fbpx
วิกิพีเดีย

มานุษยดนตรีวิทยา

มานุษยดนตรีวิทยา (อังกฤษ: Ethnomusicology) เป็นศัพท์บัญญัติขึ้นในปี ค.ศ.1950 (พ.ศ. 2493) โดย Jaap Kunst ซึ่งนำคำนี้มาใช้แทนคำว่า Comparative Music (ดนตรีเปรียบเทียบ) เป็นสาขาหนึ่งของวิชาดนตรี และมีนิยามว่า "การศึกษาการณ์ลักษณะทางสังคมและวัฒนธรรมของดนตรีและการเต้นรำในบริบทท้องถิ่นและบริบทสากล" หรือที่เจฟฟ์ ทอดด์ ติตอนกล่าวว่าเป็น "การศึกษาผู้สร้างดนตรี"

มนุษยดนตรีวิทยาเป็นการศึกษาดนตรีพื้นเมือง ศิลปะดนตรีตะวันออก และดนตรีร่วมสมัยในวิธีการสืบทอดแบบมุขปาฐะ (Oral Tradition) โดยมีประเด็นในการศึกษา อาทิเช่น รากฐานการก่อเกิดดนตรี การพัฒนาและความเปลี่ยนแปลงทางดนตรี สัญลักษณ์และลักษณะดนตรี เรื่องราวที่เกี่ยวข้องกับดนตรีโดยรอบ (บริบท) บทบาทของหน้าที่ของดนตรีต่อสังคม โครงสร้างของดนตรี วิถีการดำรงอยู่ของดนตรี และดนตรีที่เกี่ยวข้องกับการเต้นรำ รวมถึงศิลปะดนตรีประจำท้องถิ่นหรือดนตรีพื้นเมือง (Folk Song) ของตะวันตกด้วย

นักมานุษยดนตรีวิทยาจะมุ่งเน้นในการศึกษาดนตรีที่ยังคงอยู่ (Living Music) ของวัฒนธรรมที่ใช้การถ่ายทอดด้วยปากเปล่า ไม่มีการบันทึกเป็นลายลักษณ์อักษร มุ่งศึกษาดนตรีของผู้ไม่รู้หนังสือ ดนตรีของชนกลุ่มน้อย ดนตรีที่ถ่ายทอดด้วยปากเปล่าของชาติที่มีวัฒนธรรมอันเก่าแก่ในซีกโลกตะวันออกและดนตรีพื้นเมือง ใช้การรวบรวมข้อมูลในแง่พฤติกรรมของมนุษย์เพื่ออธิบายว่า มนุษย์เล่นดนตรีเพื่ออะไร อย่างไร และวิเคราะห์บทบาทของดนตรีกับพฤติกรรมของมนุษย์ในสังคมนั้น ๆ ดำเนินการศึกษาโดยการลงพื้นที่ภาคสนามเพื่อเก็บข้อมูลและการบันทึกดนตรีที่พบเพื่อนำมาจดบันทึก วิเคราะห์ และเก็บเป็นหลักฐาน

การจดบันทึกดังกล่าวทำได้ 2 วิธี คือ

  1. การบันทึกโน้ตอย่างพอสังเขป (Prescriptive) เป็นการบันทึกโน้ตอย่างคร่าว ๆ ใช้เก็บเป็นหลักฐานประกอบมากกว่านำมาวิเคราะห์ทางทฤษฎีดนตรี
  2. การบันทึกโน้ตอย่างละเอียด (Descriptive) เป็นการบันทึกเสียงและจังหวะที่ได้ยินอย่างละเอียดที่สุดเท่าที่จะทำได้

การวิเคราะห์ดนตรีทำได้ 2 แบบ คือ

  1. ทำการศึกษาโครงสร้างโดยสังเขปของดนตรีชนิดนั้น ๆ
  2. ทำการศึกษาโดยลงลึกในแต่ละวัฒนธรรมดนตรี ซึ่งการศึกษาลักษณะลงลึกนี้ ในบางครั้งผู้ศึกษาสามารถรวบรวมเป็นทฤษฎีดนตรีโดยเฉพาะของชนชนาตินั้น ๆ ได้เลย การศึกษาดนตรีแล้วลงลึกถึงวัฒนธรรมถือเป็นสิ่งสำคัญที่สุดของการศึกษามานุษยดนตรีวิทยา เพราะจะทำให้ทราบถึงประวัติศาสตร์ของประเทศ ประวัติศาสตร์ดนตรี ความเปลี่ยนแปลงของดนตรีที่สอดคล้องกับสภาพสังคมและวัฒนธรรม สิ่งที่ยังคงอยู่ ที่กำลังพัฒนา และที่กำลังหมดสิ้นไป

ความเป็นมาของการศึกษาสาขาวิชามานุษยดุริยางควิทยา

การศึกษาสาขาวิชานี้เกิดขึ้นเมื่อศตวรรษที่ 16 โดยเริ่มมีการศึกษาดนตรีต่างฃาติ หรือดนตรีต่างถิ่น พบหลักฐานเมื่อ ค.ศ.1768 และยังพบหลักฐานทางวรรณคดีตะวันตกในศตวรรษที่ 18 โดยเป็นการศึกษากนตรีพื้นเมืองของชาวจีน แคนนาดา อินเดีย และฟินแลนด์ด้วย ในศตวรรษที่ 19 กลุ่มนักดนตรีวิทยาเริ่มใช้การบันทึกเสียงลงกระบอกเสียงเพื่อเป็นตัวอย่างสั้น ๆ และเก็บเป็นข้อมูลทางดนตรี

ในปีค.ศ.1901 คาร์ล สตัมฟ์ (Carl Stumpf) ร่วมกับ อ๊อตโต อับบราฮัม (Otto Abraham) ได้ศึกษาดนตรีไทยจากการบันทึกกระบอกเสียงที่ประเทศเยอรมัน และได้สรุประบบเสียงดนตรีไทยไว้ในหนังสือชื่อ Tonsystem and Musik der Siamese

ในปีค.ศ.1955 ได้มีการศึกษาทางมานุษยดนตรีวิทยาอย่างจริงจัง โดยการตั้งเป็นสมาคมด้านมานุษยดนตรีวิทยาขึ้น (Society for Ethnomusicology) มีการจัดประชุมกันของผู้เชี่ยวชาญดนตรีพื้นเมืองและนักมานุษยดนตรีวิทยา โดยมีบทบาทสำคัญต่อการพัฒนางานดนตรีของซีกโลกตะวันออกอย่างมาก

ในช่วงปีค.ศ.1970-1980 มีการสรางทฤษฎีด้านมานุษยดนตรีวิทยาและระเบียบวิธีวิจัยขึ้น ในช่วงนี้ความสนใจในการศึกษาเปลี่ยนจากส่วนต่าง ๆ ของดนตรีไปยังกรรมวิธีการสร้างดนตรีและการปฏิบัติดนตรี โดยเฉพาะในด้านการประพันธ์และแนวคิดทางดนตรี

ดนตรีวิทยา (Musicology) จึงเป็นสาขาวิชาหลักทางด้านดนตรี ที่นอกเหนือจากสาขาวิชาทฤษฎีและปฏิบัติ ซึ่งจะเป็นสาขาวิชาที่ศึกษา รวบรวมข้อมูล และวิเคราะห์ องค์ความรู้ที่เกี่ยวกับดนตรี บริบททางด้านดนตรี และบริบททางด้านวัฒนธรรมที่เกี่ยวข้องกับดนตรี โดยใช้กระบวนการทางการวิจัย ที่เกี่ยวเนื่องกับองค์ความรู้หลายๆด้านในเชิงวิชาการ เพื่อให้ได้ข้อมูล องค์ความรู้ที่มีคุณภาพ และเป็นประโยชน์ต่อกระบวนการศึกษา กระบวนการเรียนรู้ และการพัฒนาทางด้านดนตรีในสาขาวิชาต่างๆ ให้เติบโตไม่มีที่สิ้นสุด และมีฐานที่มั่นคง เหมือนกับต้นไม้ใหญ่ ที่เติบโตยิ่งใหญ่ แตกกิ่งก้านสาขาสร้างร่มเงา มีดอกผลเพื่อขยายพันธุ์ มีรากแก้วที่หยั่งลึก สร้างความมั่นคง แข็งแรง ยืนหยัดต่อไปอย่างทรงคุณค่า

อ้างอิง

  1. Pegg, Carole: 'Ethnomusicology', Grove Music Online ed. L. Macy (Accessed February 3, 2008), <http://www.grovemusic.com>
  2. Titon, Jeff Todd: Worlds of Music, 2nd ed. New York: Schirmer Books, 1992, p. xxi.

มาน, ษยดนตร, ทยา, งกฤษ, ethnomusicology, เป, นศ, พท, ญญ, นในป, 1950, 2493, โดย, jaap, kunst, งนำคำน, มาใช, แทนคำว, comparative, music, ดนตร, เปร, ยบเท, ยบ, เป, นสาขาหน, งของว, ชาดนตร, และม, ยามว, การศ, กษาการณ, กษณะทางส, งคมและว, ฒนธรรมของดนตร, และการเต, นรำใน. manusydntriwithya xngkvs Ethnomusicology epnsphthbyytikhuninpi kh s 1950 ph s 2493 ody Jaap Kunst sungnakhanimaichaethnkhawa Comparative Music dntriepriybethiyb epnsakhahnungkhxngwichadntri aelaminiyamwa karsuksakarnlksnathangsngkhmaelawthnthrrmkhxngdntriaelakaretnrainbribththxngthinaelabribthsakl 1 hruxthiecff thxdd titxnklawwaepn karsuksaphusrangdntri 2 mnusydntriwithyaepnkarsuksadntriphunemuxng silpadntritawnxxk aeladntrirwmsmyinwithikarsubthxdaebbmukhpatha Oral Tradition odymipraedninkarsuksa xathiechn rakthankarkxekiddntri karphthnaaelakhwamepliynaeplngthangdntri sylksnaelalksnadntri eruxngrawthiekiywkhxngkbdntriodyrxb bribth bthbathkhxnghnathikhxngdntritxsngkhm okhrngsrangkhxngdntri withikardarngxyukhxngdntri aeladntrithiekiywkhxngkbkaretnra rwmthungsilpadntripracathxngthinhruxdntriphunemuxng Folk Song khxngtawntkdwynkmanusydntriwithyacamungenninkarsuksadntrithiyngkhngxyu Living Music khxngwthnthrrmthiichkarthaythxddwypakepla immikarbnthukepnlaylksnxksr mungsuksadntrikhxngphuimruhnngsux dntrikhxngchnklumnxy dntrithithaythxddwypakeplakhxngchatithimiwthnthrrmxnekaaekinsikolktawnxxkaeladntriphunemuxng ichkarrwbrwmkhxmulinaengphvtikrrmkhxngmnusyephuxxthibaywa mnusyelndntriephuxxair xyangir aelawiekhraahbthbathkhxngdntrikbphvtikrrmkhxngmnusyinsngkhmnn daeninkarsuksaodykarlngphunthiphakhsnamephuxekbkhxmulaelakarbnthukdntrithiphbephuxnamacdbnthuk wiekhraah aelaekbepnhlkthankarcdbnthukdngklawthaid 2 withi khux karbnthukontxyangphxsngekhp Prescriptive epnkarbnthukontxyangkhraw ichekbepnhlkthanprakxbmakkwanamawiekhraahthangthvsdidntri karbnthukontxyanglaexiyd Descriptive epnkarbnthukesiyngaelacnghwathiidyinxyanglaexiydthisudethathicathaidkarwiekhraahdntrithaid 2 aebb khux thakarsuksaokhrngsrangodysngekhpkhxngdntrichnidnn thakarsuksaodylnglukinaetlawthnthrrmdntri sungkarsuksalksnalnglukni inbangkhrngphusuksasamarthrwbrwmepnthvsdidntriodyechphaakhxngchnchnatinn idely karsuksadntriaelwlnglukthungwthnthrrmthuxepnsingsakhythisudkhxngkarsuksamanusydntriwithya ephraacathaihthrabthungprawtisastrkhxngpraeths prawtisastrdntri khwamepliynaeplngkhxngdntrithisxdkhlxngkbsphaphsngkhmaelawthnthrrm singthiyngkhngxyu thikalngphthna aelathikalnghmdsinipkhwamepnmakhxngkarsuksasakhawichamanusyduriyangkhwithya aekikhkarsuksasakhawichaniekidkhunemuxstwrrsthi 16 odyerimmikarsuksadntritangkhati hruxdntritangthin phbhlkthanemux kh s 1768 aelayngphbhlkthanthangwrrnkhditawntkinstwrrsthi 18 odyepnkarsuksakntriphunemuxngkhxngchawcin aekhnnada xinediy aelafinaelnddwy instwrrsthi 19 klumnkdntriwithyaerimichkarbnthukesiynglngkrabxkesiyngephuxepntwxyangsn aelaekbepnkhxmulthangdntriinpikh s 1901 kharl stmf Carl Stumpf rwmkb xxtot xbbrahm Otto Abraham idsuksadntriithycakkarbnthukkrabxkesiyngthipraethseyxrmn aelaidsruprabbesiyngdntriithyiwinhnngsuxchux Tonsystem and Musik der Siameseinpikh s 1955 idmikarsuksathangmanusydntriwithyaxyangcringcng odykartngepnsmakhmdanmanusydntriwithyakhun Society for Ethnomusicology mikarcdprachumknkhxngphuechiywchaydntriphunemuxngaelankmanusydntriwithya odymibthbathsakhytxkarphthnangandntrikhxngsikolktawnxxkxyangmakinchwngpikh s 1970 1980 mikarsrangthvsdidanmanusydntriwithyaaelaraebiybwithiwicykhun inchwngnikhwamsnicinkarsuksaepliyncakswntang khxngdntriipyngkrrmwithikarsrangdntriaelakarptibtidntri odyechphaaindankarpraphnthaelaaenwkhidthangdntridntriwithya Musicology cungepnsakhawichahlkthangdandntri thinxkehnuxcaksakhawichathvsdiaelaptibti sungcaepnsakhawichathisuksa rwbrwmkhxmul aelawiekhraah xngkhkhwamruthiekiywkbdntri bribththangdandntri aelabribththangdanwthnthrrmthiekiywkhxngkbdntri odyichkrabwnkarthangkarwicy thiekiywenuxngkbxngkhkhwamruhlaydaninechingwichakar ephuxihidkhxmul xngkhkhwamruthimikhunphaph aelaepnpraoychntxkrabwnkarsuksa krabwnkareriynru aelakarphthnathangdandntriinsakhawichatang ihetibotimmithisinsud aelamithanthimnkhng ehmuxnkbtnimihy thietibotyingihy aetkkingkansakhasrangrmenga midxkphlephuxkhyayphnthu mirakaekwthihyngluk srangkhwammnkhng aekhngaerng yunhydtxipxyangthrngkhunkhaxangxing aekikh Pegg Carole Ethnomusicology Grove Music Online ed L Macy Accessed February 3 2008 lt http www grovemusic com gt Titon Jeff Todd Worlds of Music 2nd ed New York Schirmer Books 1992 p xxi bthkhwamekiywkbephlng dntri hrux ekhruxngdntriniyngepnokhrng khunsamarthchwywikiphiediyidodyephimkhxmul duephimthi sthaniyxy dntriekhathungcak https th wikipedia org w index php title manusydntriwithya amp oldid 8098984, wikipedia, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด,

บทความ

, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม