fbpx
วิกิพีเดีย

รังสีวิทยา

รังสีวิทยา (อังกฤษ: Radiology)เป็นสาขาทางการแพทย์เฉพาะทางสาขาหนึ่งทีส่วนใหญ่จะเกี่ยวข้องกับการสร้างภาพในส่วนต่างๆของร่างกายเพื่อใช้ในการวินิจฉัยโรคโดยอาศัยเครื่องมือ พิเศษต่างๆในทางการแพทย์โดยเฉพาะการใช้ รังสีเอกซ์ (x-ray) รังสีแกมมา ( Gamma ray)จากสารกัมมันตภาพรังสีคลื่นเสียง คลื่นเสียงความถี่สูง (ultrasound)คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า (Nuclear Magnetic Resonance Imaging )เป็นต้น และ/หรือใช้ในการรักษาก็ได้

Dr. Macintyre's X-Ray Film (1896)

แพทย์เฉพาะทางที่อยู่ในสาขานี้เรามักเรียกกันว่า รังสีแพทย์ โดยทั่วไปบุคคลใดที่ต้องการจะเป็นรังสีแพทย์ต้องเรียนจบได้รับ ปริญญาแพทย์ศาสตร์บัณฑิต ตามกฎของแพทย์สภาเสียก่อนจึงจะสามารถมาขอสมัครเข้ารับการศึกษาต่อในสาขาวิชานี้ได้ โดยใช้เวลาศึกษาต่ออีก 3 ปี ในกรณีที่เป็นแพทย์ประจำบ้านหรือที่เรามักเรียกกันว่า residency training และสามารถศึกษาต่อยอดเป็นอนุสาขาหรือที่เรียกว่า fellowship training ได้อีก 1-2 ปี แล้วแต่กรณี

ประวัติเริ่มต้น

ผู้ที่ค้นพบเอ็กซเรย์เป็นคนแรก คือ นักฟิสิกซ์ชาวเยอรมัน ชื่อ วิลเฮม คอนราด เรินท์เก้น (Wilhelm Conrad Roentgen) การพบนี้เกิดขึ้นในตอนเย็น ของวันที่ 8 พฤศจิกายน ค.ศ.1895 เรินต์เกนพบว่า รังสีเอกซ์นี้สามารถฉายทะลุวัตถุทึบแสง เช่น ร่างกายมนุษย์ได้ เขาจึงลองเอารังสีเอกซ์มาใช้ประโยชน์ทางการแพทย์ โดยฉายรังสีเอกซ์ผ่านมือคน เนื้อ เอ็น และกระดูกในมือคน ก็จะกั้นเอารังสีไว้ บางส่วนปล่อยให้ผ่านไปบางส่วน ส่วนเนื้อและเอ็นกั้นรังสีได้น้อยก็มีรังสีผ่านออกมามาก กระดูกกั้นรังสีได้มาก ก็มีรังสีเหลือผ่านออกมาน้อย รังสีทั้งหมดที่ผ่านมือออกมาจึงมีความเข้มต่อพื้นที่ไม่เท่ากัน ทำให้เกิดเป็นรูปแบบ (pattern) ของความเข้มของรังสีในรูปมือขึ้น เมื่อเอารังสีที่มีรูปแบบแล้วนี้ไปกระทบวัสดุที่ไวต่อแสง เช่น ฟิล์มถ่ายรูปหรือกระดาษอัดรูป (photographic material)แล้วนำไปล้างด้วยน้ำยาล้างรูป ก็จะเกิดภาพของมือที่มีกระดูกซ้อนอยู่ในเนื้อด้วย แพทย์จึงสามารถบอกได้ว่ากระดูกข้างในมือนั้นหักหรือไม่ โดยจำเป็นต้องผ่าเอาเนื้อที่หุ้มกระดูกออกมาดู


หลักสูตรแพทย์ประจำบ้านรังสีวิทยา

รังสีวิทยาทั่วไป (General Radiology)

แพทย์ประจำบ้านรังสีวิทยาทั่วไปต้องเรียนทั้งรังสีวินิจฉัย (Diagnostic Radiology) ซึ่งเกี่ยวข้องกับการใช้รังสีเอกซ์ (x-ray)หรือคลื่นเสียงความถี่สูง(ultrasound) หรือคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า(Magnetic Resonance Imaging )ในการสร้างภาพกายวิภาค แล้วนำภาพมาแปรผลเพื่อการวินิจฉัยโรค รังสีรักษา ( Therapeutic Radiology – Radiation Oncology) เป็นการใช้พลังงานทางรังสี ในรูปแบบต่างๆ เช่น electron beam, gamma ray เป็นต้น ในการรักษาโรค ซึ่งส่วนใหญ่เป็นโรคมะเร็ง เวชศาสตร์นิวเคลียร์ (Nuclear Medicine) เป็นวิชาที่เกี่ยวข้องกับการใช้สารกัมมันตภาพ รังสี ในการตรวจวินิจฉัยเพื่อตรวจดูการทำงานของอวัยวะต่างๆ รวมทั้งการรักษาโรค

รังสีวินิจฉัย (Diagnostic Radiology)

แพทย์ประจำบ้านรังสีวิทยาวินิจฉัยต้องเรียนเน้นไปในเรื่องรังสีวินิจฉัยอย่างเดียว เนื่องจากในปัจจุบันนี้ ความก้าวหน้าของเครื่องมือทางรังสีวิทยาเพื่อการวินิจฉัยโรคทั้ง Computed Tomography และ Magnetic Resonance Imagingได้พัฒนาไปอย่างมากจึงทำให้การศึกษาในด้านนี้ซับซ้อนกว่าเดิม

รังสีรักษาและมะเร็งวิทยา (Radiotherapy and Oncology)

แพทย์ประจำบ้านรังสีรักษาต้องเรียนเน้นในวิทยาการทางด้านการรักษาโรคมะเร็ง โดยวิธีการทางรังสี

เวชศาสตร์นิวเคลียร์ (Nuclear Medicine)

แพทย์ประจำบ้านเวชศาสตร์นิวเคลียร์ต้องเรียนเน้นในเรื่องวิทยการทางด้านเวชศาสตร์นิวเคลียร์

หลักสูตรแพทย์ต่อยอดรังสีวิทยา อนุสาขา

รังสีแพทย์หลังจากจบการศึกษาแพทย์ประจำบ้านแล้วสามารถต่อยอดอนุสาขา (fellowship training ) ได้อีก 4 อนุสาขาในปัจจุบันคือ

  1. อนุสาขาภาพวินิจฉัยชั้นสูง ( Advanced Diagnostic Body Imaging)
  2. อนุสาขาภาพวินิจฉัยระบบประสาท(Diagnostic Neuroimaging)
  3. อนุสาขารังสีร่วมรักษาของลำตัว (Body Interventional Radiology)
  4. อนุสาขารังสีร่วมรักษาระบบประสาท ( Interventional Neuroradiology)

รังสีวินิจฉัย (Diagnostic Radiology)

ในอดีตการตรวจผู้ป่วยทางรังสีวิทยา จะเป็นการใช้ x-ray เป็นหลัก ได้แก่เครื่องเอกซเรย์ทั่วไป (general x-ray) เครื่องฟลูโอโรสโคปี (fluoroscopy)สำหรับการตรวจพิเศษ เช่น การกลืนแป้ง เครื่องเอกซเรย์หลอดเลือด (digital subtraction angiography) สำหรับการตรวจหลอดเลือดโดยตรง และมีเครื่องมือที่ไม่มีรังสีแต่ถูกนำมาใช้ตรวจผู้ป่วยในวิชารังสีวิทยา คือ เครื่องคลี่นเสียงความถี่สูง (ultrasound) เครื่องตรวจด้วยคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า ( MRI หรือ Magnetic Resonance Imaging ) เป็นต้น การพัฒนาเครื่องมือเหล่านี้ทำให้มีการตรวจวินิจฉัยโรคมีประสิทธิภาพมากขึ้น เช่น spiral or helical computed tomography เป็น CT ที่มีความเร็วสูงมีการตรวจและสร้างภาพได้อย่างรวดเร็ว จนสามารถสร้างภาพเส้นเลือดแดง(arterial phase)ในส่วนต่างๆของร่างกาย (CT angiography ) แม้กระทั่งหัวใจที่เต้นอยู่ตลอดเวลาก็สามารถตรวจและสร้างภาพออกมาได้ (CT coronary artery ) เครื่องมืออีกอย่างหนึ่งที่ไม่ได้ใช้ x-ray แต่ถูกนำมาใช้ตรวจกันมากในทางรังสีคือ MRI ซึ่งใช้ high magnetic field และ radio waveในการทำให้เกิดภาพภายในร่างกายเพื่อให้การวินิจฉัยโรคได้

รังสีร่วมรักษา (Interventional Radiology)

Interventional radiology หรือ รังสีร่วมรักษา ในบัญญัติภาษาไทย เป็นการทำหัตถการโดยรังสีแพทย์เป็นส่วนใหญ่(มีแพทย์บางสาขาที่พยายาม เรียนรู้และนำไปปฏิบัติ ) โดยมักใช้เครื่องเอกซเรย์ fluoroscopy, เครื่อง CT,หรือ ultrasound เป็นเครื่องชี้นำทางในการสอด ใส่เครื่องมือต่างๆ เช่น ลวดนำสายสวนหรือเข็มเป็นต้น หัตถการในยุคแรกๆคือการสอดสายสวนเพื่อตรวจดูพยาธิสภาพของเส้นเลือดที่เรียกว่า Angiography ต่อมาได้พัฒนา ให้มีการใส่สารอุดหลอดเลือดที่มีพยาธิสภาพเรียกว่า Embolization มีการขยายหลอดเลือด ที่เรียกว่า Angioplasty โดยใช้สายสวนที่มีบัลลูนที่ตรงปลาย (balloon catheter ) การใส่ลวดถ่างขยายหลอดเลือดที่ตีบ(stent) การตัดชิ้นเนื้อเพื่อนำไปตรวจหา พยาธิสภาพ(percutaneous biopsy) การใส่สายระบายเพื่อนำของเสียออกจากส่วนต่างๆของร่างกาย (percutaneous abscess drainage เป็นต้น รังสีแพทย์ที่ทำหัตถการเหล่านี้คือ Interventional radiologist สำหรับรายละเอียดของรังสีร่วมรักษา ภาคภาษาไทยหาอ่านได้ที่ www.thaivir.or.th และภาคภาษาอังกฤษสามารถหาอ่านได้ที่ www.sirweb.org

รังสีรักษาและมะเร็งวิทยาRadiotherapy and Oncology

วิชารังสีวิทยามีสาขาที่เกี่ยวข้องกับการใช้พลังงานรังสีชนิดต่างๆ รวมทั้งการใช้กัมมันตภาพรังสีในการรักษาโรคโดยเฉพาะโรคมะเร็งเราเรียกว่า รังสีรักษา และมะเร็งวิทยา( Radiation Oncology )และเรียกรังสีแพทย์กลุ่มนี้ว่า Radiotherapist หรือ Radiation oncologist ซึ่งรังสีแพทย์สาขานี้จะนำวิทยาการในด้านการฉายแสง โดยเครื่องที่ถูกสร้างขึ้นมาเป็นพิเศษ เช่นเครื่อง LINAC หรือ Linear Accelerator หรือเครื่อง Cobalt 60 นอกจากนี้ยังมีวิทยาการในการใช้การสารกัมมันตภาพรังสีสอดใส่เข้าไปในโพรงหรืออวัยวะภายในร่างกาย หรือการให้สารเคมีบำบัด (chemotherapy)เพื่อกำจัดเซลล์มะเร็งให้หมดไปจากร่างกายของผู้ป่วยสำหรับรายละเอียด ของรังสีรักษาท่านสามารถค้นคว้าได้ที่เว็บไซต์ของสมาคมฯ www.thastro.org

เวชศาสตร์นิวเคลียร์ ( Nuclear Medicine )

เวชศาสตร์นิวเคลียร์เป็นศาสตร์ที่แตกต่างจากรังสีวินิจฉัยและรังสีรักษาอย่างมากเพราะเป็นศาสตร์ที่เกี่ยวข้อกับการนำนิวเคลียร์เทคโนโลยี่มาใช้ประโยชน์ในการตรวจวินิจฉัยและรักษาโรคต่างๆ โดยให้สารกัมมันตภาพรังสีเข้าไปในร่างกายโดยการฉีดหรือรับประทานและต้องเตรียมเภสัชรังสีให้เหมาะสมกับการ ตรวจรักษาโรคแต่ละชนิดต้องมีการควบคุมคุณภาพและให้ปลอดเชื้อตลอดจนการคำนวณขนาดของรังสีที่จะให้แก่ผู้ป่วยแต่ละรายก่อนที่จะมีการฉีดหรือ ให้ผู้ป่วยรับประทานแล้วศึกษาการทำงานของอวัยวะและระบบต่างๆ ของร่างกายตลอดจนกลไกพยาธิสรีรวิทยาอย่างละเอียด โดยการถ่ายภาพทั้ง 2 มิติ และ 3 มิติ และยังใช้ในการตรวจโรคระบบโลหิตตลอดจนการตรวจเลือด ปัสสาวะฯลฯ เพื่อวัดระดับฮอร์โมน สารและยาต่างๆในร่างกาย จึงแตกต่าง จากการ วินิจฉัยโรคด้วยการเอกซเรย์อย่างสิ้นเชิง ในด้านการรักษาโรคนั้น สารกัมมันตรังสีที่ใช้เป็นชนิด unsealed source ซึ่งแตกต่างจากด้านรังสีรักษาที่ใช้ sealed source จะต้องมีมาตรการป้องกันอันตรายจากรังสีเป็นพิเศษสำหรับผู้ป่วยและผู้ปฏิบัติงาน ดังนั้นผู้ปฏิบัติงานด้านนี้จะต้องมีความรู้ความ สามารถและได้รับการฝึกอบรมด้านนี้โดยเฉพาะเพื่อการใช้สารกัมมันตรังสีทางการแพทย์ให้เกิดประโยชน์สูงสุดและมีความปลอดภัยการตรวจวินิจฉัย และรักษาโรคด้วยวิทยาการทางนิวเคลียร์และเทคโนโลยี่ที่เกี่ยวข้องมีความเจริญก้าวหน้าและขยายออกไปอย่างรวดเร็วและกว้างขวาง เนื่องจากการตรวจ วินิจฉัยโรคและการรักษาโรคทางด้านเวชศาสตร์นิวเคลียร์ไม่อาจทดแทนด้านการตรวจวินิจฉัยและการรักษาโรคโดยวิธีการอื่นเช่นการตรวจการทำงานของ อวัยวะ ต่างๆไม่ว่าจะเป็น หัวใจ ไต ต่อมธัยรอยด์ เป็นต้น หรือการตรวจดูการแพร่กระจายของมะเร็งไปที่อวัยวะต่างๆ อย่างมีประสิทธิภาพสูง ด้วยการตรวจด้วยสารกัมมันตภาพรังสีในเวชศาสตร์นิวเคลียร์ คือ SPECT( Single Photon Emission Tomography)และ PET (Positron Emission Tomography ) ตลอดจนการรักษาโรคต่างๆอย่างมีประสิทธิภาพสูง เช่นการรักษาโรคต่อมไทรอยด์เป็นพิษการรักษาโรคมะเร็งต่างๆ เช่น ต่อมธัยรอยด์ ต่อมหมวกไต ตับ เป็นต้น รวมทั้งโรคบางชนิดทางระบบโลหิตวิทยาในปัจจุบันนี้มีการนำภาพจากเครื่องเอกซเรย์คอมพิวเตอร์ (CT)และเครื่องตรวจด้วย คลื่น แม่เหล็กไฟฟ้า (MRI) มาควบคู่กับภาพ SPECT และ PET ซึ่งภาพจากเครื่องเอกซเรย์ คอมพิวเตอร์และเครื่องตรวจด้วย คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า จะแสดงข้อมูล ทาง กายวิภาคของอวัยวะสั้นๆแล้วนำภาพทั้ง2 ระบบมารวมกันกลายเป็นภาพ SPECT/CT ( Single Photon Emission Tomography/ Computed Tomography),PET/CT ( Positron Emission Tomography/Computed Tomography และ PET/MRI ( Positron Emission Tomography/Magnetic Resonance Imaging) ทำให้ได้ข้อมูลทั้งทางด้านสรีรวิทยา,ชีววิทยาโมเลกุล และกายวิภาคพร้อมในคราวเดียวกัน

อ้างอิง

ข้อมูลเพิ่มเติม

  • ราชวิทยาลัยรังสีแพย์แห่งประเทศไทยและรังสีวิทยาสมาคมแห่งประเทศไทย
  • [www.thaisnm.org ข้อมูลเพิ่มเติมเวชศาสตร์นิวเคลียร์]

งส, ทยา, งกฤษ, radiology, เป, นสาขาทางการแพทย, เฉพาะทางสาขาหน, งท, วนใหญ, จะเก, ยวข, องก, บการสร, างภาพในส, วนต, างๆของร, างกายเพ, อใช, ในการว, จฉ, ยโรคโดยอาศ, ยเคร, องม, เศษต, างๆในทางการแพทย, โดยเฉพาะการใช, งส, เอกซ, งส, แกมมา, gamma, จากสารก, มม, นตภาพร, งส. rngsiwithya xngkvs Radiology epnsakhathangkaraephthyechphaathangsakhahnungthiswnihycaekiywkhxngkbkarsrangphaphinswntangkhxngrangkayephuxichinkarwinicchyorkhodyxasyekhruxngmux phiesstanginthangkaraephthyodyechphaakarich rngsiexks x ray rngsiaekmma Gamma ray caksarkmmntphaphrngsikhlunesiyng khlunesiyngkhwamthisung ultrasound khlunaemehlkiffa Nuclear Magnetic Resonance Imaging epntn aela hruxichinkarrksakidelnmiediy Dr Macintyre s X Ray Film 1896 aephthyechphaathangthixyuinsakhanieramkeriykknwa rngsiaephthy odythwipbukhkhlidthitxngkarcaepnrngsiaephthytxngeriyncbidrb priyyaaephthysastrbnthit tamkdkhxngaephthysphaesiykxncungcasamarthmakhxsmkhrekharbkarsuksatxinsakhawichaniid odyichewlasuksatxxik 3 pi inkrnithiepnaephthypracabanhruxthieramkeriykknwa residency training aelasamarthsuksatxyxdepnxnusakhahruxthieriykwa fellowship training idxik 1 2 pi aelwaetkrni enuxha 1 prawtierimtn 2 hlksutraephthypracabanrngsiwithya 2 1 rngsiwithyathwip General Radiology 2 2 rngsiwinicchy Diagnostic Radiology 2 3 rngsirksaaelamaerngwithya Radiotherapy and Oncology 2 4 ewchsastrniwekhliyr Nuclear Medicine 3 hlksutraephthytxyxdrngsiwithya xnusakha 4 rngsiwinicchy Diagnostic Radiology 5 rngsirwmrksa Interventional Radiology 6 rngsirksaaelamaerngwithyaRadiotherapy and Oncology 7 ewchsastrniwekhliyr Nuclear Medicine 8 xangxing 9 khxmulephimetimprawtierimtn aekikhphuthikhnphbexkseryepnkhnaerk khux nkfisikschaweyxrmn chux wilehm khxnrad erinthekn Wilhelm Conrad Roentgen karphbniekidkhunintxneyn khxngwnthi 8 phvscikayn kh s 1895 erinteknphbwa rngsiexksnisamarthchaythaluwtthuthubaesng echn rangkaymnusyid ekhacunglxngexarngsiexksmaichpraoychnthangkaraephthy odychayrngsiexksphanmuxkhn enux exn aelakradukinmuxkhn kcaknexarngsiiw bangswnplxyihphanipbangswn swnenuxaelaexnknrngsiidnxykmirngsiphanxxkmamak kradukknrngsiidmak kmirngsiehluxphanxxkmanxy rngsithnghmdthiphanmuxxxkmacungmikhwamekhmtxphunthiimethakn thaihekidepnrupaebb pattern khxngkhwamekhmkhxngrngsiinrupmuxkhun emuxexarngsithimirupaebbaelwniipkrathbwsduthiiwtxaesng echn filmthayruphruxkradasxdrup photographic material aelwnaiplangdwynayalangrup kcaekidphaphkhxngmuxthimikraduksxnxyuinenuxdwy aephthycungsamarthbxkidwakradukkhanginmuxnnhkhruxim odycaepntxngphaexaenuxthihumkradukxxkmaduhlksutraephthypracabanrngsiwithya aekikhrngsiwithyathwip General Radiology aekikh aephthypracabanrngsiwithyathwiptxngeriynthngrngsiwinicchy Diagnostic Radiology sungekiywkhxngkbkarichrngsiexks x ray hruxkhlunesiyngkhwamthisung ultrasound hruxkhlunaemehlkiffa Magnetic Resonance Imaging inkarsrangphaphkaywiphakh aelwnaphaphmaaeprphlephuxkarwinicchyorkh rngsirksa Therapeutic Radiology Radiation Oncology epnkarichphlngnganthangrngsi inrupaebbtang echn electron beam gamma ray epntn inkarrksaorkh sungswnihyepnorkhmaerng ewchsastrniwekhliyr Nuclear Medicine epnwichathiekiywkhxngkbkarichsarkmmntphaph rngsi inkartrwcwinicchyephuxtrwcdukarthangankhxngxwywatang rwmthngkarrksaorkh rngsiwinicchy Diagnostic Radiology aekikh aephthypracabanrngsiwithyawinicchytxngeriynennipineruxngrngsiwinicchyxyangediyw enuxngcakinpccubnni khwamkawhnakhxngekhruxngmuxthangrngsiwithyaephuxkarwinicchyorkhthng Computed Tomography aela Magnetic Resonance Imagingidphthnaipxyangmakcungthaihkarsuksaindannisbsxnkwaedim rngsirksaaelamaerngwithya Radiotherapy and Oncology aekikh aephthypracabanrngsirksatxngeriynenninwithyakarthangdankarrksaorkhmaerng odywithikarthangrngsi ewchsastrniwekhliyr Nuclear Medicine aekikh aephthypracabanewchsastrniwekhliyrtxngeriynennineruxngwithykarthangdanewchsastrniwekhliyrhlksutraephthytxyxdrngsiwithya xnusakha aekikhrngsiaephthyhlngcakcbkarsuksaaephthypracabanaelwsamarthtxyxdxnusakha fellowship training idxik 4 xnusakhainpccubnkhux xnusakhaphaphwinicchychnsung Advanced Diagnostic Body Imaging xnusakhaphaphwinicchyrabbprasath Diagnostic Neuroimaging xnusakharngsirwmrksakhxnglatw Body Interventional Radiology xnusakharngsirwmrksarabbprasath Interventional Neuroradiology rngsiwinicchy Diagnostic Radiology aekikhinxditkartrwcphupwythangrngsiwithya caepnkarich x ray epnhlk idaekekhruxngexkserythwip general x ray ekhruxngfluoxorsokhpi fluoroscopy sahrbkartrwcphiess echn karklunaepng ekhruxngexkseryhlxdeluxd digital subtraction angiography sahrbkartrwchlxdeluxdodytrng aelamiekhruxngmuxthiimmirngsiaetthuknamaichtrwcphupwyinwicharngsiwithya khux ekhruxngkhlinesiyngkhwamthisung ultrasound ekhruxngtrwcdwykhlunaemehlkiffa MRI hrux Magnetic Resonance Imaging epntn karphthnaekhruxngmuxehlanithaihmikartrwcwinicchyorkhmiprasiththiphaphmakkhun echn spiral or helical computed tomography epn CT thimikhwamerwsungmikartrwcaelasrangphaphidxyangrwderw cnsamarthsrangphaphesneluxdaedng arterial phase inswntangkhxngrangkay CT angiography aemkrathnghwicthietnxyutlxdewlaksamarthtrwcaelasrangphaphxxkmaid CT coronary artery ekhruxngmuxxikxyanghnungthiimidich x ray aetthuknamaichtrwcknmakinthangrngsikhux MRI sungich high magnetic field aela radio waveinkarthaihekidphaphphayinrangkayephuxihkarwinicchyorkhidrngsirwmrksa Interventional Radiology aekikhInterventional radiology hrux rngsirwmrksa inbyytiphasaithy epnkarthahtthkarodyrngsiaephthyepnswnihy miaephthybangsakhathiphyayam eriynruaelanaipptibti odymkichekhruxngexksery fluoroscopy ekhruxng CT hrux ultrasound epnekhruxngchinathanginkarsxd isekhruxngmuxtang echn lwdnasayswnhruxekhmepntn htthkarinyukhaerkkhuxkarsxdsayswnephuxtrwcduphyathisphaphkhxngesneluxdthieriykwa Angiography txmaidphthna ihmikarissarxudhlxdeluxdthimiphyathisphapheriykwa Embolization mikarkhyayhlxdeluxd thieriykwa Angioplasty odyichsayswnthimibllunthitrngplay balloon catheter karislwdthangkhyayhlxdeluxdthitib stent kartdchinenuxephuxnaiptrwcha phyathisphaph percutaneous biopsy karissayrabayephuxnakhxngesiyxxkcakswntangkhxngrangkay percutaneous abscess drainage epntn rngsiaephthythithahtthkarehlanikhux Interventional radiologist sahrbraylaexiydkhxngrngsirwmrksa phakhphasaithyhaxanidthi www thaivir or th aelaphakhphasaxngkvssamarthhaxanidthi www sirweb orgrngsirksaaelamaerngwithyaRadiotherapy and Oncology aekikhwicharngsiwithyamisakhathiekiywkhxngkbkarichphlngnganrngsichnidtang rwmthngkarichkmmntphaphrngsiinkarrksaorkhodyechphaaorkhmaerngeraeriykwa rngsirksa aelamaerngwithya Radiation Oncology aelaeriykrngsiaephthyklumniwa Radiotherapist hrux Radiation oncologist sungrngsiaephthysakhanicanawithyakarindankarchayaesng odyekhruxngthithuksrangkhunmaepnphiess echnekhruxng LINAC hrux Linear Accelerator hruxekhruxng Cobalt 60 nxkcakniyngmiwithyakarinkarichkarsarkmmntphaphrngsisxdisekhaipinophrnghruxxwywaphayinrangkay hruxkarihsarekhmibabd chemotherapy ephuxkacdesllmaerngihhmdipcakrangkaykhxngphupwysahrbraylaexiyd khxngrngsirksathansamarthkhnkhwaidthiewbistkhxngsmakhm www thastro orgewchsastrniwekhliyr Nuclear Medicine aekikhewchsastrniwekhliyrepnsastrthiaetktangcakrngsiwinicchyaelarngsirksaxyangmakephraaepnsastrthiekiywkhxkbkarnaniwekhliyrethkhonolyimaichpraoychninkartrwcwinicchyaelarksaorkhtang odyihsarkmmntphaphrngsiekhaipinrangkayodykarchidhruxrbprathanaelatxngetriymephschrngsiihehmaasmkbkar trwcrksaorkhaetlachnidtxngmikarkhwbkhumkhunphaphaelaihplxdechuxtlxdcnkarkhanwnkhnadkhxngrngsithicaihaekphupwyaetlaraykxnthicamikarchidhrux ihphupwyrbprathanaelwsuksakarthangankhxngxwywaaelarabbtang khxngrangkaytlxdcnklikphyathisrirwithyaxyanglaexiyd odykarthayphaphthng 2 miti aela 3 miti aelayngichinkartrwcorkhrabbolhittlxdcnkartrwceluxd pssawal ephuxwdradbhxromn saraelayatanginrangkay cungaetktang cakkar winicchyorkhdwykarexkseryxyangsineching indankarrksaorkhnn sarkmmntrngsithiichepnchnid unsealed source sungaetktangcakdanrngsirksathiich sealed source catxngmimatrkarpxngknxntraycakrngsiepnphiesssahrbphupwyaelaphuptibtingan dngnnphuptibtingandannicatxngmikhwamrukhwam samarthaelaidrbkarfukxbrmdanniodyechphaaephuxkarichsarkmmntrngsithangkaraephthyihekidpraoychnsungsudaelamikhwamplxdphykartrwcwinicchy aelarksaorkhdwywithyakarthangniwekhliyraelaethkhonolyithiekiywkhxngmikhwamecriykawhnaaelakhyayxxkipxyangrwderwaelakwangkhwang enuxngcakkartrwc winicchyorkhaelakarrksaorkhthangdanewchsastrniwekhliyrimxacthdaethndankartrwcwinicchyaelakarrksaorkhodywithikarxunechnkartrwckarthangankhxng xwywa tangimwacaepn hwic it txmthyrxyd epntn hruxkartrwcdukaraephrkracaykhxngmaerngipthixwywatang xyangmiprasiththiphaphsung dwykartrwcdwysarkmmntphaphrngsiinewchsastrniwekhliyr khux SPECT Single Photon Emission Tomography aela PET Positron Emission Tomography tlxdcnkarrksaorkhtangxyangmiprasiththiphaphsung echnkarrksaorkhtxmithrxydepnphiskarrksaorkhmaerngtang echn txmthyrxyd txmhmwkit tb epntn rwmthngorkhbangchnidthangrabbolhitwithyainpccubnnimikarnaphaphcakekhruxngexkserykhxmphiwetxr CT aelaekhruxngtrwcdwy khlun aemehlkiffa MRI makhwbkhukbphaph SPECT aela PET sungphaphcakekhruxngexksery khxmphiwetxraelaekhruxngtrwcdwy khlunaemehlkiffa caaesdngkhxmul thang kaywiphakhkhxngxwywasnaelwnaphaphthng2 rabbmarwmknklayepnphaph SPECT CT Single Photon Emission Tomography Computed Tomography PET CT Positron Emission Tomography Computed Tomography aela PET MRI Positron Emission Tomography Magnetic Resonance Imaging thaihidkhxmulthngthangdansrirwithya chiwwithyaomelkul aelakaywiphakhphrxminkhrawediywknxangxing aekikhkhxmulephimetim aekikhrachwithyalyrngsiaephyaehngpraethsithyaelarngsiwithyasmakhmaehngpraethsithy www thaisnm org khxmulephimetimewchsastrniwekhliyr bthkhwamekiywkbaephthysastrniyngepnokhrng khunsamarthchwywikiphiediyidodyephimkhxmul duephimthi sthaniyxy aephthysastrekhathungcak https th wikipedia org w index php title rngsiwithya amp oldid 8231666, wikipedia, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด,

บทความ

, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม