fbpx
วิกิพีเดีย

ภูมิอากาศจุลภาค

ภูมิอากาศจุลภาค หรือ ภูมิอากาศขนาดย่อม (อังกฤษ: microclimate หรือ micro-climate) คือสภาพอากาศเฉพาะพื้นที่หรือเฉพาะจุดย่อย ๆ ที่แตกต่างจากสภาพแวดล้อมโดยรอบเล็กน้อยหรือแตกต่างอย่างมาก มีขอบเขตของขนาด (scale) หรือพื้นที่ครอบคลุมที่ต่างกัน อาจครอบคลุมสภาพภายในบริเวณขนาดเล็กเพียงไม่กี่ตารางเมตร (เช่น แปลงพืชขนาดย่อม หรือถ้ำ) ถึงขนาดใหญ่หลายตารางกิโลเมตรเช่น สภาพอากาศของเมือง ทั้งยังมีคำจำกัดความและการนำไปใช้ที่หลากหลายตามบริบทของสาขาวิทยาการ เช่น ภูมิอากาศวิทยา ภูมิสถาปัตยกรรม เกษตรศาสตร์

ภูมิอากาศจุลภาคบนโขดหินที่ตั้งอยู่ในเขตน้ำขึ้นน้ำลงในเมืองซันไรซ์-ออน-ซี แอฟริกาใต้

โดยทั่วไปสภาวการณ์ของภูมิอากาศเกิดขึ้นจากความแปรผันของปัจจัยเชิงพื้นที่และช่วงเวลาซึ่งสามารถวัดค่าได้ทางสถิติ ภายในภูมิภาคระดับจุลภาคจึงมีผลมาจากปัจจัยที่หลากหลาย เช่น อุณหภูมิ ความชื้น ลม การกักเก็บความร้อน การระเหยของน้ำ เป็นต้น

ภูมิอากาศจุลภาคสามารถพบได้ในทุกสถานที่ เช่น ใกล้แหล่งน้ำซึ่งอาจทำให้บรรยากาศในบริเวณโดยรอบเย็นลง หรือในเขตเมืองที่มีความหนาแน่นสูง อิฐ คอนกรีต และแอสฟัลต์ดูดซับพลังงานของดวงอาทิตย์ ทำให้ร้อนขึ้น และแผ่ความร้อนนั้นกลับคืนสู่อากาศแวดล้อม เกาะความร้อนในเมืองเป็นภูมิอากาศจุลภาคชนิดหนึ่ง

ประวัติ

 
เฟิร์นต้นเจริญเติบโตได้ในพื้นที่เขตอนุรักษ์แห่งหนึ่ง ที่เป็นแนวร่องเนิน (dell) ใน Lost Gardens of Heligan ในคอร์นวอลล์ ประเทศอังกฤษ ละติจูด 50° 15'น.

ศัพท์ "micro-climate" ปรากฏครั้งแรกในช่วงคริสต์ทศศวรรษ 1950 ในสิ่งพิมพ์ได้แก่ ภูมิอากาศแบบย่อส่วน: การศึกษาสภาพแวดล้อมในภูมิอากาศจุลภาค (Climates in Miniature: A Study of Micro-Climate Environment) โดยทอมัส เบดฟอร์ด แฟรงคลิน (Thomas Bedford Franklin) ปี 1955

ที่มาและปัจจัยอิทธิพล

ปัจจัยหลักที่เป็นตัวกำหนดสภาพภูมิอากาศจุลภาคภายในพื้นที่หนึ่ง คือ อุณหภูมิและความชื้น ซึ่งสามารถชี้วัดได้จากอุณหภูมิของอากาศ ความชื้นสัมพัทธ์อากาศ ความเร็วลมปะทะ และอุณหภูมิเฉลี่ยของพื้นผิวโดยรอบ

แหล่งที่มาของการลดลงของอุณหภูมิและหรือความชื้น อาจเกิดจากแหล่งหรือปัจจัยอิทธิพลที่แตกต่าง บ่อยครั้งที่สภาพภูมิอากาศจุลภาคก่อตัวจากการผสมรวมกันของปัจจัยอิทธิพลหลายอย่าง ทั้งที่เกื้อหนุนกันและหักล้างกัน ซึ่งเป็นเรื่องของอุตุนิยมวิทยาระดับจุลภาค

ภูมิประเทศธรรมชาติ

พื้นผิวลาดชันของภูเขา

ปัจจัยหลักที่มีผลต่อภูมิอากาศจุลภาค คือภูมิประเทศ (topography) ตั้งแต่รูปลักษณะของพื้นผิวดิน ความลาดชัน (slope) และทิศทางของความลาดชัน (aspect) ที่เป็นตัวกำหนดปริมาณในการรับแสงแดด ซึ่งส่งผลกระทบต่อแสงและเงาที่เกิดขึ้นในพื้นที่ และส่งผลต่ออุณหภูมิผิวดิน เช่น พื้นที่ลาดชันที่หันเข้าสู่ทิศใต้ของซีกโลกเหนือและพื้นที่ลาดชันที่หันเข้าสู่ทิศเหนือของซีกโลกใต้จะได้รับแสงแดดโดยตรงมากกว่าพื้นที่ลาดชันที่อยู่ตรงข้ามกัน การได้รับแสงมากกว่าจึงมีความอุ่นขึ้นเป็นระยะเวลานาน (ความร้อนสะสมนานกว่า) ซึ่งทำให้ทางลาดมีสภาพอากาศที่อุ่นกว่าพื้นที่โดยรอบอื่น พื้นที่ต่ำสุดของหุบเขาบางครั้งอาจแข็งตัวเร็วหรือแข็งกว่าจุดที่ขึ้นเขาในบริเวณใกล้เคียง เนื่องจากอากาศเย็นจะจมลง ลมที่พัดพาให้แห้งอาจไม่ถึงด้านล่างต่ำสุด และความชื้นยังคงอยู่และตกตะกอน จากนั้นจึงกลายเป็นน้ำแข็ง

ดิน

ประเภทของดินในพื้นที่สามารถส่งผลกระทบต่อภูมิอากาศจุลภาค จากคุณสมบัติของดินในการกักเก็บน้ำไว้ในพื้นที่ และปลดปล่อยน้ำออกสู่ชั้นบรรยากาศผ่านการระเหย ส่งผลต่อปริมาณความชื้นในอากาศ และการสะสมความร้อนในโพรงอากาศระหว่างเม็ดดิน ดินที่มีสัดส่วนของดินเหนียวมากกว่าจะสามารถกักเก็บน้ำและสร้างความชื้นให้กับพื้นที่ได้มากกว่าดินที่สัดส่วนของดินทรายสูง กล่าวคือดินทรายมีอุณหภูมิสูงกว่าดินร่วนและดินเหนียว ตามลำดับ

นอกจากสัดส่วนขององค์ประกอบภายในดินแล้ว ปริมาณสิ่งปกคลุมบนผิวดินก็มีผลต่ออุณหภูมิและปริมาณความชื้นสัมพัทธ์ภายในพื้นที่ ดินที่ไม่มีสิ่งปกคลุมจะได้รับแสงและความร้อนมากกว่าพื้นที่ที่ถูกปกคลุมด้วยพืชพรรณหรือหญ้า

แอ่งอากาศเย็น

ตัวอย่างที่ดีของแอ่งอากาศเย็น (cold air pool, CAP) ได้แก่ หลุมยุบคชเต็ทเนอร์อัล์ม (Gstettneralm) ในออสเตรีย (อุณหภูมิต่ำสุดที่บันทึกไว้ −53 °ซ. (−63 °ฟ.)) และหลุมยุบปีเตอร์ (Peter Sinks) ในสหรัฐอเมริกา

ซึ่งเกิดจากปัจจัยอิทธิพลที่สัมพันธ์กันคือ ความเร็วลม ความลึกของแอ่ง และความถี่ในการลอยตัวของมวลอากาศในแอ่ง กล่าวคือ ขึ้นกับปัจจัยอิทธิพลจากลมอุ่นภายนอกที่พัดลงในแอ่งในการเปลี่ยนสภาพภูมิอากาศ (อุณหภูมิของอากาศในแอ่ง)

ปล่องภูเขาไฟ

ที่ภูเขาไฟเมานาเคอา ในฮาวาย พบการก่อตัวของชั้น​ดินเยือกแข็งใต้ผิวของปล่องภูเขาไฟ แม้ว่ายอดภูเขาไฟนี้จะเป็นพื้นที่ปราศจากน้ำแข็งและแห้งแล้งเป็นพิเศษ แต่ดินเยือกแข็งกระจายตัวในส่วนที่เป็นชั้นสะสมของเถ้าลาวา (กรวยขี้เถ้ายอดยอดภูเขาไฟ) ทำให้เกิดสภาพภูมิอากาศจุลภาคที่เป็นเอกลักษณ์ และยังอาจนำไปอธิบายสภาพภูมิอากาศจุลภาคของดาวอังคารได้ ซึ่งพบแผ่นน้ำแข็งประปรายในบริเวณที่ค่อนข้างอบอุ่น

ภูมิอากาศจุลภาคพืช

ตามที่รูด็อล์ฟ ไกเกอร์ (Rudolf Geiger) ชี้ให้เห็นในหนังสือของเขา ไม่เพียงแต่สภาพอากาศเท่านั้นที่มีอิทธิพลต่อพืชที่มีชีวิต แต่ผลกระทบที่ตรงกันข้ามกับปฏิสัมพันธ์ของพืชที่มีต่อสิ่งแวดล้อมสามารถเกิดขึ้นได้เช่นกัน และเป็นที่รู้จักกันในนามสภาพภูมิอากาศของพืช ผลกระทบนี้มีผลสำคัญต่อผืนป่าในใจกลางทวีป ซึ่งหากป่าไม้ไม่สร้างเมฆและวัฏจักรของน้ำจากกิจกรรมการคายระเหยอย่างมีประสิทธิภาพ จะไม่สามารถมีป่าไม้ได้ในที่ห่างไกลจากชายฝั่ง เนื่องจากตามสถิติแล้วหากไม่มีปัจจัยอิทธิพลอื่น ๆ น้ำฝนที่ตกจะมีปริมาณค่อย ๆ ลดลงนับจากชายฝั่งไล่ไปสู่ใจกลางพื้นทวีป การปลูกต้นไม้เพื่อต่อสู้กับภัยแล้งในพื่นที่ที่ไม่เคยเป็นป่ามาก่อนได้รับการเสนอเป็นส่วนหนึ่งบริบทของการปลูกป่า

แอ่งน้ำ

แอ่งน้ำธรรมชาติ อ่างเก็บน้ำ และเขื่อน ล้วนสร้างภูมิอากาศจุลภาค และมักมีอิทธิพลต่อสภาพอากาศมหภาคเช่นกัน

ภูมิสถาปัตยกรรม

ในเขตเมืองที่หนาแน่นรวมทั้งวัสดุเช่นอิฐ คอนกรีต หรือแอสฟัลต์ ต่างดูดซับพลังงานของดวงอาทิตย์ ทำให้ร้อนขึ้น และแผ่ความร้อนนั้นกลับคืนสู่อากาศแวดล้อมในสภาพกึ่งปิดโดยเฉพาะพื้นที่อาคารสูงทำได้ยาก และมีระบบถนนที่แคบและปิดทางลม สร้างสภาวะที่เรียกว่าเกาะความร้อนในเมือง ซึ่งเป็นภูมิอากาศจุลภาคชนิดหนึ่ง

ความคิดเรื่องภูมิอากาศและการจัดการภูมิอากาศจุลภาคในการเกษตร (agronomy) ยังนำมาประยุกต์ใช้สำหรับภูมิสถาปัตยกรรมศาสตร์ เช่น การจัดการพืชสวนแบบต่าง ๆ

สภาวะน่าสบาย

การสร้างสภาวะน่าสบาย (comfort zone) ด้วยการควบคุมปัจจัยอิทธิพลที่ก่อเกิดสภาพภูมิอากาศจุลภาค เช่น แสงแดด กระแสลม โดยการใช้องค์ประกอบเชิงภูมิสถาปัตยกรรมได้แก่

น้ำ ใช้ในการช่วยปรับอุณภูมิของพื้นที่ ช่วยเพิ่มความชื้นสัมพัทธ์ในอากาศผ่านการระเหย และลดการกักเก็บความร้อนของพื้นที่ เนื่องจากมวลน้ำมีศักยภาพในการกักเก็บความร้อนได้แย่กว่าพื้นดิน นอกจากนี้อุณหภูมิที่ต่างกันของผิวน้ำและผิวดินจะทำให้เกิดการหมุนเวียนของกระแสลมขึ้นในพื้นที่ รวมทั้งโครงข่ายการเชื่อมกันของแหล่งน้ำ (network of water bodies)

พืชพรรณ (vegetation) ช่วยดูดซับความร้อนภายในพื้นที่ เนื่องจากพืชจะกักเก็บพลังงานจากแสงอาทิตย์ไปใช้ในกระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง และในกระบวนการดำรงชีวิตของพืชจะมีการคายน้ำออกมาซึ่งช่วยเพิ่มปริมาณความชื้นในอากาศ นอกจากนี้พืชยังช่วยสร้างสร้างร่มเงาให้แก่พื้นที่และลดการสะท้อนความร้อน การปลูกพืชพรรณจึงช่วยลดอุณหภูมิภายในพื้นที่ พื้นที่บริเวณที่มีพืชพรรณมีอุณหภูมิต่ำกว่าพื้นที่โดยรอบ 2-2.5 องศาเซลเซียส

กลุ่มของไม้ยืนต้นและไม้พุ่มจะช่วยกำหนดทิศทางของกระแสลม ปรับอุณหภูมิของลมที่พัดเข้ามาภายในพื้นที่ และทำหน้าที่เป็นทั้งกำบังให้แก่พื้นที่ที่มีลมพัดแรงเกินไป และสร้างช่องลมเพื่อออกแบบทิศทางของกระแสลมที่จะพัดเข้าสู่พื้นที่ให้เหมาะสมต่อการใช้งาน

พื้นที่เปิด (open space) จากหลักการอากาศที่ร้อนจะลอยตัวสูงขึ้นแล้วอาการที่เย็นกว่าจะไหลเข้ามาแทนที่ การสร้างพื้นที่เปิดโล่งจะทำให้อากาศร้อนสามารถระบายออกจากพื้นที่ได้อย่างสะดวกและอากาศเย็นจะเป็นลมพัดพาเข้ามาในพื้นที่แทน จึงช่วยทำให้อุณหภูมิภายในพื้นที่ลดลง ยังครอบคลุมถึงการวางผังช่องลม (wind channels) แผนผังของการจราจร (street pattern) และการเรียงตัวของอาคาร (building line)

วัสดุ การเลือกใช้วัสดุที่สามารถกักเก็บความชื้นได้ เช่น แนวรั้วไม้ พื้นกรวด พื้นหญ้า เพื่อลดความร้อนที่จะเกิดขึ้นจากการสะสมความร้อนไว้ในวัสดุ และลดการสะท้อนความร้อนออกไปยังพื้นที่ข้างเคียง

อ้างอิง

  1. "สภาวะน่าสบายและการออกแบบภูมิอากาศขนาดย่อม". CITY CRACKER (ภาษาอังกฤษ). 2020-05-27.
  2. Thomas Bedford Franklin (2013). CLIMATES IN MINIATURE: A STUDY OF MICRO-CLIMATE AND ENVIRONMENT. Literary Licensing, LLC. ASIN B00T3N7MTW.
  3. Ifrah Asif, 2012. Micro climates: Architecture for Human Well-being. National University of Science and Techonology Islamabad.
  4. "5 Factors That Affect Microclimates". Regenerative (ภาษาอังกฤษ). 2014-08-07.
  5. "Mikroklima – Definition – Wissenswertes". www.wetter-freizeit.com.
  6. J. Racovec et al. Turbulent dissipation of the cold-air pool in a basin: comparison of observed and simulated development. Meteorol. Atmos. Phys. 79, 195–213 (2002).
  7. . คลังข้อมูลเก่า เก็บจาก แหล่งเดิม เมื่อ 2014-12-17.
  8. R. Geiger. The climate near the ground. Harvard University Press, 1957.
  9. Sheil, Douglas; Murdiyarso, Daniel (2009-04-01). "How Forests Attract Rain: An Examination of a New Hypothesis". BioScience (ภาษาอังกฤษ). 59 (4): 341–347. doi:10.1525/bio.2009.59.4.12. ISSN 0006-3568. S2CID 85905766.
  10. "Make it rain: Planting forests could help drought-stricken regions". CIFOR Forests News. 2012-07-23. สืบค้นเมื่อ 2020-02-09.
  11. "Ch06". archive.unu.edu.
  12. 18009921. "Micro climates: Architecture for Human Comfort". Issuu (ภาษาอังกฤษ).CS1 maint: numeric names: authors list (link)

อากาศจ, ลภาค, หร, อากาศขนาดย, อม, งกฤษ, microclimate, หร, micro, climate, อสภาพอากาศเฉพาะพ, นท, หร, อเฉพาะจ, ดย, อย, แตกต, างจากสภาพแวดล, อมโดยรอบเล, กน, อยหร, อแตกต, างอย, างมาก, ขอบเขตของขนาด, scale, หร, อพ, นท, ครอบคล, มท, างก, อาจครอบคล, มสภาพภายในบร, เวณข. phumixakasculphakh hrux phumixakaskhnadyxm xngkvs microclimate hrux micro climate khuxsphaphxakasechphaaphunthihruxechphaacudyxy thiaetktangcaksphaphaewdlxmodyrxbelknxyhruxaetktangxyangmak mikhxbekhtkhxngkhnad scale hruxphunthikhrxbkhlumthitangkn xackhrxbkhlumsphaphphayinbriewnkhnadelkephiyngimkitarangemtr echn aeplngphuchkhnadyxm hruxtha thungkhnadihyhlaytarangkiolemtrechn sphaphxakaskhxngemuxng 1 thngyngmikhacakdkhwamaelakarnaipichthihlakhlaytambribthkhxngsakhawithyakar echn phumixakaswithya phumisthaptykrrm ekstrsastrphumixakasculphakhbnokhdhinthitngxyuinekhtnakhunnalnginemuxngsnirs xxn si aexfrikait odythwipsphawkarnkhxngphumixakasekidkhuncakkhwamaeprphnkhxngpccyechingphunthiaelachwngewlasungsamarthwdkhaidthangsthiti phayinphumiphakhradbculphakhcungmiphlmacakpccythihlakhlay echn xunhphumi khwamchun lm karkkekbkhwamrxn karraehykhxngna epntnphumixakasculphakhsamarthphbidinthuksthanthi echn iklaehlngnasungxacthaihbrryakasinbriewnodyrxbeynlng hruxinekhtemuxngthimikhwamhnaaennsung xith khxnkrit aelaaexsfltdudsbphlngngankhxngdwngxathity thaihrxnkhun aelaaephkhwamrxnnnklbkhunsuxakasaewdlxm ekaakhwamrxninemuxngepnphumixakasculphakhchnidhnung enuxha 1 prawti 2 thimaaelapccyxiththiphl 3 phumipraethsthrrmchati 3 1 phunphiwladchnkhxngphuekha 3 2 din 3 3 aexngxakaseyn 3 4 plxngphuekhaif 3 5 phumixakasculphakhphuch 3 6 aexngna 4 phumisthaptykrrm 4 1 sphawanasbay 5 xangxingprawti aekikh efirntnecriyetibotidinphunthiekhtxnurksaehnghnung thiepnaenwrxngenin dell in Lost Gardens of Heligan inkhxrnwxll praethsxngkvs laticud 50 15 n sphth micro climate praktkhrngaerkinchwngkhristthsswrrs 1950 insingphimphidaek phumixakasaebbyxswn karsuksasphaphaewdlxminphumixakasculphakh Climates in Miniature A Study of Micro Climate Environment odythxms ebdfxrd aefrngkhlin Thomas Bedford Franklin pi 1955 2 thimaaelapccyxiththiphl aekikhpccyhlkthiepntwkahndsphaphphumixakasculphakhphayinphunthihnung khux xunhphumiaelakhwamchun sungsamarthchiwdidcakxunhphumikhxngxakas khwamchunsmphththxakas khwamerwlmpatha aelaxunhphumiechliykhxngphunphiwodyrxb 3 1 aehlngthimakhxngkarldlngkhxngxunhphumiaelahruxkhwamchun xacekidcakaehlnghruxpccyxiththiphlthiaetktang bxykhrngthisphaphphumixakasculphakhkxtwcakkarphsmrwmknkhxngpccyxiththiphlhlayxyang thngthiekuxhnunknaelahklangkn sungepneruxngkhxngxutuniymwithyaradbculphakhphumipraethsthrrmchati aekikhphunphiwladchnkhxngphuekha aekikh pccyhlkthimiphltxphumixakasculphakh khuxphumipraeths topography tngaetruplksnakhxngphunphiwdin khwamladchn slope aelathisthangkhxngkhwamladchn aspect thiepntwkahndprimaninkarrbaesngaedd sungsngphlkrathbtxaesngaelaengathiekidkhuninphunthi aelasngphltxxunhphumiphiwdin 4 1 echn phunthiladchnthihnekhasuthisitkhxngsikolkehnuxaelaphunthiladchnthihnekhasuthisehnuxkhxngsikolkitcaidrbaesngaeddodytrngmakkwaphunthiladchnthixyutrngkhamkn karidrbaesngmakkwacungmikhwamxunkhunepnrayaewlanan khwamrxnsasmnankwa sungthaihthangladmisphaphxakasthixunkwaphunthiodyrxbxun phunthitasudkhxnghubekhabangkhrngxacaekhngtwerwhruxaekhngkwacudthikhunekhainbriewniklekhiyng enuxngcakxakaseyncacmlng lmthiphdphaihaehngxacimthungdanlangtasud aelakhwamchunyngkhngxyuaelatktakxn caknncungklayepnnaaekhng din aekikh praephthkhxngdininphunthisamarthsngphlkrathbtxphumixakasculphakh cakkhunsmbtikhxngdininkarkkekbnaiwinphunthi aelapldplxynaxxksuchnbrryakasphankarraehy sngphltxprimankhwamchuninxakas 4 aelakarsasmkhwamrxninophrngxakasrahwangemddin dinthimisdswnkhxngdinehniywmakkwacasamarthkkekbnaaelasrangkhwamchunihkbphunthiidmakkwadinthisdswnkhxngdinthraysung klawkhuxdinthraymixunhphumisungkwadinrwnaeladinehniyw tamladbnxkcaksdswnkhxngxngkhprakxbphayindinaelw primansingpkkhlumbnphiwdinkmiphltxxunhphumiaelaprimankhwamchunsmphththphayinphunthi dinthiimmisingpkkhlumcaidrbaesngaelakhwamrxnmakkwaphunthithithukpkkhlumdwyphuchphrrnhruxhya 1 aexngxakaseyn aekikh twxyangthidikhxngaexngxakaseyn cold air pool CAP idaek hlumyubkhchetthenxrxlm Gstettneralm inxxsetriy xunhphumitasudthibnthukiw 53 s 63 f 5 aelahlumyubpietxr Peter Sinks inshrthxemrikasungekidcakpccyxiththiphlthismphnthknkhux khwamerwlm khwamlukkhxngaexng aelakhwamthiinkarlxytwkhxngmwlxakasinaexng klawkhux khunkbpccyxiththiphlcaklmxunphaynxkthiphdlnginaexnginkarepliynsphaphphumixakas xunhphumikhxngxakasinaexng 6 plxngphuekhaif aekikh thiphuekhaifemanaekhxa inhaway phbkarkxtwkhxngchn dineyuxkaekhngitphiwkhxngplxngphuekhaif aemwayxdphuekhaifnicaepnphunthiprascaknaaekhngaelaaehngaelngepnphiess aetdineyuxkaekhngkracaytwinswnthiepnchnsasmkhxngethalawa krwykhiethayxdyxdphuekhaif thaihekidsphaphphumixakasculphakhthiepnexklksn 7 aelayngxacnaipxthibaysphaphphumixakasculphakhkhxngdawxngkharid sungphbaephnnaaekhngpraprayinbriewnthikhxnkhangxbxun 7 phumixakasculphakhphuch aekikh tamthirudxlf ikekxr Rudolf Geiger chiihehninhnngsuxkhxngekha 8 imephiyngaetsphaphxakasethannthimixiththiphltxphuchthimichiwit aetphlkrathbthitrngknkhamkbptismphnthkhxngphuchthimitxsingaewdlxmsamarthekidkhunidechnkn aelaepnthiruckkninnamsphaphphumixakaskhxngphuch phlkrathbnimiphlsakhytxphunpainicklangthwip sunghakpaimimsrangemkhaelawtckrkhxngnacakkickrrmkarkhayraehyxyangmiprasiththiphaph caimsamarthmipaimidinthihangiklcakchayfng 9 enuxngcaktamsthitiaelwhakimmipccyxiththiphlxun nafnthitkcamiprimankhxy ldlngnbcakchayfngilipsuicklangphunthwip karpluktnimephuxtxsukbphyaelnginphunthithiimekhyepnpamakxnidrbkaresnxepnswnhnungbribthkhxngkarplukpa 10 aexngna aekikh aexngnathrrmchati xangekbna aelaekhuxn lwnsrangphumixakasculphakh aelamkmixiththiphltxsphaphxakasmhphakhechnknphumisthaptykrrm aekikhinekhtemuxngthihnaaennrwmthngwsduechnxith khxnkrit hruxaexsflt tangdudsbphlngngankhxngdwngxathity thaihrxnkhun 11 aelaaephkhwamrxnnnklbkhunsuxakasaewdlxminsphaphkungpidodyechphaaphunthixakharsungthaidyak aelamirabbthnnthiaekhbaelapidthanglm srangsphawathieriykwaekaakhwamrxninemuxng sungepnphumixakasculphakhchnidhnungkhwamkhideruxngphumixakasaelakarcdkarphumixakasculphakhinkarekstr agronomy yngnamaprayuktichsahrbphumisthaptykrrmsastr echn karcdkarphuchswnaebbtang sphawanasbay aekikh karsrangsphawanasbay comfort zone dwykarkhwbkhumpccyxiththiphlthikxekidsphaphphumixakasculphakh echn aesngaedd kraaeslm odykarichxngkhprakxbechingphumisthaptykrrmidaekna ichinkarchwyprbxunphumikhxngphunthi chwyephimkhwamchunsmphththinxakasphankarraehy aelaldkarkkekbkhwamrxnkhxngphunthi enuxngcakmwlnamiskyphaphinkarkkekbkhwamrxnidaeykwaphundin nxkcaknixunhphumithitangknkhxngphiwnaaelaphiwdincathaihekidkarhmunewiynkhxngkraaeslmkhuninphunthi 4 rwmthngokhrngkhaykarechuxmknkhxngaehlngna network of water bodies 3 phuchphrrn vegetation chwydudsbkhwamrxnphayinphunthi enuxngcakphuchcakkekbphlngngancakaesngxathityipichinkrabwnkarsngekhraahdwyaesng aelainkrabwnkardarngchiwitkhxngphuchcamikarkhaynaxxkmasungchwyephimprimankhwamchuninxakas nxkcakniphuchyngchwysrangsrangrmengaihaekphunthiaelaldkarsathxnkhwamrxn karplukphuchphrrncungchwyldxunhphumiphayinphunthi phunthibriewnthimiphuchphrrnmixunhphumitakwaphunthiodyrxb 2 2 5 xngsaeslesiys 1 klumkhxngimyuntnaelaimphumcachwykahndthisthangkhxngkraaeslm prbxunhphumikhxnglmthiphdekhamaphayinphunthi aelathahnathiepnthngkabngihaekphunthithimilmphdaerngekinip aelasrangchxnglmephuxxxkaebbthisthangkhxngkraaeslmthicaphdekhasuphunthiihehmaasmtxkarichngan 1 phunthiepid open space cakhlkkarxakasthirxncalxytwsungkhunaelwxakarthieynkwacaihlekhamaaethnthi karsrangphunthiepidolngcathaihxakasrxnsamarthrabayxxkcakphunthiidxyangsadwkaelaxakaseyncaepnlmphdphaekhamainphunthiaethn cungchwythaihxunhphumiphayinphunthildlng 1 yngkhrxbkhlumthungkarwangphngchxnglm wind channels aephnphngkhxngkarcracr street pattern aelakareriyngtwkhxngxakhar building line 12 3 wsdu kareluxkichwsduthisamarthkkekbkhwamchunid echn aenwrwim phunkrwd phunhya ephuxldkhwamrxnthicaekidkhuncakkarsasmkhwamrxniwinwsdu aelaldkarsathxnkhwamrxnxxkipyngphunthikhangekhiyng 1 xangxing aekikh 1 0 1 1 1 2 1 3 1 4 1 5 1 6 1 7 sphawanasbayaelakarxxkaebbphumixakaskhnadyxm CITY CRACKER phasaxngkvs 2020 05 27 Thomas Bedford Franklin 2013 CLIMATES IN MINIATURE A STUDY OF MICRO CLIMATE AND ENVIRONMENT Literary Licensing LLC ASIN B00T3N7MTW 3 0 3 1 3 2 Ifrah Asif 2012 Micro climates Architecture for Human Well being National University of Science and Techonology Islamabad 4 0 4 1 4 2 5 Factors That Affect Microclimates Regenerative phasaxngkvs 2014 08 07 Mikroklima Definition Wissenswertes www wetter freizeit com J Racovec et al Turbulent dissipation of the cold air pool in a basin comparison of observed and simulated development Meteorol Atmos Phys 79 195 213 2002 7 0 7 1 Permafrost in Hawaii NASA Astrobiology Institute 2010 khlngkhxmuleka ekbcak aehlngedim emux 2014 12 17 R Geiger The climate near the ground Harvard University Press 1957 Sheil Douglas Murdiyarso Daniel 2009 04 01 How Forests Attract Rain An Examination of a New Hypothesis BioScience phasaxngkvs 59 4 341 347 doi 10 1525 bio 2009 59 4 12 ISSN 0006 3568 S2CID 85905766 Make it rain Planting forests could help drought stricken regions CIFOR Forests News 2012 07 23 subkhnemux 2020 02 09 Ch06 archive unu edu 18009921 Micro climates Architecture for Human Comfort Issuu phasaxngkvs CS1 maint numeric names authors list link ekhathungcak https th wikipedia org w index php title phumixakasculphakh amp oldid 9447596, wikipedia, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด,

บทความ

, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม