thawung thinhnxngmwngaelahnxngaewng cnghwdsklnkhr 2 lksnakarxxkesiyng taaehnngekidesiyngrimfipak pumehnguxk ephdanaekhng ephdanxxn esnesiyngesiyngnasik m n ɲ ŋesiynghyud kxng b dimkxng imphnlm p t c k ʔphnlm pʰ tʰ kʰesiyngesiydaethrk f s hesiyngkhanglin lesiyngkungsra w j hnwyesiyngthiepnidthngphyychnatnaelaphyychnathaymi 11 hnwyesiyng idaek m n ŋ p t k ʔ s h w aela j hnwyesiyng c xacxxkesiyngepn c hrux t ɕ 3 hnwyesiyng f phbechphaainkhayumcakphasaithy phuphudrunekamkxxkesiyngphyychnaniepn pʰ 4 hnwyesiyng s emuxxyuintaaehnngtnphyangkhxxkesiyngepn s hrux ʃ aelaemuxxyuintaaehnngthayphyangkhxxkesiyngepn c 3 sra aekikh sraediyw aekikh hnwyesiyngsraediywphasaos thawung thinhnxngmwngaelahnxngaewng cnghwdsklnkhr 5 radblin taaehnnglinhna klang hlngsung i ɨ ukungsung e e okungta ʌta ɛ a ɔ sraprasm aekikh hnwyesiyngsraprasmphasaos thawung thinhnxngmwngaelahnxngaewngmi 2 hnwyesiyng 5 idaek ia aela ua lksnanaesiyng aekikh phasaos thawung thinhnxngmwngaelahnxngaewngmilksnanaesiyng 3 lksna idaek lksnanaesiyngpkti lksnanaesiyngthumta aelalksnanaesiyngsungbib pccubnlksnanaesiyngehlanixyurahwangkarphthnakhunmaepnesiyngwrrnyukt 6 rabbkarekhiyn aekikhtwekhiynphasaos thawung xksrithytamthikhnakrrmkarcdtharabbekhiynphasathxngthinkhxngklumchatiphnthudwyxksrithy sanknganrachbnthityspha idkahndiw midngni phyychna xksrithy esiyng twxyangkha khwamhmayk k ka ikelk ehlkkh kʰ aekh craekhng ŋ ngw wwthng imc c cx hmas s si muxkus ify ɲ yim hwicd d odk erux t emuxepnphyychnathay aepd plukt t emuxepnphyychnatn tuy thwychamth tʰ thxng krasxbn n enid khxkun hmub b ob nkhuk p emuxepnphyychnathay cub kidkhwang ichkbtnim p p emuxepnphyychnatn opng dxkimph pʰ ephiyng fangkhawm m md nyntaepm phracnthry j oyngeyng ckryannuy xyul l luk nguw w wxng hmxxaw esuxx ʔ emuxepnphyychnatn xuh banh h hxk khangkhktih hnxnimmirup ʔ emuxepnphyychnathay hu ru sra xksrithy esiyng twxyangkha khwamhmay a a emuxxxkesiyngsn immiphyychnathayaelaxyuinkhahlayphyangkh hruxemuxmiphyychnathayepn ʔ talun ikhna mn srrphnam a emuxxxkesiyngsnaelamiphyychnathayxun bng hnxim a a emuximmiphyychnathayhruxemuxxxkesiyngyaw ka ikcaw khawsuk i i emuxxxkesiyngsn tih hnxn i i emuximmiphyychnathayhruxemuxxxkesiyngyaw ti ipcing etha u ɨ emuxxxkesiyngsn buh epid ux ɨ emuximmiphyychnathay cux ca u ɨ emuxxxkesiyngyawaelamiphyychnathay hud buhri u u emuxxxkesiyngsn tuh thw u u emuximmiphyychnathayhruxemuxxxkesiyngyaw thu lukkun hmue a e emuxxxkesiyngsnaelamiphyychnathayepn ʔ eta etae e emuxxxkesiyngsnaelamiphyychnathayxun elk ehlke e emuxxxkesiyngyaw epm phracnthrae a ɛ emuxxxkesiyngsnaelamiphyychnathayepn ʔ kaaetha ekwiynae ɛ emuxxxkesiyngsnaelamiphyychnathayxun aelh epnae ɛ emuximmiphyychnathayhruxemuxxxkesiyngyaw aex miaekn md exwo a o emuxxxkesiyngsnaelamiphyychnathayepn ʔ kaopa kalao o emuxxxkesiyngsnaelamiphyychnathayepn h hrux w okh khaothw aek mungo a ldrup o emuxxxkesiyngsnaelamiphyychnathayxun kn khno o emuximmiphyychnathayhruxemuxxxkesiyngyaw xaok khawsaroxng change aa ɔ emuxxxkesiyngsnaelamiphyychnathayepn ʔ saelaa thim ta x ɔ emuxxxkesiyngsnaelamiphyychnathayxun yxs tkaetntakhaw x ɔ emuximmiphyychnathayhruxemuxxxkesiyngyaw dx lingxxng tx aemlng e xa e emuxmiphyychnathayepn ʔ exxa ninthae x e emuximmiphyychnathay ekx ikle i e emuxmiphyychnathayxun enid khxe x ʌ ewx bae a aw eca erae iy ia eyiyn plaihl w ua emuximmiphyychnathay kw phung w ua emuxmiphyychnathay xaywng chwnkareluxkichrupsrasnhruxyawepniptamkarxxkesiyngkhxngecakhxngphasasungimsamarthrabuenguxnikhkarekidesiyngsnaelayawid 5 lksnanaesiyng xksrithy lksnanaesiyng twxyangkha khwamhmayimmirup pkti ka ikaekn aetngkwa thumta thng imhan han sungbib ka plaokn khrktakhawxangxing aekikhGordon Raymond G Jr ed 2005 Ethnologue Languages of the World Fifteenth edition Dallas Tex SIL International Online version http www ethnologue com Thavưng at Ethnologue 18th ed 2015 sanknganrachbnthityspha khumuxrabbekhiynphasaos thawung xksrithy chbbrachbnthityspha krungethph sanknganrachbnthityspha 2560 hna 26 3 0 3 1 Premsrirat Suwilai Phonological characteristics of So Thavung a Vietic language of Thailand Mon Khmer Studies 26 1996 161 178 sanknganrachbnthityspha khumuxrabbekhiynphasaos thawung xksrithy chbbrachbnthityspha krungethph sanknganrachbnthityspha 2560 hna 11 5 0 5 1 5 2 sanknganrachbnthityspha khumuxrabbekhiynphasaos thawung xksrithy chbbrachbnthityspha krungethph sanknganrachbnthityspha 2560 hna 29 sanknganrachbnthityspha khumuxrabbekhiynphasaos thawung xksrithy chbbrachbnthityspha krungethph sanknganrachbnthityspha 2560 hna 4 ekhathungcak https th wikipedia org w index php title phasaos thawung amp oldid 9113723, wikipedia, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด,

บทความ

, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม