fbpx
วิกิพีเดีย

ระบบปฏิบัติการแบบเวลาจริง

ระบบปฏิบัติการแบบเวลาจริง หรือ ระบบปฏิบัติการแบบทันที (Real-time operating system: RTOS) คือระบบปฏิบัติการที่เวลาเป็นปัจจัยสำคัญสำหรับประสิทธิภาพของระบบ นั่นคือมีชุดคำสั่งหรือโปรเซสบางอย่าง ที่จำเป็นต้องทำ ณ เวลาที่กำหนด หรือทำให้เสร็จในเวลาที่กำหนด ถ้าทำไม่ได้อาจสร้างความเสียหายหรือเกิดค่าความเสียหาย (cost) กับระบบ โดยทั่วไปสำหรับระบบปฏิบัติการแบบเวลาจริง การทำงานไม่ทันในเวลาที่กำหนด มีค่าเทียบเคียงได้กับ การไม่ได้ทำงานนั้นเลย ระบบปฏิบัติการแบบเวลาจริงมักถูกออกแบบมาเพื่อแอปพลิเคชันแบบฝังตัวหรือแอปพลิเคชันที่ติดตั้งมากับระบบตั้งแต่แรกเพื่อทำงานเฉพาะด้าน เช่น ระบบปฏิบัติการของเครื่องเล่นซีดี ทันทีที่ระบบปฏิบัติการอ่านข้อมูลจากแผ่นซีดีแล้ว จะต้องประมวลผลข้อมูล และส่งสัญญาณเสียงออกไปให้ผู้ฟังทันที ถ้าระบบปฏิบัติการทำงานไม่ทันก็จะทำให้เพลงฟังไม่รู้เรื่อง

ระบบปฏิบัติการบางตัวไม่ได้ถูกออกแบบมาตั้งแต่ต้นให้เป็นระบบปฏิบัติการแบบเวลาจริง แต่ก็สามารถถูกดัดแปลงให้เป็นได้ เช่นหลายบริษัทพัฒนาและขายลินุกซ์ที่ถูกดัดแปลงเพิ่มขีดความสามารถในการปฏิบัติการแบบเวลาจริง และเมื่อ 8 ตุลาคม พ.ศ. 2547 บริษัท มอนตาวิสตา (Montavista) ได้ส่งแพตช์ (patch) ไปยัง Linux kernel mailing list เพื่อทำให้ลินุกซ์เป็นระบบปฏิบัติการแบบเวลาจริง

คุณลักษณะที่สำคัญของระบบปฏิบัติการแบบเวลาจริง

ระบบปฏิบัติการแบบเวลาจริงมีจุดที่ต้องระวังในการออกแบบเป็นพิเศษอยู่ 2 จุดก็คือ

  • การจัดลำดับแบบเวลาจริง (real-time scheduling)
  • การจัดสรรหน่วยความจำ (memory allocation)

การจัดลำดับแบบเวลาจริง

โดยโปรแกรมจัดลำดับ (scheduler) จะต้องมีความสามารถในการจัดลำดับการทำงาน ให้ทุกโปรเซสสามารถทำงานได้ทันตามที่ต้องการ โดยในปี ค.ศ. 1973 2 นักวิจัยคือ ลิวและเลย์แลนด์ ได้พิสูจน์ทฤษฎีบทบางอย่างเกี่ยวกับการจัดเวลาว่า กลุ่มโปรเซสลักษณะแบบใด จะสามารถจัดเวลาได้ทัน หรือในกรณีที่ไม่สามารถจัดเวลาได้ทันสำหรับทุกโปรเซส ลิวและเลย์แลนด์ก็ยังได้เสนอขั้นตอนวิธีการจัดลำดับ ที่จัดเวลาให้มีค่าความเสียหายน้อยที่สุด โดยปกติแล้วระบบปฏิบัติการที่ถูกออกแบบเพื่อใช้กับงานทั่วไป (general-purpose OS) ไม่เหมาะที่จะจัดลำดับโปรเซสแบบเวลาจริง เนื่องจากจะมี ค่าใช้จ่ายส่วนเกินหรือค่าใช้จ่ายอื่น (overhead) ในการทำกระบวนการสับเปลี่ยนโปรเซส (context-switching) สูง

การจัดสรรหน่วยความจำ

อีกปัญหาหนึ่งคือการจัดสรรหน่วยความจำ ซึ่งระบบปฏิบัติการ จำเป็นที่จะต้องจองหน่วยความจำ ขนาดที่โปรเซส หรือโปรแกรมต้องการ ให้ทันภายในช่วงเวลาสั้นๆ ที่โปรเซสทำงานอยู่ โดยขั้นตอนวิธีปกติ จะใช้ไล่หาตามรายการโยงของหน่วยความจำที่ว่าง ซึ่งอาจจะมีประสิทธิภาพในแง่เวลาต่ำ

นอกจากนั้น ยังมีปัญหาเรื่อง การแตกกระจายของหน่วยความจำ (memory fragmentation) เนื่องจากการจัดสรรเนื้อที่หน่วยความจำในทันทีเ ป็นเรื่องยากที่จะจัดสรรให้มีระเบียบ ปัญหานี้ไม่เป็นปัญหาใหญ่นัก สำหรับเครื่องคอมพิวเตอร์แบบตั้งโต๊ะทั่วไป เพราะว่ามีการเปิด-ปิดอยู่บ่อยครั้ง อย่างไรก็ตามสำหรับระบบฝังตัว ที่ทำงานอยู่ตลอดปี โดยไม่ได้เปิด-ปิดเลย ปัญหานี้ถือเป็นประเด็นสำคัญ

ตัวอย่างของระบบปฏิบัติการแบบเวลาจริง

  • BeOS
  • ChorusOS
  • eCos
  • FreeRTOS
  • ITRON
  • LynxOS
  • MicroC/OS-II
  • NOS
  • Nucleus
  • Nut/OS
  • OS-9
  • OSE
  • OSEK/VDX
  • OSEKtime
  • pSOS
  • QNX
  • RMX
  • RSX-11
  • RT-11
  • RTOS-UH
  • VRTX
  • VxWorks
  • Windows CE
  • RTLinux
  • RTAI

ดูเพิ่ม

อ้างอิง

  • A. Tanenbaum and A. Woodhull. Operating Systems: Design and Implementation. Prentice Hall, 1997.

ระบบปฏ, การแบบเวลาจร, งก, ามภาษา, ในบทความน, ไว, ให, านและผ, วมแก, ไขบทความศ, กษาเพ, มเต, มโดยสะดวก, เน, องจากว, เด, ยภาษาไทยย, งไม, บทความด, งกล, าว, กระน, ควรร, บสร, างเป, นบทความโดยเร, วท, หร, ระบบปฏ, การแบบท, นท, real, time, operating, system, rtos, อระบบป. lingkkhamphasa inbthkhwamni miiwihphuxanaelaphurwmaekikhbthkhwamsuksaephimetimodysadwk enuxngcakwikiphiediyphasaithyyngimmibthkhwamdngklaw krann khwrribsrangepnbthkhwamodyerwthisudrabbptibtikaraebbewlacring hrux rabbptibtikaraebbthnthi Real time operating system RTOS khuxrabbptibtikarthiewlaepnpccysakhysahrbprasiththiphaphkhxngrabb nnkhuxmichudkhasnghruxopressbangxyang thicaepntxngtha n ewlathikahnd hruxthaihesrcinewlathikahnd thathaimidxacsrangkhwamesiyhayhruxekidkhakhwamesiyhay cost kbrabb odythwipsahrbrabbptibtikaraebbewlacring karthanganimthninewlathikahnd mikhaethiybekhiyngidkb karimidthangannnely rabbptibtikaraebbewlacringmkthukxxkaebbmaephuxaexpphliekhchnaebbfngtwhruxaexpphliekhchnthitidtngmakbrabbtngaetaerkephuxthanganechphaadan echn rabbptibtikarkhxngekhruxngelnsidi thnthithirabbptibtikarxankhxmulcakaephnsidiaelw catxngpramwlphlkhxmul aelasngsyyanesiyngxxkipihphufngthnthi tharabbptibtikarthanganimthnkcathaihephlngfngimrueruxngrabbptibtikarbangtwimidthukxxkaebbmatngaettnihepnrabbptibtikaraebbewlacring aetksamarththukddaeplngihepnid echnhlaybristhphthnaaelakhaylinuksthithukddaeplngephimkhidkhwamsamarthinkarptibtikaraebbewlacring aelaemux 8 tulakhm ph s 2547 bristh mxntawista Montavista idsngaephtch patch ipyng Linux kernel mailing list ephuxthaihlinuksepnrabbptibtikaraebbewlacring enuxha 1 khunlksnathisakhykhxngrabbptibtikaraebbewlacring 1 1 karcdladbaebbewlacring 1 2 karcdsrrhnwykhwamca 2 twxyangkhxngrabbptibtikaraebbewlacring 3 duephim 4 xangxingkhunlksnathisakhykhxngrabbptibtikaraebbewlacring aekikhrabbptibtikaraebbewlacringmicudthitxngrawnginkarxxkaebbepnphiessxyu 2 cudkkhux karcdladbaebbewlacring real time scheduling karcdsrrhnwykhwamca memory allocation karcdladbaebbewlacring aekikh odyopraekrmcdladb scheduler catxngmikhwamsamarthinkarcdladbkarthangan ihthukopresssamarththanganidthntamthitxngkar odyinpi kh s 1973 2 nkwicykhux liwaelaelyaelnd idphisucnthvsdibthbangxyangekiywkbkarcdewlawa klumopresslksnaaebbid casamarthcdewlaidthn hruxinkrnithiimsamarthcdewlaidthnsahrbthukopress liwaelaelyaelndkyngidesnxkhntxnwithikarcdladb thicdewlaihmikhakhwamesiyhaynxythisud odypktiaelwrabbptibtikarthithukxxkaebbephuxichkbnganthwip general purpose OS imehmaathicacdladbopressaebbewlacring enuxngcakcami khaichcayswnekinhruxkhaichcayxun overhead inkarthakrabwnkarsbepliynopress context switching sung karcdsrrhnwykhwamca aekikh xikpyhahnungkhuxkarcdsrrhnwykhwamca sungrabbptibtikar caepnthicatxngcxnghnwykhwamca khnadthiopress hruxopraekrmtxngkar ihthnphayinchwngewlasn thiopressthanganxyu odykhntxnwithipkti caichilhatamraykaroyngkhxnghnwykhwamcathiwang sungxaccamiprasiththiphaphinaengewlatanxkcaknn yngmipyhaeruxng karaetkkracaykhxnghnwykhwamca memory fragmentation enuxngcakkarcdsrrenuxthihnwykhwamcainthnthie pneruxngyakthicacdsrrihmiraebiyb pyhaniimepnpyhaihynk sahrbekhruxngkhxmphiwetxraebbtngotathwip ephraawamikarepid pidxyubxykhrng xyangirktamsahrbrabbfngtw thithanganxyutlxdpi odyimidepid pidely pyhanithuxepnpraednsakhytwxyangkhxngrabbptibtikaraebbewlacring aekikhBeOS ChorusOS eCos FreeRTOS ITRON LynxOS MicroC OS II NOS Nucleus Nut OS OS 9 OSE OSEK VDX OSEKtime pSOS QNX RMX RSX 11 RT 11 RTOS UH VRTX VxWorks Windows CE RTLinux RTAIduephim aekikhrabbptibtikar karcdladbaebbewlacring karcdsrrhnwykhwamcaxangxing aekikhA Tanenbaum and A Woodhull Operating Systems Design and Implementation Prentice Hall 1997 ekhathungcak https th wikipedia org w index php title rabbptibtikaraebbewlacring amp oldid 9347955, wikipedia, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด,

บทความ

, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม