fbpx
วิกิพีเดีย

การอุปถัมภ์

การอุปถัมภ์ ในความหมายโดยทั่วไป คือ การค้ำจุน การค้ำชู การสนับสนุน การเลี้ยงดู ในทางการเมืองซึ่งใช้คำว่า ระบบอุปถัมภ์ หมายถึง การได้รับสิทธิพิเศษจากผู้ใหญ่หรือญาติมิตรของตน เป็นระบบที่ตรงกันข้ามกับระบบความชอบธรรมซึ่งนิยมใช้เป็นหลักในปัจจุบัน

ระบบอุปถัมภ์ (Patronage System) เป็นรูปแบบความสัมพันธ์ทางสังคมในยุโรปช่วงศตวรรษที่ 5 – 16 และในสังคมไทยจะมีรูปแบบที่คล้ายคลึงกันในสมัยพระบรมไตรโลกนาถจนถึงรัชกาลที่ 5 แห่งรัตนโกสินทร์ คำว่า “ผู้อุปถัมภ์” (patron) เป็นคำที่มาจากภาษาละติน คือ pratronus หมายถึง บุคคลผู้มีอำนาจให้ความยินยอมหรือรับรอง (sanction) โดยคนเหล่านี้ต้องเข้ามาเกี่ยวข้องสัมพันธ์กับผู้ที่มีอำนาจด้อยกว่าหรือเป็น “ผู้รับอุปถัมภ์” (client) ที่ต้องการความช่วยเหลือหรือป้องกัน โดยผู้อุปถัมภ์จะให้ประโยชน์กับผู้รับอุปถัมภ์โดยหวังจะได้ประโยชน์ตอบแทนกลับมาในรูปแบบของสินค้า ความจงรักภักดี การสนับสนุนทางการเมืองในรูปแบบต่างๆ ความสัมพันธ์ในเชิงตอบแทนซึ่งกันและกัน (reciprocal relationships) โดยทั่วไปความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลสองฝ่ายนี้ ฝ่ายผู้รับอุปถัมภ์มักจะเป็นผู้เสียเปรียบเพราะโดยคำจำกัดความว่าเป็นผู้ที่อ่อนแอกว่าทั้งในด้านเศรษฐกิจและการเมือง (Kurian, 2011: 1199-1200)

อรรถาธิบาย

เจมส์ ซี สกอตต์ (James C. Scott, 2539: 47-53) ได้นิยามความสัมพันธ์ระหว่างผู้อุปถัมภ์และผู้รับอุปถัมภ์ไว้ว่า เป็นกรณีของความสัมพันธ์คู่ ที่เป็นกลไกของความสัมพันธ์ (instrumental relationship) ในลักษณะที่บุคคลหนึ่งจะมีสถานภาพทางสังคมและเศรษฐกิจในระดับสูงจะเป็นผู้อุปถัมภ์ ที่จะใช้อิทธิพลและทรัพยากรของตนในการช่วยปกป้องคุ้มครองหรือให้ผลประโยชน์หรือทั้งสองอย่างแก่บุคคลที่มีสถานภาพต่ำกว่าคือผู้รับอุปถัมภ์ ผู้ซึ่งจะต้องตอบแทนโดยการให้การสนับสนุนและให้ความช่วยเหลือ ตลอดจนให้บริการแก่ผู้อุปถัมภ์ ผู้อุปถัมภ์อาจจะสามารถใช้อำนาจในทางเห็นชอบ (sanction) หรือการใช้อำนาจบังคับอย่างแท้จริง (pure coercive) ก็ได้

การใช้คำว่าระบบอุปถัมภ์ในระดับสากลจะกล่าวถึงความสัมพันธ์แบบอุปถัมภ์ (patron-client relationship) ซึ่งมีความเป็นมาจากระบบฟิวดัล (feudal) ที่เกิดขึ้นในช่วงปลายสมัยโรมัน ความไร้เสถียรภาพทางสังคมก่อให้เกิดความสัมพันธ์ส่วนบุคคลระหว่างผู้ที่มีฐานะทางสังคมแตกต่างกัน ความเดือดร้อน สถานการณ์ที่ระบบเครือญาติขาดทรัพยากรที่จะให้ความช่วยเหลือแก่ปัจเจกบุคคล และในขณะเดียวกันอำนาจกลางก็อยู่ไกลเกินไปหรืออ่อนแอเกินกว่าที่จะคุ้มครองผู้ที่อ่อนแอได้ ปัจเจกบุคคลที่อ่อนแอจึงต้องหากลไกทางสังคมที่จะช่วยป้องกันให้เขาพ้นจากภัยต่างๆ จึงจำเป็นต้องมาฝากตัวกับผู้ที่มีอำนาจ ทำให้เกิดความสัมพันธ์แบบอุปถัมภ์ของบุคคลที่มีฐานะต่างกัน แต่จากความสัมพันธ์นี้ต่างฝ่ายต่างได้รับประโยชน์ตอบแทนซึ่งกันและกัน ในปลายสมัยโรมัน เจ้าของที่ดินขนาดเล็กหรือชาวนาเข้าไปขอความคุ้มครองจากเจ้าของที่ดินขนาดใหญ่ และตอบแทนการคุ้มครองดังกล่าวด้วยการช่วยเพาะปลูก หรือเอาที่ดินของตนยกให้เจ้าของที่ดินขนาดใหญ่ แล้วทำกินบนที่ดินเดิมของตนต่อไปในฐานะผู้เช่า ระบบความสัมพันธ์เช่นนี้จึงเรียกว่าระบบอุปถัมภ์ (กุลลดา, 2552: 5-6)

นอกจากนี้ ในบริบทปัจจุบัน คำว่าระบบอุปถัมภ์ มักใช้ในสังคมประเทศโลกที่สามหรือประเทศที่กำลังพัฒนา ความสัมพันธ์ระหว่างผู้อุปถัมภ์และผู้รับอุปถัมภ์สามารถเชื่อมโยงบุคคลที่มีสถานภาพต่ำไปจนถึงบุคคลระดับชาติโดยไม่จำเป็นต้องผูกติดกับระบบราชการที่เข้มงวด ในทางการเมืองการปกครองผู้อุปถัมภ์อาจจะสามารถช่วยเหลือผู้รับอุปถัมภ์ของตนในการติดต่อกับระบบราชการ เช่น การช่วยประกันตัว การช่วยฝากลูกเข้าโรงเรียนของรัฐ เป็นต้น อีกทั้ง เครือข่ายของระบบอุปถัมภ์ได้กลายมาเป็นวิธีการที่พรรคการเมืองใช้ในการหาคะแนนเสียงในชนบท เช่น การซื้อเสียง การสัญญาว่าจะให้ เป็นต้น หากมองโดยปราศจากอคติ สังคมอุปถัมภ์เป็นสังคมที่มีต้นทุนทางสังคมโดยรวมสูง การใช้ระบบอุปถัมภ์อาจเป็นภาพสะท้อนของการสร้างเครือข่ายทางสังคมเพื่อลดความเสี่ยงในการดำรงชีวิตในสังคมที่มีความเหลื่อมล้ำสูง ในสังคมไทยมักมองว่าระบบอุปถัมภ์เป็นวิถีของคนในชนบท และเป็นที่มาของการซื้อเสียง แต่แท้จริงแล้ว สังคมเมือง และสังคมคนกรุงเทพก็ตั้งอยู่บนพื้นฐานของระบบอุปถัมภ์ไม่น้อยไปกว่าสังคมต่างจังหวัด

ตัวอย่างการนำไปใช้ในประเทศไทย

อย่างไรก็ดี คำว่าระบบอุปถัมภ์ในสังคมไทยมีความแตกต่างกับความหมายในยุโรปอย่างมาก เพราะจะถูกใช้แทนการเรียกระบบการปกครองแบบ “ศักดินา” ซึ่งในภาษาอังกฤษจะเรียกว่า “ฟิวดัล” (feudal) โดยระบบศักดินาของไทยเริ่มในสมัยพระบรมไตรโลกนาถ ที่กำหนดลำดับขั้นทางสังคมผ่านการจัดแบ่งว่าศักดิ์ใดมีสิทธิในการถือครองที่นาเท่าใด การแบ่งลักษณะนี้ไม่ได้ยึดติดว่าจะต้องถือครองที่นาตามตัวเลขจริงๆ การบอกจำนวนไร่ของที่นาเป็นเพียงการจัดลำดับเชิงปริมาณเท่านั้น แต่นัยสำคัญอยู่ที่จำนวน “ไพร่” หรือ “ผู้รับอุปถัมภ์” ที่เข้ามาฝากตัว ผู้อุปถัมภ์คนใดมีไพร่จำนวนมากก็จะแสดงถึงอำนาจที่มากกว่า แตกต่างจากผู้อุปถัมภ์ในยุโรปที่ยึดครองที่นาจริงๆ ในการเป็นปัจจัยการผลิตทางสังคม แต่ไม่ได้ให้ความสนใจกับผู้รับอุปถัมภ์มากนัก

สำหรับการใช้คำว่าระบบอุปถัมภ์ในโครงสร้างสังคมไทย อคิน รพีพัฒน์ ได้กล่าวไว้ว่าเมื่อมีการพัฒนาเศรษฐกิจในหมู่บ้านเป็นสาเหตุของการเลื่อนถอยของระบบอุปถัมภ์ ชาวชนบทได้เปลี่ยนแปลงการเพาะปลูกเพื่อการดำรงชีพมาเป็นการเพาะปลูกเพื่อการค้า มีถนนเข้าสู่หมู่บ้านทำให้การคมนาคมสะดวกขึ้น นอกจากพ่อค้าซึ่งมีอิทธิพลมีอำนาจทางการเมืองเข้ามาถึงหมู่บ้านแล้ว ข้าราชการจากหลายหน่วยงานเข้ามาในท้องที่ ทำให้ชาวบ้านรู้สึกถึงอำนาจรัฐเข้ามากระทบโดยตรง กำนันผู้ใหญ่บ้านกลายมาเป็นผู้แทนของรัฐ แทนที่จะเป็นผู้แทนของชาวบ้าน ชาวบ้านจากที่เคยพึ่งพากำนันผู้ใหญ่บ้าน เมื่อเห็นว่าพึ่งพิงกับผู้แทนรัฐไม่ได้ ก็ต้องหันไปพึ่งพิงพ่อค้าหรือผู้ที่ร่ำรวย ความสัมพันธ์แบบอุปถัมภ์ระหว่างผู้ใหญ่บ้านกับลูกบ้านจึงค่อยๆ เลื่อนถอยไปในที่สุด ทำให้กลุ่มพ่อค้าเข้ามาแทนในระบบอุปถัมภ์ ซึ่งสุดท้ายจะกลายเป็นความสัมพันธ์อุปถัมภ์ระหว่างชาวบ้านกับนักธุรกิจท้องถิ่นที่เข้ามาเล่นการเมืองทั้งระดับชาติและระดับท้องถิ่นด้วย (สมหญิง, 2532: 21)

การใช้คำว่าระบบอุปถัมภ์จึงต้องพึงระวังว่าบริบทของการใช้คำที่แตกต่างกันระหว่าง “อุปถัมภ์แบบยุโรป” กับ “อุปถัมภ์แบบไทย” แม้โดยทั่วๆ ไปแล้วคำว่า อุปถัมภ์ จะหมายถึงการที่คนคนหนึ่งที่มีอำนาจ และทรัพยากรน้อยกว่าจะต้องหันไปพึ่งพาผู้ที่มีอำนาจ และทรัพยากรที่มากกว่าเพื่อการได้มาซึ่งผลประโยชน์ต่างตอบแทนซึ่งกันและกันก็ตาม แต่ตามบริบทของแต่ละสังคมที่แตกต่างกันออกไปก็อาจทำให้มิอาจกล่าวได้ว่าการนิยามแบบใดผิดหรือถูก เพราะบริบทในสังคมเศรษฐกิจและการเมืองที่แตกต่างกันทำให้รายละเอียดในการแปลความหมายของคำแตกต่างกันไปด้วย แต่ใจความหลักของคำว่าระบบอุปถัมภ์ยังคงมีจุดร่วมกันอยู่ คือ ประชาชนที่มีฐานะด้อยกว่าทางสังคมจะกลายเป็นผู้รับอุปถัมภ์เมื่อได้เข้าไปฝากตัวกับผู้อุปถัมภ์ที่มีฐานะดีกว่า และความสัมพันธ์นี้ต่างได้ผลประโยชน์ทั้งคู่ เพราะผู้อุปถัมภ์จะดูแลด้านชีวิตความเป็นอยู่และเชื่อมต่ออำนาจในการเข้าถึงภาครัฐให้กับผู้รับอุปถัมภ์ ในขณะที่ผู้รับอุปถัมภ์จะต้องตอบแทบบางประการ เช่น การใช้แรงงานให้ หรือ การมอบสิทธิบางประการให้ เป็นต้น

อ้างอิง

  1. ราชบัณฑิตยสถาน. พจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. ๒๕๔๒. กรุงเทพฯ : นานมีบุ๊คส์พับลิเคชั่น, 2546. 1,488 หน้า. ISBN 974-9588-04-5
  2. เดโช สวนานนท์. พจนานุกรมศัพท์การเมือง. กรุงเทพฯ : หน้าต่างสู่โลกกว้าง, 2545. 328 หน้า. ISBN 974-547-045-7
  3. Kurian, George Thomas (2011). The encyclopedia of political science. Washington: CQ Press.
  4. เจมส์ ซี สกอตต์ (2539). “การเมืองในระบบผู้อุปถัมภ์กับผู้รับอุปถัมภ์ และการเปลี่ยนแปลงทางการเมืองในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้”. ใน ปรีชา คุวินทร์พันธุ์ (ผู้แปล). ระบบอุปถัมภ์. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
  5. กุลลดา เกษบุญชู-มิ้ด (2552). วิวัฒนาการรัฐอังกฤษ ฝรั่งเศส ในกระแสเศรษฐกิจโลก จากระบบฟิวดัลถึงการปฏิวัติ. พิมพ์ครั้งที่ 2. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์ฟ้าเดียวกัน.
  6. สมหญิง สุนทรวงษ์ (2532). ระบบอุปถัมภ์กับการกระจายผลประโยชน์ในการพัฒนาชนบท: กรณีศึกษาหมู่บ้านชายฝั่งทะเลภาคตะวันออก. วิทยานิพนธ์สังคมศาสตร์มหาบัณฑิต คณะสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.

การอ, ปถ, มภ, ในความหมายโดยท, วไป, การค, ำจ, การค, ำช, การสน, บสน, การเล, ยงด, ในทางการเม, องซ, งใช, คำว, ระบบอ, ปถ, มภ, หมายถ, การได, บส, ทธ, เศษจากผ, ใหญ, หร, อญาต, ตรของตน, เป, นระบบท, ตรงก, นข, ามก, บระบบความชอบธรรมซ, งน, ยมใช, เป, นหล, กในป, จจ, ระบบอ, ปถ. karxupthmph inkhwamhmayodythwip khux karkhacun karkhachu karsnbsnun kareliyngdu 1 inthangkaremuxngsungichkhawa rabbxupthmph hmaythung karidrbsiththiphiesscakphuihyhruxyatimitrkhxngtn epnrabbthitrngknkhamkbrabbkhwamchxbthrrmsungniymichepnhlkinpccubn 2 rabbxupthmph Patronage System epnrupaebbkhwamsmphnththangsngkhminyuorpchwngstwrrsthi 5 16 aelainsngkhmithycamirupaebbthikhlaykhlungkninsmyphrabrmitrolknathcnthungrchkalthi 5 aehngrtnoksinthr khawa phuxupthmph patron epnkhathimacakphasalatin khux pratronus hmaythung bukhkhlphumixanacihkhwamyinyxmhruxrbrxng sanction odykhnehlanitxngekhamaekiywkhxngsmphnthkbphuthimixanacdxykwahruxepn phurbxupthmph client thitxngkarkhwamchwyehluxhruxpxngkn odyphuxupthmphcaihpraoychnkbphurbxupthmphodyhwngcaidpraoychntxbaethnklbmainrupaebbkhxngsinkha khwamcngrkphkdi karsnbsnunthangkaremuxnginrupaebbtang khwamsmphnthinechingtxbaethnsungknaelakn reciprocal relationships odythwipkhwamsmphnthrahwangbukhkhlsxngfayni fayphurbxupthmphmkcaepnphuesiyepriybephraaodykhacakdkhwamwaepnphuthixxnaexkwathngindanesrsthkicaelakaremuxng Kurian 2011 1199 1200 3 xrrthathibay aekikhecms si skxtt James C Scott 2539 47 53 4 idniyamkhwamsmphnthrahwangphuxupthmphaelaphurbxupthmphiwwa epnkrnikhxngkhwamsmphnthkhu thiepnklikkhxngkhwamsmphnth instrumental relationship inlksnathibukhkhlhnungcamisthanphaphthangsngkhmaelaesrsthkicinradbsungcaepnphuxupthmph thicaichxiththiphlaelathrphyakrkhxngtninkarchwypkpxngkhumkhrxnghruxihphlpraoychnhruxthngsxngxyangaekbukhkhlthimisthanphaphtakwakhuxphurbxupthmph phusungcatxngtxbaethnodykarihkarsnbsnunaelaihkhwamchwyehlux tlxdcnihbrikaraekphuxupthmph phuxupthmphxaccasamarthichxanacinthangehnchxb sanction hruxkarichxanacbngkhbxyangaethcring pure coercive kidkarichkhawarabbxupthmphinradbsaklcaklawthungkhwamsmphnthaebbxupthmph patron client relationship sungmikhwamepnmacakrabbfiwdl feudal thiekidkhuninchwngplaysmyormn khwamiresthiyrphaphthangsngkhmkxihekidkhwamsmphnthswnbukhkhlrahwangphuthimithanathangsngkhmaetktangkn khwameduxdrxn sthankarnthirabbekhruxyatikhadthrphyakrthicaihkhwamchwyehluxaekpceckbukhkhl aelainkhnaediywknxanacklangkxyuiklekiniphruxxxnaexekinkwathicakhumkhrxngphuthixxnaexid pceckbukhkhlthixxnaexcungtxnghaklikthangsngkhmthicachwypxngknihekhaphncakphytang cungcaepntxngmafaktwkbphuthimixanac thaihekidkhwamsmphnthaebbxupthmphkhxngbukhkhlthimithanatangkn aetcakkhwamsmphnthnitangfaytangidrbpraoychntxbaethnsungknaelakn inplaysmyormn ecakhxngthidinkhnadelkhruxchawnaekhaipkhxkhwamkhumkhrxngcakecakhxngthidinkhnadihy aelatxbaethnkarkhumkhrxngdngklawdwykarchwyephaapluk hruxexathidinkhxngtnykihecakhxngthidinkhnadihy aelwthakinbnthidinedimkhxngtntxipinthanaphuecha rabbkhwamsmphnthechnnicungeriykwarabbxupthmph kullda 2552 5 6 5 nxkcakni inbribthpccubn khawarabbxupthmph mkichinsngkhmpraethsolkthisamhruxpraethsthikalngphthna khwamsmphnthrahwangphuxupthmphaelaphurbxupthmphsamarthechuxmoyngbukhkhlthimisthanphaphtaipcnthungbukhkhlradbchatiodyimcaepntxngphuktidkbrabbrachkarthiekhmngwd inthangkaremuxngkarpkkhrxngphuxupthmphxaccasamarthchwyehluxphurbxupthmphkhxngtninkartidtxkbrabbrachkar echn karchwyprakntw karchwyfaklukekhaorngeriynkhxngrth epntn xikthng ekhruxkhaykhxngrabbxupthmphidklaymaepnwithikarthiphrrkhkaremuxngichinkarhakhaaennesiynginchnbth echn karsuxesiyng karsyyawacaih epntn hakmxngodyprascakxkhti sngkhmxupthmphepnsngkhmthimitnthunthangsngkhmodyrwmsung karichrabbxupthmphxacepnphaphsathxnkhxngkarsrangekhruxkhaythangsngkhmephuxldkhwamesiynginkardarngchiwitinsngkhmthimikhwamehluxmlasung insngkhmithymkmxngwarabbxupthmphepnwithikhxngkhninchnbth aelaepnthimakhxngkarsuxesiyng aetaethcringaelw sngkhmemuxng aelasngkhmkhnkrungethphktngxyubnphunthankhxngrabbxupthmphimnxyipkwasngkhmtangcnghwdtwxyangkarnaipichinpraethsithy aekikhxyangirkdi khawarabbxupthmphinsngkhmithymikhwamaetktangkbkhwamhmayinyuorpxyangmak ephraacathukichaethnkareriykrabbkarpkkhrxngaebb skdina sunginphasaxngkvscaeriykwa fiwdl feudal odyrabbskdinakhxngithyeriminsmyphrabrmitrolknath thikahndladbkhnthangsngkhmphankarcdaebngwaskdiidmisiththiinkarthuxkhrxngthinaethaid karaebnglksnaniimidyudtidwacatxngthuxkhrxngthinatamtwelkhcring karbxkcanwnirkhxngthinaepnephiyngkarcdladbechingprimanethann aetnysakhyxyuthicanwn iphr hrux phurbxupthmph thiekhamafaktw phuxupthmphkhnidmiiphrcanwnmakkcaaesdngthungxanacthimakkwa aetktangcakphuxupthmphinyuorpthiyudkhrxngthinacring inkarepnpccykarphlitthangsngkhm aetimidihkhwamsnickbphurbxupthmphmaknksahrbkarichkhawarabbxupthmphinokhrngsrangsngkhmithy xkhin rphiphthn idklawiwwaemuxmikarphthnaesrsthkicinhmubanepnsaehtukhxngkareluxnthxykhxngrabbxupthmph chawchnbthidepliynaeplngkarephaaplukephuxkardarngchiphmaepnkarephaaplukephuxkarkha mithnnekhasuhmubanthaihkarkhmnakhmsadwkkhun nxkcakphxkhasungmixiththiphlmixanacthangkaremuxngekhamathunghmubanaelw kharachkarcakhlayhnwynganekhamainthxngthi thaihchawbanrusukthungxanacrthekhamakrathbodytrng kannphuihybanklaymaepnphuaethnkhxngrth aethnthicaepnphuaethnkhxngchawban chawbancakthiekhyphungphakannphuihyban emuxehnwaphungphingkbphuaethnrthimid ktxnghnipphungphingphxkhahruxphuthirarwy khwamsmphnthaebbxupthmphrahwangphuihybankblukbancungkhxy eluxnthxyipinthisud thaihklumphxkhaekhamaaethninrabbxupthmph sungsudthaycaklayepnkhwamsmphnthxupthmphrahwangchawbankbnkthurkicthxngthinthiekhamaelnkaremuxngthngradbchatiaelaradbthxngthindwy smhying 2532 21 6 karichkhawarabbxupthmphcungtxngphungrawngwabribthkhxngkarichkhathiaetktangknrahwang xupthmphaebbyuorp kb xupthmphaebbithy aemodythw ipaelwkhawa xupthmph cahmaythungkarthikhnkhnhnungthimixanac aelathrphyakrnxykwacatxnghnipphungphaphuthimixanac aelathrphyakrthimakkwaephuxkaridmasungphlpraoychntangtxbaethnsungknaelaknktam aettambribthkhxngaetlasngkhmthiaetktangknxxkipkxacthaihmixacklawidwakarniyamaebbidphidhruxthuk ephraabribthinsngkhmesrsthkicaelakaremuxngthiaetktangknthaihraylaexiydinkaraeplkhwamhmaykhxngkhaaetktangknipdwy aetickhwamhlkkhxngkhawarabbxupthmphyngkhngmicudrwmknxyu khux prachachnthimithanadxykwathangsngkhmcaklayepnphurbxupthmphemuxidekhaipfaktwkbphuxupthmphthimithanadikwa aelakhwamsmphnthnitangidphlpraoychnthngkhu ephraaphuxupthmphcaduaeldanchiwitkhwamepnxyuaelaechuxmtxxanacinkarekhathungphakhrthihkbphurbxupthmph inkhnathiphurbxupthmphcatxngtxbaethbbangprakar echn karichaerngnganih hrux karmxbsiththibangprakarih epntnxangxing aekikh rachbnthitysthan phcnanukrm chbbrachbnthitysthan ph s 2542 krungethph nanmibukhsphbliekhchn 2546 1 488 hna ISBN 974 9588 04 5 edoch swnannth phcnanukrmsphthkaremuxng krungethph hnatangsuolkkwang 2545 328 hna ISBN 974 547 045 7 Kurian George Thomas 2011 The encyclopedia of political science Washington CQ Press ecms si skxtt 2539 karemuxnginrabbphuxupthmphkbphurbxupthmph aelakarepliynaeplngthangkaremuxnginexechiytawnxxkechiyngit in pricha khuwinthrphnthu phuaepl rabbxupthmph krungethph sankphimphaehngculalngkrnmhawithyaly kullda eksbuychu mid 2552 wiwthnakarrthxngkvs frngess inkraaesesrsthkicolk cakrabbfiwdlthungkarptiwti phimphkhrngthi 2 krungethph sankphimphfaediywkn smhying sunthrwngs 2532 rabbxupthmphkbkarkracayphlpraoychninkarphthnachnbth krnisuksahmubanchayfngthaelphakhtawnxxk withyaniphnthsngkhmsastrmhabnthit khnasngkhmwithyaaelamanusywithya mhawithyalythrrmsastr bthkhwamniyngepnokhrng khunsamarthchwywikiphiediyidodyephimkhxmulekhathungcak https th wikipedia org w index php title karxupthmph amp oldid 7624743, wikipedia, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด,

บทความ

, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม