fbpx
วิกิพีเดีย

มะเร็งเม็ดเลือดขาวเฉียบพลันชนิดไมอิลอยด์

มะเร็งเม็ดเลือดขาวเฉียบพลันชนิดไมอิลอยด์ (อังกฤษ: Acute myeloid leukemia, acute myelogenous leukemia, AML) เป็นมะเร็งชนิดหนึ่งซึ่งเกิดกับเซลล์เม็ดเลือดในสายไมอิลอยด์ มีลักษณะเฉพาะของโรคคือมีการเจริญอย่างรวดเร็วผิดปกติของเซลล์เม็ดเลือดขาวที่ผิดปกติ สะสมในไขกระดูกจนรบกวนการเจริญของเซลล์เม็ดเลือดปกติ มะเร็งเม็ดเลือดขาวเฉียบพลันชนิดไมอิลอยด์เป็นมะเร็งเม็ดเลือดขาวเฉียบพลันชนิดที่พบบ่อยที่สุดในผู้ใหญ่ และมีอุบัติการณ์เพิ่มขึ้นตามช่วงอายุ แม้มะเร็งเม็ดเลือดขาวเฉียบพลันชนิดไมอิลอยด์จะเป็นโรคที่ค่อนข้างพบน้อยโดยนับเป็น 1.2% ของการตายจากมะเร็งในประเทศสหรัฐอเมริกาก็ตาม อุบัติการณ์ของโรคนี้มีแนวโน้มจะเพิ่มสูงขึ้นจากการที่ประชากรมีอายุยืนยาวขึ้น

มะเร็งเม็ดเลือดขาวเฉียบพลัน
ชนิดไมอิลอยด์
(Acute myeloid leukemia)
ชื่ออื่นAcute myelogenous leukemia, acute nonlymphocytic leukemia (ANLL), acute myeloblastic leukemia, acute granulocytic leukemia
ภาพจากการย้อมสีไขกระดูกที่ได้จากการเจาะดูดไขกระดูกแสดงให้เห็นลักษณะของเซลล์ไขกระดูกของผู้ป่วยมะเร็งเม็ดเลือดขาวเฉียบพลันชนิดไมอิลอยด์ ศรชี้แสดงให้เห็นอาวเออร์ ร็อด (Auer rod)
สาขาวิชาHematology, oncology
อาการFeeling tired, shortness of breath, easy bruising and bleeding, increased risk of infection
การตั้งต้นAll ages, most frequently ~65–75 years old
ปัจจัยเสี่ยงSmoking, previous chemotherapy or radiation therapy, myelodysplastic syndrome, benzene
วิธีวินิจฉัยBone marrow aspiration, blood test
การรักษาChemotherapy, radiation therapy, stem cell transplant
พยากรณ์โรคFive-year survival ~29% (US, 2017)
ความชุก1 million (2015)
การเสียชีวิต147,100 (2015)

อาการของมะเร็งเม็ดเลือดขาวเฉียบพลันชนิดไมอิลอยด์เกิดจากการที่เซลล์ในไขกระดูกถูกแทนที่โดยเซลล์มะเร็งเม็ดเลือด ซึ่งทำให้ร่างกายมีจำนวนเม็ดเลือดแดง เกล็ดเลือด และเม็ดเลือดขาวปกติน้อยลง อาการเหล่านี้เช่น อาการอ่อนเพลีย หายใจเหนื่อย เลือดออกง่าย มีจ้ำตามตัวง่าย ติดเชื้อง่าย ถึงแม้จะมีการค้นพบปัจจัยเสี่ยงต่อการเป็นมะเร็งเม็ดเลือดขาวเฉียบพลันชนิดไมอิลอยด์แล้วหลายอย่างก็ตามแต่สาเหตุที่แท้จริงของโรคนั้นยังไม่เป็นที่ทราบแน่ชัด และเช่นเดียวกันกับมะเร็งเม็ดเลือดขาวเฉียบพลันชนิดอื่นๆ มะเร็งเม็ดเลือดขาวเฉียบพลันชนิดไมอิลอยด์จะมีการดำเนินโรคที่รวดเร็วและทำให้ผู้ป่วยเสียชีวิตได้ภายในเวลาเป็นสัปดาห์หรือเป็นเดือนหากไม่ได้รับการรักษา

มะเร็งเม็ดเลือดขาวเฉียบพลันชนิดไมอิลอยด์มีอยู่หลายชนิด แต่ละชนิดมีวิธีการรักษาและพยากรณ์โรคแตกต่างกัน อัตรารอดชีวิตที่ห้าปีมีตั้งแต่ 15-70% และอัตราการกลับเป็นซ้ำมีตั้งแต่ 78-33% แล้วแต่ชนิด การรักษามะเร็งเม็ดเลือดขาวเฉียบพลันชนิดไมอิลอยด์ในระยะแรกนั้นใช้การรักษาด้วยเคมีบำบัดโดยมุ่งเหนี่ยวนำให้โรคสงบ โดยผู้ป่วยอาจต้องได้รับเคมีบำบัดเพิ่มเติมหรือต้องได้รับการปลูกถ่ายเซลล์ต้นกำเนิดโลหิตในไขกระดูก งานวิจัยใหม่ๆ ทางด้านพันธุศาสตร์เกี่ยวกับโรคมะเร็งเม็ดเลือดขาวเฉียบพลันชนิดไมอิลอยด์ทำให้มีการทดสอบที่สามารถทำนายได้ว่ายาชนิดใดจะได้ผลดีกับผู้ป่วยรายใดโดยเฉพาะ และยังทำให้ทราบได้ว่าผู้ป่วยมีโอกาสรอดชีวิตมากเท่าใดอีกด้วย

การจำแนกประเภท

ระบการจำแนกประเภทของมะเร็งเม็ดเลือดขาวเฉียบพลันชนิดไมอิลอยด์ที่นิยมใช้มีอยู่สองระบบ คือระบบเก่าของฝรั่งเศส-อเมริกัน-อังกฤษ (French-American-British, FAB) และระบบใหม่ขององค์การอนามัยโลก

ระบบการจำแนกประเภทขององค์การอนามัยโลก

ระบบการจำแนกประเภทมะเร็งเม็ดเลือดขาวเฉียบพลันชนิดไมอิลอยด์ขององค์การอนามัยโลกถูกออกแบบมาเพื่อให้เป็นระบบการจำแนกประเภทที่มีประโยชน์ทางคลินิกและให้ข้อมูลด้านพยากรณ์โรคที่เป็นประโยชน์มากกว่าระบบการจำแนกประเภทของฝรั่งเศส-อเมริกัน-อังกฤษ แต่ละประเภทตามที่จำแนกไว้

ระบบการจำแนกประเภทแบบฝรั่งเศส-อเมริกัน-อังกฤษ

ระบบการจำแนกประเภทแบบฝรั่งเศส-อเมริกัน-อังกฤษได้แบ่งโรคออกเป็นชนิดย่อย 8 ชนิด ตั้งแต่ M0 ถึง M7 ตามชนิดและระยะการเจริญของเซลล์ที่เจริญขึ้นเป็นมะเร็งเม็ดเลือด ทำได้โดยตรวจเซลล์มะเร็งเม็ดเลือดด้วยกล้องจุลทรรศน์และ/หรือตรวจด้วยวิธีการทางเซลล์พันธุศาสตร์เพื่อหาความผิดปกติทางโครโมโซมของเซลล์ ชนิดย่อยแต่ละชนิดมีพยากรณ์โรคและการตอบสนองต่อการรักษาแตกต่างกันไป แม้ระบบการจำแนกประเภทขององค์การอนามัยโลกจะให้ประโยชน์ทางคลินิกมากกว่าแต่ระบบการจำแนกประเภทแบบฝรั่งเศส-อเมริกัน-อังกฤษก็ยังเป็นที่นิยมใช้ทั่วไป

Type Name Cytogenetics
M0 minimally differentiated acute myeloblastic leukemia
M1 acute myeloblastic leukemia, without maturation
M2 acute myeloblastic leukemia, with granulocytic maturation t(8;21)(q22;q22), t(6;9)
M3 promyelocytic, or acute promyelocytic leukemia (APL) t(15;17)
M4 acute myelomonocytic leukemia inv(16)(p13q22), del(16q)
M4eo myelomonocytic together with bone marrow eosinophilia inv(16), t(16;16)
M5 acute monoblastic leukemia (M5a) or acute monocytic leukemia (M5b) del (11q), t(9;11), t(11;19)
M6 acute erythroid leukemias, including erythroleukemia (M6a) and very rare pure erythroid leukemia (M6b)
M7 acute megakaryoblastic leukemia t(1;22)
M8 acute basophilic leukemia

ฟีโนทัยป์ที่พบน้อยของมะเร็งเม็ดเลือดขาวเรื้อรังชนิดไมอิลอยด์

อาการและอาการแสดง

อาการและอาการแสดงส่วนใหญ่ของมะเร็งเม็ดเลือดขาวเฉียบพลันชนิดไมอิลอยด์เกิดจากการที่เม็ดเลือดปกติถูกแทนที่ด้วยเซลล์มะเร็งเม็ดเลือด การที่ผู้ป่วยมีจำนวนเม็ดเลือดขาวปกติน้อยลงทำให้เสี่ยงต่อการติดเชื้อได้ง่าย โดยที่แม้เซลล์มะเร็งเม็ดเลือดขาวจะเจริญมาจากเซลล์ต้นกำเนิดเม็ดเลือดขาวแต่เซลล์เหล่านี้ก็ไม่มีความสามารถในการต่อสู้กับเชื้อโรคเหมือนเซลล์เม็ดเลือดขาวปกติ อาการซีดที่เกิดจากการที่มีจำนวนเซลล์เม็ดเลือดแดงน้อยลงสามารถทำให้ผู้ป่วยมีอาการอ่อนเพลีย ซีด และหายใจลำบากได้ การขาดเกล็ดเลือดสามารถทำให้ผู้ป่วยมีรอยจ้ำตามตัวหรือเลือดออกได้ง่ายเมื่อบาดเจ็บเล็กน้อย

ส่วนใหญ่อาการแสดงในช่วงแรกของมะเร็งเม็ดเลือดขาวเฉียบพลันชนิดไมอิลอยด์เป็นอาการทั่วๆ ไปที่ไม่มีความจำเพาะต่อโรคใดโรคหนึ่งเป็นพิเศษ อาการอาจแทบไม่ต่างกับอาการของผู้ป่วยโรคไข้หวัดใหญ่หรือโรคอื่นทั่วๆ ไป อาการทั่วๆ ไปเหล่านี้ เช่น ไข้ อ่อนเพลีย น้ำหนักลด เบื่ออาหาร หายใจลำบาก ซีด มีจ้ำตามตัว เลือดออกง่าย มีจุดเลือดออก ปวดข้อ ปวดกระดูก และติดเชื้อบ่อยครั้งหรือไม่หาย

ผู้ป่วยมะเร็งเม็ดเลือดขาวเฉียบพลันชนิดไมอิลอยด์อาจมีม้ามโตได้ แต่ส่วนใหญ่มักโตไม่มากและไม่มีอาการ ผู้ป่วยมักไม่มีต่อมน้ำเหลืองโตซึ่งต่างกับมะเร็งเม็ดเลือดขาวเฉียบพลันชนิดลิมโฟบลาสติก ผู้ป่วย 10% อาจมีอาการแสดงทางผิวหนังเรียกว่าลิวคีเมีย คิวติส (leukemia cutis) และอาจพบกลุ่มอาการสวีท (Sweet's syndrome) ซึ่งเป็นอาการอักเสบของผิวหนังแบบพารานีโอพลาสติกที่พบไม่บ่อย ซึ่งอาจพบร่วมกับมะเร็งเม็ดเลือดขาวเฉียบพลันชนิดไมอิลอยด์ได้

ผู้ป่วยบางรายอาจมีเหงือกบวมจากการที่เซลล์มะเร็งเม็ดเลือดเข้าไปแทรกตัวอยู่ในเนื้อเยื่อเหงือก ผู้ป่วยจำนวนน้อยบางรายอาจมีอาการแสดงแรกของโรคเป็นการพบก้อนเซลล์มะเร็งเม็ดเลือดนอกไขกระดูกเรียกว่าคลอโรมา (chloroma) บางครั้งผู้ป่วยอาจไม่มีอาการใดๆ และพบโรคโดยบังเอิญจากการตรวจเลือดก็ได้

สาเหตุ

โรคก่อนเป็นมะเร็งเม็ดเลือด

การสัมผัสสารเคมี

รังสี

พันธุกรรม

การวินิจฉัย

 
ไขกระดูกของผู้ป่วย แสดงให้เห็นไมอิโลบลาสต์และอาวเออร์ ร็อด

ส่วนใหญ่แล้วร่องรอยแรกๆ ที่จะทำให้สงสัยว่าผู้ป่วยจะเป็นมะเร็งเม็ดเลือดขาวเรื้อรังชนิดไมอิลอยด์ก็คือการมีผลการตรวจการนับเม็ดเลือด (complete blood count) ผิดปกติโดยมักพบว่ามีจำนวนเม็ดเลือดขาวมากกว่าปกติ (leukocytosis) บางครั้งจะเห็นเซลล์ตัวอ่อนเม็ดเลือดขาว (leukemic blasts) หรืออาจพบแต่เพียงการมีเกล็ดเลือดหรือเม็ดเลือดแดงลดลง หรืออาจพบเม็ดเลือดขาวลดลง (leukopenia) ก็เป็นได้ ถึงแม้ว่าการวินิจฉัยเบื้องต้นจะสามารถทำได้ด้วยการตรวจเสมียร์เลือด (peripheral blood smear) แต่การวินิจฉัยให้แน่ชัดนั้นจะเป็นต้องทำด้วยการเจาะดูดและตัดชิ้นเนื้อไขกระดูก

ไขกระดูกหรือเลือดจะถูกตรวจด้วยกล้องจุลทรรศน์แบบใช้แสงหรือด้วยวิธี flow cytometry เพื่อหาว่ามีเซลล์มะเร็งเม็ดเลือดหรือไม่ ถ้ามี เป็นเซลล์ชนิดใด เป็นมะเร็งเม็ดเลือดขาวเฉียบพลันชนิดไมอิลอยด์หรือมะเร็งเม็ดเลือดขาวชนิดอื่น (เช่น มะเร็งเม็ดเลือดขาวเฉียบพลันชนิดลิมโฟบลาสติก) และจัดอยู่ในประเภทย่อยประเภทใด ตัวอย่างเลือดหรือไขกระดูกที่ได้มักได้รับการตรวจเพิ่มเพื่อหาการย้ายที่ของโครโมโซม (chromosomal translocation) ด้วยวิธีมาตรฐานทางเซลล์พันธุศาสตร์หรือวิธี FISH (fluorescent in situ hybridization) การตรวจทางพันธุศาสตร์อาจเป็นการตรวจเพื่อหาการกลายพันธุ์เฉพาะที่ในบางตำแหน่งของยีน เช่น FLT3, nucleophosmin และ KIT ซึ่งอาจมีผลกับผลการรักษาได้

พยาธิสรีรวิทยา

การรักษา

Induction

Consolidation

Relapsed AML

พยากรณ์โรค

เซลล์พันธุศาสตร์

อ้างอิง

  1. อ้างอิงผิดพลาด: ป้ายระบุ <ref> ไม่ถูกต้อง ไม่มีการกำหนดข้อความสำหรับอ้างอิงชื่อ NCI2017Pt
  2. อ้างอิงผิดพลาด: ป้ายระบุ <ref> ไม่ถูกต้อง ไม่มีการกำหนดข้อความสำหรับอ้างอิงชื่อ SEER2017
  3. อ้างอิงผิดพลาด: ป้ายระบุ <ref> ไม่ถูกต้อง ไม่มีการกำหนดข้อความสำหรับอ้างอิงชื่อ NEJM2015
  4. อ้างอิงผิดพลาด: ป้ายระบุ <ref> ไม่ถูกต้อง ไม่มีการกำหนดข้อความสำหรับอ้างอิงชื่อ GBD2015Pre
  5. อ้างอิงผิดพลาด: ป้ายระบุ <ref> ไม่ถูกต้อง ไม่มีการกำหนดข้อความสำหรับอ้างอิงชื่อ GBD2015De
  6. Hoffman, Ronald; และคณะ (2005). Hematology: Basic Principles and Practice (4th. ed.). St. Louis, Mo.: Elsevier Churchill Livingstone. pp. 1074–75. ISBN 0-443-06629-9. Explicit use of et al. in: |first= (help)
  7. Abeloff, Martin; และคณะ (2004). Clinical Oncology (3rd. ed.). St. Louis, Mo.: Elsevier Churchill Livingstone. p. 2834. ISBN 0-443-06629-9. Explicit use of et al. in: |first= (help)
  8. Abeloff, Martin et al. (2004), p. 2834.
  9. Baldus CD, Mrózek K, Marcucci G, Bloomfield CD (2007). "Clinical outcome of de novo acute myeloid leukaemia patients with normal cytogenetics is affected by molecular genetic alterations: a concise review". Br. J. Haematol. 137 (5): 387–400. doi:10.1111/j.1365-2141.2007.06566.x. PMID 17488484. Unknown parameter |month= ignored (help)CS1 maint: multiple names: authors list (link)


แหล่งข้อมูลอื่น

การจำแนกโรค
V · T · D
  • ICD-10: C92.0
  • ICD-9-CM: 205.0
  • OMIM: 602439
  • MeSH: D015470
  • DiseasesDB: 203
ทรัพยากรภายนอก
  • MedlinePlus: 000542
  • eMedicine: med/34
  • Patient UK: มะเร็งเม็ดเลือดขาวเฉียบพลันชนิดไมอิลอยด์

มะเร, งเม, ดเล, อดขาวเฉ, ยบพล, นชน, ดไมอ, ลอยด, งกฤษ, acute, myeloid, leukemia, acute, myelogenous, leukemia, เป, นมะเร, งชน, ดหน, งซ, งเก, ดก, บเซลล, เม, ดเล, อดในสายไมอ, ลอยด, กษณะเฉพาะของโรคค, อม, การเจร, ญอย, างรวดเร, วผ, ดปกต, ของเซลล, เม, ดเล, อดขาวท, ดป. maerngemdeluxdkhawechiybphlnchnidimxilxyd xngkvs Acute myeloid leukemia acute myelogenous leukemia AML epnmaerngchnidhnungsungekidkbesllemdeluxdinsayimxilxyd milksnaechphaakhxngorkhkhuxmikarecriyxyangrwderwphidpktikhxngesllemdeluxdkhawthiphidpkti sasminikhkradukcnrbkwnkarecriykhxngesllemdeluxdpkti maerngemdeluxdkhawechiybphlnchnidimxilxydepnmaerngemdeluxdkhawechiybphlnchnidthiphbbxythisudinphuihy aelamixubtikarnephimkhuntamchwngxayu aemmaerngemdeluxdkhawechiybphlnchnidimxilxydcaepnorkhthikhxnkhangphbnxyodynbepn 1 2 khxngkartaycakmaernginpraethsshrthxemrikaktam xubtikarnkhxngorkhnimiaenwonmcaephimsungkhuncakkarthiprachakrmixayuyunyawkhunmaerngemdeluxdkhawechiybphlnchnidimxilxyd Acute myeloid leukemia chuxxunAcute myelogenous leukemia acute nonlymphocytic leukemia ANLL acute myeloblastic leukemia acute granulocytic leukemia 1 phaphcakkaryxmsiikhkradukthiidcakkarecaadudikhkradukaesdngihehnlksnakhxngesllikhkradukkhxngphupwymaerngemdeluxdkhawechiybphlnchnidimxilxyd srchiaesdngihehnxawexxr rxd Auer rod sakhawichaHematology oncologyxakarFeeling tired shortness of breath easy bruising and bleeding increased risk of infection 1 kartngtnAll ages most frequently 65 75 years old 2 pccyesiyngSmoking previous chemotherapy or radiation therapy myelodysplastic syndrome benzene 1 withiwinicchyBone marrow aspiration blood test 3 karrksaChemotherapy radiation therapy stem cell transplant 1 3 phyakrnorkhFive year survival 29 US 2017 2 khwamchuk1 million 2015 4 karesiychiwit147 100 2015 5 xakarkhxngmaerngemdeluxdkhawechiybphlnchnidimxilxydekidcakkarthiesllinikhkradukthukaethnthiodyesllmaerngemdeluxd sungthaihrangkaymicanwnemdeluxdaedng ekldeluxd aelaemdeluxdkhawpktinxylng xakarehlaniechn xakarxxnephliy hayicehnuxy eluxdxxkngay micatamtwngay tidechuxngay thungaemcamikarkhnphbpccyesiyngtxkarepnmaerngemdeluxdkhawechiybphlnchnidimxilxydaelwhlayxyangktamaetsaehtuthiaethcringkhxngorkhnnyngimepnthithrabaenchd aelaechnediywknkbmaerngemdeluxdkhawechiybphlnchnidxun maerngemdeluxdkhawechiybphlnchnidimxilxydcamikardaeninorkhthirwderwaelathaihphupwyesiychiwitidphayinewlaepnspdahhruxepneduxnhakimidrbkarrksamaerngemdeluxdkhawechiybphlnchnidimxilxydmixyuhlaychnid aetlachnidmiwithikarrksaaelaphyakrnorkhaetktangkn xtrarxdchiwitthihapimitngaet 15 70 aelaxtrakarklbepnsamitngaet 78 33 aelwaetchnid karrksamaerngemdeluxdkhawechiybphlnchnidimxilxydinrayaaerknnichkarrksadwyekhmibabdodymungehniywnaihorkhsngb odyphupwyxactxngidrbekhmibabdephimetimhruxtxngidrbkarplukthayeslltnkaenidolhitinikhkraduk nganwicyihm thangdanphnthusastrekiywkborkhmaerngemdeluxdkhawechiybphlnchnidimxilxydthaihmikarthdsxbthisamarththanayidwayachnididcaidphldikbphupwyrayidodyechphaa aelayngthaihthrabidwaphupwymioxkasrxdchiwitmakethaidxikdwy enuxha 1 karcaaenkpraephth 1 1 rabbkarcaaenkpraephthkhxngxngkhkarxnamyolk 1 2 rabbkarcaaenkpraephthaebbfrngess xemrikn xngkvs 1 3 fionthypthiphbnxykhxngmaerngemdeluxdkhaweruxrngchnidimxilxyd 2 xakaraelaxakaraesdng 3 saehtu 3 1 orkhkxnepnmaerngemdeluxd 3 2 karsmphssarekhmi 3 3 rngsi 3 4 phnthukrrm 4 karwinicchy 5 phyathisrirwithya 6 karrksa 6 1 Induction 6 2 Consolidation 6 3 Relapsed AML 7 phyakrnorkh 7 1 esllphnthusastr 8 xangxing 9 aehlngkhxmulxunkarcaaenkpraephth aekikhrabkarcaaenkpraephthkhxngmaerngemdeluxdkhawechiybphlnchnidimxilxydthiniymichmixyusxngrabb khuxrabbekakhxngfrngess xemrikn xngkvs French American British FAB aelarabbihmkhxngxngkhkarxnamyolk rabbkarcaaenkpraephthkhxngxngkhkarxnamyolk aekikh rabbkarcaaenkpraephthmaerngemdeluxdkhawechiybphlnchnidimxilxydkhxngxngkhkarxnamyolkthukxxkaebbmaephuxihepnrabbkarcaaenkpraephththimipraoychnthangkhlinikaelaihkhxmuldanphyakrnorkhthiepnpraoychnmakkwarabbkarcaaenkpraephthkhxngfrngess xemrikn xngkvs aetlapraephthtamthicaaenkiw rabbkarcaaenkpraephthaebbfrngess xemrikn xngkvs aekikh rabbkarcaaenkpraephthaebbfrngess xemrikn xngkvsidaebngorkhxxkepnchnidyxy 8 chnid tngaet M0 thung M7 tamchnidaelarayakarecriykhxngesllthiecriykhunepnmaerngemdeluxd thaidodytrwcesllmaerngemdeluxddwyklxngculthrrsnaela hruxtrwcdwywithikarthangesllphnthusastrephuxhakhwamphidpktithangokhromosmkhxngesll chnidyxyaetlachnidmiphyakrnorkhaelakartxbsnxngtxkarrksaaetktangknip aemrabbkarcaaenkpraephthkhxngxngkhkarxnamyolkcaihpraoychnthangkhlinikmakkwaaetrabbkarcaaenkpraephthaebbfrngess xemrikn xngkvskyngepnthiniymichthwip Type Name CytogeneticsM0 minimally differentiated acute myeloblastic leukemiaM1 acute myeloblastic leukemia without maturationM2 acute myeloblastic leukemia with granulocytic maturation t 8 21 q22 q22 t 6 9 M3 promyelocytic or acute promyelocytic leukemia APL t 15 17 M4 acute myelomonocytic leukemia inv 16 p13q22 del 16q M4eo myelomonocytic together with bone marrow eosinophilia inv 16 t 16 16 M5 acute monoblastic leukemia M5a or acute monocytic leukemia M5b del 11q t 9 11 t 11 19 M6 acute erythroid leukemias including erythroleukemia M6a and very rare pure erythroid leukemia M6b M7 acute megakaryoblastic leukemia t 1 22 M8 acute basophilic leukemiafionthypthiphbnxykhxngmaerngemdeluxdkhaweruxrngchnidimxilxyd aekikhxakaraelaxakaraesdng aekikhxakaraelaxakaraesdngswnihykhxngmaerngemdeluxdkhawechiybphlnchnidimxilxydekidcakkarthiemdeluxdpktithukaethnthidwyesllmaerngemdeluxd karthiphupwymicanwnemdeluxdkhawpktinxylngthaihesiyngtxkartidechuxidngay odythiaemesllmaerngemdeluxdkhawcaecriymacakeslltnkaenidemdeluxdkhawaetesllehlanikimmikhwamsamarthinkartxsukbechuxorkhehmuxnesllemdeluxdkhawpkti 6 xakarsidthiekidcakkarthimicanwnesllemdeluxdaedngnxylngsamarththaihphupwymixakarxxnephliy sid aelahayiclabakid karkhadekldeluxdsamarththaihphupwymirxycatamtwhruxeluxdxxkidngayemuxbadecbelknxyswnihyxakaraesdnginchwngaerkkhxngmaerngemdeluxdkhawechiybphlnchnidimxilxydepnxakarthw ipthiimmikhwamcaephaatxorkhidorkhhnungepnphiess xakarxacaethbimtangkbxakarkhxngphupwyorkhikhhwdihyhruxorkhxunthw ip xakarthw ipehlani echn ikh xxnephliy nahnkld ebuxxahar hayiclabak sid micatamtw eluxdxxkngay micudeluxdxxk pwdkhx pwdkraduk aelatidechuxbxykhrnghruximhay 6 phupwymaerngemdeluxdkhawechiybphlnchnidimxilxydxacmimamotid aetswnihymkotimmakaelaimmixakar phupwymkimmitxmnaehluxngotsungtangkbmaerngemdeluxdkhawechiybphlnchnidlimofblastik phupwy 10 xacmixakaraesdngthangphiwhnngeriykwaliwkhiemiy khiwtis leukemia cutis aelaxacphbklumxakarswith Sweet s syndrome sungepnxakarxkesbkhxngphiwhnngaebbpharanioxphlastikthiphbimbxy sungxacphbrwmkbmaerngemdeluxdkhawechiybphlnchnidimxilxydid 6 phupwybangrayxacmiehnguxkbwmcakkarthiesllmaerngemdeluxdekhaipaethrktwxyuinenuxeyuxehnguxk phupwycanwnnxybangrayxacmixakaraesdngaerkkhxngorkhepnkarphbkxnesllmaerngemdeluxdnxkikhkradukeriykwakhlxorma chloroma bangkhrngphupwyxacimmixakarid aelaphborkhodybngexiycakkartrwceluxdkid 7 saehtu aekikhorkhkxnepnmaerngemdeluxd aekikh karsmphssarekhmi aekikh rngsi aekikh phnthukrrm aekikhkarwinicchy aekikh ikhkradukkhxngphupwy aesdngihehnimxiolblastaelaxawexxr rxd swnihyaelwrxngrxyaerk thicathaihsngsywaphupwycaepnmaerngemdeluxdkhaweruxrngchnidimxilxydkkhuxkarmiphlkartrwckarnbemdeluxd complete blood count phidpktiodymkphbwamicanwnemdeluxdkhawmakkwapkti leukocytosis bangkhrngcaehneslltwxxnemdeluxdkhaw leukemic blasts hruxxacphbaetephiyngkarmiekldeluxdhruxemdeluxdaedngldlng hruxxacphbemdeluxdkhawldlng leukopenia kepnid 8 thungaemwakarwinicchyebuxngtncasamarththaiddwykartrwcesmiyreluxd peripheral blood smear aetkarwinicchyihaenchdnncaepntxngthadwykarecaadudaelatdchinenuxikhkradukikhkradukhruxeluxdcathuktrwcdwyklxngculthrrsnaebbichaesnghruxdwywithi flow cytometry ephuxhawamiesllmaerngemdeluxdhruxim thami epnesllchnidid epnmaerngemdeluxdkhawechiybphlnchnidimxilxydhruxmaerngemdeluxdkhawchnidxun echn maerngemdeluxdkhawechiybphlnchnidlimofblastik aelacdxyuinpraephthyxypraephthid twxyangeluxdhruxikhkradukthiidmkidrbkartrwcephimephuxhakaryaythikhxngokhromosm chromosomal translocation dwywithimatrthanthangesllphnthusastrhruxwithi FISH fluorescent in situ hybridization kartrwcthangphnthusastrxacepnkartrwcephuxhakarklayphnthuechphaathiinbangtaaehnngkhxngyin echn FLT3 nucleophosmin aela KIT sungxacmiphlkbphlkarrksaid 9 phyathisrirwithya aekikhkarrksa aekikhInduction aekikh Consolidation aekikh Relapsed AML aekikhphyakrnorkh aekikhesllphnthusastr aekikhxangxing aekikh 1 0 1 1 1 2 1 3 xangxingphidphlad payrabu lt ref gt imthuktxng immikarkahndkhxkhwamsahrbxangxingchux NCI2017Pt 2 0 2 1 xangxingphidphlad payrabu lt ref gt imthuktxng immikarkahndkhxkhwamsahrbxangxingchux SEER2017 3 0 3 1 xangxingphidphlad payrabu lt ref gt imthuktxng immikarkahndkhxkhwamsahrbxangxingchux NEJM2015 xangxingphidphlad payrabu lt ref gt imthuktxng immikarkahndkhxkhwamsahrbxangxingchux GBD2015Pre xangxingphidphlad payrabu lt ref gt imthuktxng immikarkahndkhxkhwamsahrbxangxingchux GBD2015De 6 0 6 1 6 2 Hoffman Ronald aelakhna 2005 Hematology Basic Principles and Practice 4th ed St Louis Mo Elsevier Churchill Livingstone pp 1074 75 ISBN 0 443 06629 9 Explicit use of et al in first help Abeloff Martin aelakhna 2004 Clinical Oncology 3rd ed St Louis Mo Elsevier Churchill Livingstone p 2834 ISBN 0 443 06629 9 Explicit use of et al in first help Abeloff Martin et al 2004 p 2834 Baldus CD Mrozek K Marcucci G Bloomfield CD 2007 Clinical outcome of de novo acute myeloid leukaemia patients with normal cytogenetics is affected by molecular genetic alterations a concise review Br J Haematol 137 5 387 400 doi 10 1111 j 1365 2141 2007 06566 x PMID 17488484 Unknown parameter month ignored help CS1 maint multiple names authors list link aehlngkhxmulxun aekikhAcute Myeloid Leukemia thi American Cancer Society Acute Myeloid Leukemia thi Leukemia amp Lymphoma Society Childhood Acute Myeloid Leukemia Archived 2009 09 23 thi ewyaebkaemchchin thi cchs net PDQ statement on AML for health professionals thi National Cancer InstitutekarcaaenkorkhV T DICD 10 C92 0ICD 9 CM 205 0OMIM 602439MeSH D015470DiseasesDB 203thrphyakrphaynxkMedlinePlus 000542eMedicine med 34Patient UK maerngemdeluxdkhawechiybphlnchnidimxilxyd bthkhwamekiywkbaephthysastrniyngepnokhrng khunsamarthchwywikiphiediyidodyephimkhxmul duephimthi sthaniyxy aephthysastrekhathungcak https th wikipedia org w index php title maerngemdeluxdkhawechiybphlnchnidimxilxyd amp oldid 9579540, wikipedia, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด,

บทความ

, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม