fbpx
วิกิพีเดีย

ปฏิกิริยารีดอกซ์


ปฏิกิริยารีดอกซ์เป็นปฏิกิริยาเกี่ยวกับการรับส่งอิเล็กตรอน แบ่งได้เป็น 2 ครึ่งปฏิกิริยาคือปฏิกิริยาออกซิเดชัน เป็นปฏิกิริยาที่เสียอิเล็กตรอน และปฏิกิริยารีดักชัน เป็นปฏิกิริยาที่รับอิเล็กตรอน

ปฏิกิริยารีดอกซ์


รีดักชัน
ตัวออกซิเดนต์ + e- ⟶ ผลิตภัณฑ์
(ได้รับอิเล็กตรอน; จำนวนออกซิเดชันลดลง)

ออกซิเดชัน
ตัวรีดักชัน ⟶ ผลิตภัณฑ์ + e-
(สูญเสียอิเล็กตรอน; จำนวนออกซิเดชันเพิ่มขึ้น)

ปฏิกิริยารีดอกซ์แบ่งได้เป็น 2 ส่วนคือปฏิกิริยารีดักชัน (reduction) และปฏิกิริยาออกซิเดชัน (oxidation)

ปฏิกิริยารีดอกซ์ของสารอินทรีย์ในสิ่งมีชีวิต

ไม่ต่างจากสารอนินทรีย์ เพียงแต่ปฏิกิริยาออกซิเดชั่นในสิ่งมีชีวิตจะเกี่ยวข้องกับปฏิกิริยาดีไฮโดรจีเนชั่น (dehydrogenation reaction) โดยสารอินทรีย์ที่เป็นตัวให้อิเล็กตรอน (reduced form) จะมีไฮโดรเจนมากกว่าออกซิเจน ส่วนสารอินทรีย์ที่เป็นตัวรับอิเล็กตรอน (oxidized form) จะมีออกซิเจนมากกว่าไฮโดรเจน ทั้งนี้การเคลื่อนย้ายอิเล็กตรอนจากสารประกอบหนึ่งไปยังสารประกอบหนึ่ง เกิดได้ 4 แบบ คือ

  • เคลื่อนย้ายในรูปอิเล็กตรอนโดยตรง
  • เคลื่อนย้ายในรูปอะตอมไฮโดรเจน เพราะอะตอมไฮโดรเจนประกอบด้วย H+ และ e-
  • เคลื่อนย้ายในรูปไฮไดรด์ ไอออน (hydride ion, :H-) ซึ่งมีอิเล็กตรอน 2 ตัว
  • เคลื่อนย้ายในรูปของออกซิเจน ในกรณีที่ออกซิเจนรวมอยู่เป็นส่วนหนึ่งของสารอินทรีย์ เช่นการเปลี่ยนไฮโดรคาร์บอนเป็นแอลกอฮอล์

ปฏ, ยาร, ดอกซ, บทความน, ไม, การอ, างอ, งจากแหล, งท, มาใดกร, ณาช, วยปร, บปร, งบทความน, โดยเพ, มการอ, างอ, งแหล, งท, มาท, าเช, อถ, เน, อความท, ไม, แหล, งท, มาอาจถ, กค, ดค, านหร, อลบออก, เร, ยนร, าจะนำสารแม, แบบน, ออกได, อย, างไรและเม, อไร, เป, นปฏ, ยาเก, ยวก, บก. bthkhwamniimmikarxangxingcakaehlngthimaidkrunachwyprbprungbthkhwamni odyephimkarxangxingaehlngthimathinaechuxthux enuxkhwamthiimmiaehlngthimaxacthukkhdkhanhruxlbxxk eriynruwacanasaraemaebbnixxkidxyangiraelaemuxir ptikiriyaridxksepnptikiriyaekiywkbkarrbsngxielktrxn aebngidepn 2 khrungptikiriyakhuxptikiriyaxxksiedchn epnptikiriyathiesiyxielktrxn aelaptikiriyaridkchn epnptikiriyathirbxielktrxnptikiriyaridxks ridkchn twxxksiednt e phlitphnth idrbxielktrxn canwnxxksiedchnldlng xxksiedchn twridkchn phlitphnth e suyesiyxielktrxn canwnxxksiedchnephimkhun ptikiriyaridxksaebngidepn 2 swnkhuxptikiriyaridkchn reduction aelaptikiriyaxxksiedchn oxidation ptikiriyaridxkskhxngsarxinthriyinsingmichiwit aekikhimtangcaksarxninthriy ephiyngaetptikiriyaxxksiedchninsingmichiwitcaekiywkhxngkbptikiriyadiihodrcienchn dehydrogenation reaction odysarxinthriythiepntwihxielktrxn reduced form camiihodrecnmakkwaxxksiecn swnsarxinthriythiepntwrbxielktrxn oxidized form camixxksiecnmakkwaihodrecn thngnikarekhluxnyayxielktrxncaksarprakxbhnungipyngsarprakxbhnung ekidid 4 aebb khux ekhluxnyayinrupxielktrxnodytrng ekhluxnyayinrupxatxmihodrecn ephraaxatxmihodrecnprakxbdwy H aela e ekhluxnyayinrupihidrd ixxxn hydride ion H sungmixielktrxn 2 tw ekhluxnyayinrupkhxngxxksiecn inkrnithixxksiecnrwmxyuepnswnhnungkhxngsarxinthriy echnkarepliynihodrkharbxnepnaexlkxhxl ekhathungcak https th wikipedia org w index php title ptikiriyaridxks amp oldid 9746555, wikipedia, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด,

บทความ

, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม