fbpx
วิกิพีเดีย

ลัทธิมากซ์

ลัทธิมากซ์ (อังกฤษ: Marxism) หรือมักใช้ทับศัพท์ว่า มาร์กซิสต์ เป็นวิธีการวิเคราะห์สังคมและเศรษฐกิจซึ่งวิพากษ์ทุนนิยมผ่านกระบวนทัศน์การขูดรีด วิเคราะห์ความสัมพันธ์ระหว่างชนชั้นและความขัดแย้งทางสังคมโดยใช้การตีความพัฒนาการประวัติศาสตร์แบบวัสดุนิยม และทัศนะวิภาษวิธีการแปลงสังคม (social transformation) ถือกำเนิดจากนักปรัชญาชาวเยอรมันสมัยคริสต์ศตวรรษที่ 19 คาร์ล มากซ์และฟรีดริช เองเงิลส์

ลัทธิมากซ์ใช้วิธีวิทยาที่เรียกวัตถุนิยมประวัติศาสตร์เพื่อวิเคราะห์และวิพากษ์การพัฒนาของทุนนิยมและบทบาทของการต่อสู้ระหว่างชนชั้นในการเปลี่ยนแปลงเศรษฐกิจทั้งระบบ

ตามทฤษฎีลัทธิมากซ์ ความขัดแย้งระหว่างชนชั้นเกิดในสังคมทุนนิยมอันเนื่องจากความขัดกันระหว่างผลประโยชน์ทางวัตถุของชนกรรมาชีพที่ถูกกดขี่ ชนกรรมาชีพคือผู้ใช้แรงงานเอาค่าจ้างที่ชนชั้นกระฎุมพีว่าจ้างเพื่อผลิตสินค้าและบริการ ซึ่งชนชั้นกระฎุมพีนี้เป็นชนชั้นปกครองที่เป็นเจ้าของปัจจัยการผลิตและเอาความมั่งคั่งมาจากการจัดสรรผลิตภัณฑ์ส่วนเกิน (กำไร) ที่ชนกรรมาชีพผลิตขึ้น

การต่อสู้ระหว่างชนชั้นนี้ซึ่งมักแสดงออกมาเป็นการกบฏของกำลังการผลิตของสังคม (productive force) ต่อความสัมพันธ์การผลิต (relation of production) ของสังคม ส่งผลให้เกิดวิกฤติระยะสั้นเมื่อชนชั้นกระฎุมพีประสบความลำบากในการจัดการความแปลกแยกของแรงงาน (alienation of labor) ที่ทวีความรุนแรงขึ้นของชนกรรมาชีพ แม้ว่ามีความสำนึกเรื่องชนชั้น (class consciousness) ระดับมากน้อย วิกฤตนี้ลงเอยด้วยการปฏิวัติของชนกรรมาชีพและการสถาปนาสังคมนิยมในที่สุด ซึ่งเป็นระบบทางสังคมและเศรษฐกิจที่ยึดสังคมเป็นเจ้าของปัจจัยการผลิต กระจายให้แต่ละคนตามการมีส่วนร่วมและการผลิตที่จัดระเบียบโดยตรงสำหรับการใช้ เมื่อกำลังการผลิตก้าวหน้าขึ้น มากซ์ตั้งสมมติฐานว่าสังคมนิยมสุดท้ายจะแปลงเป็นสังคมคอมมิวนิสต์ หมายถึง สังคมไร้ชนชั้น ไร้รัฐ และมีมนุษยธรรมที่ยึดกรรมสิทธิ์ร่วมและหลักการพื้นเดิม "จากแต่ละคนตามความสามารถ ให้แต่ละคนตามความต้องการ" (From each according to his ability, to each according to his needs)

ลัทธิมากซ์พัฒนาเป็นหลายแขนงและสำนักคิด แม้ปัจจุบันไม่มีทฤษฎีลัทธิมากซ์หนึ่งเดียว สำนักลัทธิมากซ์ต่าง ๆ เน้นแง่มุมบางอย่างของลัทธิมากซ์คลาสสิกต่างกัน และปฏิเสธหรือดัดแปลงแง่มุมบางอย่าง หลายสำนักคิดมุ่งรวมมโนทัศน์ลัทธิมากซ์กับมโนทัศน์ที่มิใช่มากซ์ ซึ่งมักนำไปสู่บทสรุปที่ขัดแย้งกัน ทว่า สมัยหลังมีขบวนการสู่การรับรองวัสดุนิยมทางประวัติศาสตร์และวัสดุนิยมวิภาษวิธียังเป็นแง่มุมหลักของสำนักคิดลัทธิมากซ์ทุกสำนัก ซึ่งทำให้มีความเห็นตรงกันระหว่างสำนักต่าง ๆ มากขึ้น

จุดกำเนิดของลัทธิมากซ์

คาร์ล มากซ์ เป็นนักปรัชญาเศรษฐศาสตร์สายสังคมนิยมและนักปรัชญาจิตนิยมแบบเยอรมันสายเฮเกิล ซึ่งสำนักคิดทั้ง 2 ตระกูลที่มีอิทธิพลทางความคิดต่อมากซ์นั้นมีรายละเอียดโดยสรุป ดังนี้

  • เศรษฐศาสตร์สายสังคมนิยมนั้นเกิดขึ้นจากการวิพากษ์ต่อระบอบทุนนิยมที่เป็นผลจากการปฏิวัติอุตสาหกรรมในยุโรป (the industrial revolution) ในช่วง ศตวรรษที่ 18 – 19 ที่ก่อให้เกิดความไม่เท่าเทียม และช่องว่างมหาศาลระหว่างคนรวย และคนจน ความนี้ถูกนำเสนอ ค.ศ. 1832 โดยนักคิดชาวฝรั่งเศสคือ ปีแยร์ เลอรู และ มารี แรโบ ความคิดดังกล่าวมีอิทธิพลอย่างสูงในอังกฤษ ซึ่งในเวลานั้นคือประเทศอุตสาหกรรมอันดับหนึ่งของยุโรป โดยผู้ที่นำความคิดสังคมนิยมมาเผยแพร่ในอังกฤษคือโรเบิร์ต โอเวน ใน ค.ศ. 1827
  • ปรัชญาจิตนิยมเยอรมันสายเฮเกิลเป็นหลักปรัชญาของเกออร์ค เฮเกิล ที่กล่าวว่าอำนาจจิตของมนุษย์คือสิ่งที่สร้างประวัติศาสตร์ เพราะประวัติศาสตร์ของมนุษย์เกิดเพราะความขัดแย้งของจิตที่อยู่ภายใน ไม่ใช่ธรรมชาติภายนอก จิตจะมีผลต่อการกระทำ โดยการกระทำนั้น ๆ เกิดขึ้นตามหลักการทางตรรกศาสตร์ ดังนั้นโลกจึงก้าวไปข้างหน้าด้วยการกระทำอันมีผลมาจากจิตหรือความคิด ความขัดแย้งใด ๆ จึงเป็นความขัดแย้งในเรื่องของความคิด ทุก ๆ ความขัดแย้งส่งผลให้เกิดความก้าวหน้า ทั้งเชิงคุณภาพและเหตุผล ประวัติศาสตร์ทั้งหมดจึงคือประวัติศาสตร์ของความคิด และพลังที่ผลักดันประวัติศาสตร์คือเหตุผล แต่อารมณ์ที่ดูไร้เหตุผลก็มีอิทธิพลต่อการใช้เหตุผลของมนุษย์ เพียงแต่มนุษย์ก็จะไม่สามารถใช้อารมณ์ตัดสินทุกสิ่งเพราะเหตุผลคอยควบคุมอารมณ์เอาไว้ ความคิดดังกล่าวนี้เฮเกิลเรียกว่า วิภาษวิธี

การวิพากษ์ทุนนิยมของมากซ์

 
ภาพเขียนใน ค.ศ. 1911 สะท้อนการวิพากษ์ทุนนิยมของมากซ์ โดยแสดงให้เห็นว่าชนชั้นปกครองมีจำนวนน้อยทว่ากดขี่ขูดรีดชนชั้นล่างลงมาซึ่งมีจำนวนมากกว่า

อิทธิพลทางความคิดทั้ง 2 ส่วนแสดงให้เห็นใน ค.ศ. 1884 ผ่านหนังสือของมากซ์ชื่อ "เอกสารต้นฉบับทางเศรษฐศาสตร์ และปรัชญา (Economics and Philosophical Manuscript 1884)" ซึ่งมากซ์กล่าวถึงความทุกข์ทน 4 ชนิดของแรงงานต่างด้าว (four alienated labor suffocations) ที่เกิดขึ้นในยุคทุนนิยมอันได้แก่

  • ความทุกข์ทนจากผลิตผล (product) ที่ผู้ผลิตไม่ได้ใช้ผลผลิต
  • ความทุกข์ทนจากกระบวนการการผลิตที่ต้องทุกข์ทนทำงานหามรุ่งหามค่ำ (a torment productive activity)
  • ความทุกข์ทนจากสภาวะของการผลิตที่ไม่ได้พัฒนาความเป็นมนุษย์ให้กับผู้ผลิต (humans produce blindly and not in accordance with their truly human powers)
  • ความทุกข์ทนจากการที่ต้องผลิตเพื่อแลกเปลี่ยนมากกว่าเพื่อความพึงพอใจของมนุษย์ (the relation of exchange replaces the satisfaction of mutual need)

ซึ่งถือว่าเป็นการวิพากษ์ระบบคิดของสังคมทุนนิยมที่คิดแต่เรื่องของ กำไร – ขาดทุน, ค่าเช่า, การแลกเปลี่ยน, ค่าจ้าง ฯลฯ จากทฤษฎีดังกล่าวมากซ์จึงมองว่าในสังคมทุนนิยมนั้นแรงงานจึงเป็นผู้ถูกขูดรีด (the exploited) มูลค่าส่วนเกิน (surplus value) จากวิธีแห่งการผลิต (means of production) ให้ทำงานเกินความจำเป็น ในความคิดของมากซ์กระบวนการดังกล่าวนี้จะสร้างความกดดันให้กับโครงสร้างทางสังคม ทำให้เกิดชนชั้น (class) และนำไปสู่การปฏิวัติสังคมในที่สุด มากซ์มองว่าความคิดเป็นผลผลิตที่สะท้อนโดยตรงของวัตถุ ความคิดและวัตถุจึงสัมพันธ์กัน มากซ์มองว่าประวัติศาสตร์คือการต่อสู้ระหว่างชนชั้น (classes) ซึ่งหน้าที่ของนักประวัติศาสตร์คือ ค้นหากฎซึ่งคุมพฤติกรรมของสังคมมนุษย์ และกฎที่คุมพฤติกรรมในอนาคตด้วย สำหรับมุมมองของมากซ์ในเรื่องดังกล่าวจึงสามารสรุปคร่าว ๆ ได้ว่าคือ

  • รากฐานของประวัติศาสตร์คือการต่อสู้ระหว่างชนชั้น
  • เศรษฐกิจเป็นรากฐานของปรากฏการณ์ในสังคม

มากซ์ได้วิเคราะห์ไว้ในหนังสือชื่อ "ว่าด้วยทุน (Das Kapital)" ว่า รูปแบบการผลิตทุนนิยมบังคับให้กรรมกร (Labour) จำเป็นต้องขายแรงงานของตนเองในราคาถูกแก่นายทุน ดังนั้นกำไรของนายทุน แท้จริงแล้วเกิดจากการขูดรีดมูลค่าส่วนเกินจากค่าแรงของกรรมาชีพ เพื่อกำไร ชนชั้นนายทุนจึงต้องพัฒนาเครื่องมือและวิธีการการผลิตให้ก้าวหน้าขึ้นตลอดเวลา ต้องขยายตลาดสินค้า แหล่งวัตถุดิบและกิจการไปทั่วโลก การผลิตแบบทุนนิยมนี้ได้ทำให้เกิดความปั่นป่วนและวิกฤตทางเศรษฐกิจแบบวัฏจักร นั่นคือการผลิตล้นเกิน ท่ามกลางโลกที่อดอยากขาดแคลน เพื่อแก้ไขวิกฤตการผลิตล้นเกิน และรักษาราคาของผลผลิตให้สูงกว่าต้นทุน จึงต้องทำลายผลผลิตส่วนเกินออกจากตลาด พยายามขยายตลาดใหม่และใช้ตลาดเก่าให้เป็นประโยชน์ ซึ่งผลสุดท้ายก็จะนำไปสู่วิกฤตรอบด้านที่รุนแรงยิ่งขึ้น ทำให้ความขัดแย้งทางชนชั้นในสังคมรุนแรงขึ้นจนนำไปสู่การเปลี่ยนแปลงสังคมในที่สุด จากปรากฏการณ์ดังกล่าว มากซ์เห็นว่า สิทธิ เสรีภาพ และศักดิ์ศรีความเป็นมนุษย์ในสังคมทุนนิยมนั้นเป็นจริงเฉพาะกับผู้ที่มีทรัพย์สิน ไม่ใช่สำหรับกรรมาชีพและคนยากจน การที่มนุษย์ถูกทำให้ยอมรับว่ามีความรวยหรือความจนนั้นมากซ์เรียกว่าจิตสำนึกหลอกลวงและจอมปลอม (False Conciousness)

จิตสำนึกหลอกลวงและจอมปลอมกำหนดพฤติกรรมในสังคมมนุษย์ให้ถูกครอบงำโดยปัจจัยในการผลิต คือ ทุน, เครื่องมือ และที่ดิน ที่สำคัญคือ แรงงานเป็นตัวกำหนด และผลักดัน ซึ่งส่งผลให้เกิดชนชั้นทางสังคม มากซ์เรียกความคิดเหล่านี้ว่า "วัตถุนิยมประวัติศาสตร์" (historical materialism) โดยมีตรรกะดังนี้

  • ทุกสิ่งเป็นไปตามกฎของวิภาษวิธีของเฮเกิล ดังนั้น
  • ทุกสิ่งย่อมมีการสูญสลาย และย่อมมีสิ่งเกิดใหม่ ประวัติศาสตร์ของสังคมเป็นวิวัฒนาการของการต่อสู้ทางชนชั้น
  • การเปลี่ยนแปลงทางวัตถุ ในเชิงปริมาณ ย่อมก่อให้เกิดคุณภาพ ในทางวัตถุ คือ สภาวะ ในทางสังคม คือการปฏิวัติ
  • ทุกสิ่งที่เกิดขึ้นเป็นไปตามกฎ 3 ข้อ ข้างต้น
  • มนุษย์ที่สมบูรณ์ (ในสังคมคอมมิวนิสต์) คือผู้ที่มีจิตสำนึกต่อสังคม เพราะได้รับการพัฒนา และวิวัฒนาการทางความคิด และวัตถุมาอย่างยาวนาน

วิวัฒนาการของสังคมแนวลัทธิมากซ์

การที่มากซ์มองว่าในสังคมทุนนิยมนั้นแรงงานจึงเป็นผู้ถูกขูดรีดมูลค่าส่วนเกินวิธีแห่งการผลิตอันนำไปสู่การสร้างความกดดันให้กับโครงสร้างทางสังคม และนำไปสู่การปฏิวัติสังคมในที่สุดนั้น มากซ์ไม่ได้อธิบายไว้อย่างเป็นรูปธรรม ในส่วนนี้เองเงิลส์จึงอธิบายความคิดเครื่องวิวัฒนาการของสังคมในความคิดของมากซ์ว่า สังคมของมากซ์มีวิวัฒนาการด้วยกัน 6 ขั้น คือ

  • สังคมคอมมิวนิสต์โบราณ (primitive communism) เป็นสังคมโบราณของมนุษย์ที่มีลักษณะถ้อยทีถ้อยอาศัยกัน
  • สังคมทาส (slave society) เป็นวิวัฒนาการที่เกิดขึ้นพร้อม ๆ กับการที่มนุษย์เริ่มร่วมกันสร้างสังคมในลักษณะของเมือง
  • สังคมศักดินา (feudalism) เป็นวิวัฒนาการขั้นที่สามซึ่งมนุษย์เริ่มจัดการให้เกิดการปกครองที่เป็นระบบขึ้นโดยผู้ปกครองมักเป็นอภิสิทธิ์ชน (aristocracy) ในอีกด้านหนึ่งก็เกิดลักษณะทุนนิยมขึ้นบ้าง
  • สังคมทุนนิยม (capitalism) เป็นวิวัฒนการของสังคมที่ผู้ปกครองคือพวกผู้สะสมทุน (capitalists) ที่เป็นนายจ้างและเจ้าของกิจการ ที่มักเป็นชนชั้นกลาง (bourgeois)
  • สังคมสังคมนิยม (socialism) เป็นวิวัฒนาการที่เกิดจากการปฏิวัติทางสังคมของชนชั้นกรรมาชีพผู้ที่ถูกขูดรีด (proletariat) ให้กลายมาเป็นผู้ปกครองแบบ "เผด็จการโดยชนชั้นกรรมาชีพ" (diktatur des proletariats) และมีการพิจารณาวิธีแห่งการผลิตใหม่เพื่อเตรียมตัวเข้าสู่วิวัฒนาการขั้นสุดท้าย
  • สังคมคอมมิวนิสม์ (communism) เป็นวิวัฒนาการทางสังคมสูงสุดของมนุษย์ ที่สังคมสามารถกระจายรายได้อย่างเท่าเทียมกัน เป็นสังคมที่ไม่มีชนชั้น มนุษย์ทุกคนสามารถใช้ชีวิตตามใจปรารถนาโดยมีมีเพียงความรับผิดชอบต่อตนเอง และชุมชนโดยรวม

ลัทธิมากซ์ในปัจจุบัน

ทฤษฎีของลัทธิมากซ์ ได้รับการยึดถือ แปลความ และวิพากษ์วิจารณ์ จากบรรดานักวิชาการ นักการเมือง พรรคการเมือง รัฐบาล องค์กรต่าง ๆ ทั่วโลก รวมทั้งประชาชนจำนวนมาก และเรียกทฤษฎีสังคมนิยมของมากซ์ว่า ลัทธิมากซ์นับตั้งแต่ทฤษฎีนี้ ได้กำเนิดขึ้นตลอดมา ตราบจนถึงปัจจุบัน จนกล่าวได้ว่าเป็นทฤษฎีที่ได้รับการพูดถึงและอ้างอิงมากที่สุดทฤษฎีหนึ่ง ไม่ว่าจากฝ่ายที่เห็นด้วยหรือไม่เห็นด้วยก็ตาม

นับจากที่ได้กำเนิดขึ้นในกลางศตวรรษที่ 19 เป็นต้นมา ได้มีคนนำลัทธิมากซ์ไปใช้เป็นจำนวนมาก คนเหล่านี้ในปัจจุบันแบ่งได้เป็น 3 กลุ่มใหญ่ คือ

  • กลุ่มแรก คือ กลุ่มคนที่เชื่อมั่นในลัทธิมากซ์แบบดั้งเดิม และนำลัทธิมากซ์ ไปประยุกต์ใช้ โดยเน้นถึงความถูกต้องตรงตามทฤษฎีอย่างเคร่งครัด พวกนี้จะเรียกตนเองว่าเป็นนักลัทธิมากซ์ และกล่าวหากลุ่มที่สองว่าเป็นพวกลัทธิแก้
  • กลุ่มที่สอง คือ กลุ่มคนที่เห็นว่า ทฤษฎีบางส่วนของลัทธิมากซ์ ไม่ถูกต้องและไม่สอดคล้องกับสภาพการณ์ในปัจจุบันแล้ว แต่ทฤษฎีบางส่วนของลัทธิมากซ์ ยังคงถูกต้องและสามารถใช้ได้จึงนำเอาเฉพาะส่วนที่ยังใช้ได้ไปประยุกต์ใช้ตามมุมมองของกลุ่มตน โดยไม่ยึดถือทฤษฎีลัทธิมากซ์ดั้งเดิมอย่างเคร่งครัดเหมือนกลุ่มแรก แต่ยังเรียกกลุ่มตนว่าเป็นนักลัทธิมากซ์
  • กลุ่มที่สาม คือ กลุ่มคนที่ไม่ได้เชื่อถือในทฤษฎีลัทธิมากซ์ แต่นำเฉพาะแนวคิดหรือข้อเขียนบางส่วนที่ตรงกับแนวคิดของตน มาใช้อ้างอิงในการอธิบายปรากฏการณ์ทางสังคม ทางเศรษฐกิจ ทางการเมือง หรือทางอื่น ๆ เช่น ข้อเขียนของทอฟเลอร์ ซึ่งถือว่าเป็นนักอนาคตศาสตร์ที่มีชื่อเสียงของสหรัฐ

ตระกูลทางความคิดต่าง ๆ ของลัทธิมากซ์

1. ลัทธิมากซ์โบราณ (Orthodox Marxism หรือ Old School Marxism) ลัทธิมากซ์โบราณคือกลุ่มนักวิชาการที่ยึดถือทฤษฎีของมากซ์อย่างเคร่งครัด

2. ลัทธิมากซ์ในรัสเซีย : ลัทธิเลนิน (Leninism), ลัทธิสตาลิน (Stalinism) และลัทธิตรอตสกี (Trotskyism)

3. ลัทธิเหมา (Maoism)

4. มากซ์สายใหม่หรือนีโอมากซิสม์ (Neo-Marxism) มากซ์สายใหม่เป็นสกุลทางความคิดที่เกิดขึ้นในช่วงศตวรรษที่ 20 โดยยังยึดโยงทางความคิดเข้ากับความคิดของมากซ์ไว้ โดยเฉพาะในเรื่องที่ว่าสังคมและวัฒนธรรมมักจะมีความขัดแย้งและนำไปสู่การเปลี่ยนแปลงเสมอ ผลของการเปลี่ยนแปลงมักจะเป็นสภาวะใหม่ที่แตกต่างจากภาวะเดิม รวมถึงเชื่อว่าสังคมมนุษย์นั้นมีความไม่เท่าเทียมกัน อำนาจการชี้นำ และครอบงำสังคมยกอยู่ในมือกลุ่มคนส่วนน้อย

ในส่วนที่มากซ์สายใหม่มองต่างไปจากมากซ์โบราณ คือในเรื่องเครื่องมือหรือเงื่อนไขของการครอบงำ ดังนี้

  • ขณะที่มากซ์สายเดิมมองว่าเครื่องมือหรือเงื่อนไขดังกล่าวคืออำนาจทางเศรษฐกิจ ซึ่งเป็นลักษณะการครอบงำโดยตรง และการต่อสู้ทางชนชั้นก็ต่อสู้โดยตรงเช่นกัน ชนชั้นกรรมมาชีพที่ต่างมีสำนึกทางชนชั้นร่วมกัน โดยมีเป้าหมายสำคัญเพื่อต้องการปฏิวัติสังคมอย่างถอนรากถอนโคน เพื่อเปลี่ยนแปลงไปสู่สังคมที่ปราศจากชนชั้น สังคมแห่งความเท่าเทียมกัน หรือสังคมคอมมิวนิสต์
  • มากซ์สายใหม่จะมองว่าเครื่องมือ หรือเงื่อนไขของการครอบงำนั้น คืออุดมการณ์ทางการเมือง อุดมการณ์ทางเศรษฐกิจ วัฒนธรรมหรือความรู้ โดยมีลักษณะการครอบงำทางอ้อม และการต่อสู้ทางชนชั้นก็ต่อสู้โดยทางอ้อมเช่นกัน โดยเฉพาะอย่างยิ่งการสร้างพลังขับเคลื่อนผ่านกลุ่มตัวแทนสังคมต่าง ๆ กลุ่มประชาสังคม กลุ่มเครือข่าย โดยมีเป้าหมายพื้นฐานเพื่อการปฏิรูปสังคมสู่สังคมที่มีความยุติธรรม อย่างค่อยเป็นค่อยไป

มากซ์สายใหม่ยังแยกย่อยอีกเป็นหลายตระกูล แต่ก็มักเรียกขานแยกต่างหากกันไป อาทิ มากซ์สายใหม่ที่เน้นศึกษาวัฒนธรรมได้แก่นักปรัชญามากซ์สายใหม่ในมหาวิทยาลัยแฟรงก์เฟิร์ทในเยอรมนี ก็จะเรียกขานว่านักคิดสายแฟรงก์เฟิร์ท หรือนักปรัชญามากซ์สายใหม่ในมหาวิทยาลัยเบอร์มิงแฮมก็จะเรียกขานว่านักคิดสายเบอร์มิงแฮม เป็นต้น แต่อย่างไรเสียอิทธิพลความคิดของนักทฤษฎีมากซ์สายใหม่นั้นก็สามารถลากโยงไปถึงความคิดของนักการเมืองชาวอิตาลีที่ชื่อว่า อันโตนีโอ กรัมชี

5. ลัทธิมากซ์เชิงโครงสร้าง (the Structural Marxism) หลุยส์ อัลธูแซร์ นักปรัชญาชาวฝรั่งเศส ได้พัฒนาความคิดของมากซ์ และมากซ์สายใหม่ของกรัมชี่ผนวกเข้ากับทฤษฎีสังคมศาสตร์ตระกูลโครงสร้างนิยม โดยมองว่ารัฐนั้นเป็นข้ารับใช้ของระบอบทุนนิยม และชนชั้นนายทุน ชนชั้นนายทุนมีอำนาจสั่งการรัฐโดยตรง อำนาจรัฐกับอำนาจของทุนจึงเป็นสิ่งเดียวกัน จากกระบวนการดังกล่าวรัฐจึงทำหน้าที่ตอบสนองต่อทุน ในการโอบอุ้มช่วยเหลือนายทุนมากกว่าตอบสนอง และโอบอุ้มสังคม รัฐกระทำการดังกล่าวผ่านนโยบายสาธารณะ, กฎหมาย และระบบเศรษฐกิจให้เป็นไปตามที่นายทุนต้องการ

สำหรับอาลตูว์แซร์อุดมการณ์มีฐานะเป็นโครงสร้างส่วนบนที่มีบทบาทในการกำหนดให้เกิดความสัมพันธ์ระหว่างโครงสร้างกับโครงสร้างส่วนล่าง อุดมการณ์จึงเป็นสิ่งที่ทำให้ความสัมพันธ์ทางอำนาจระหว่างรัฐกับปัจเจกบุคคลสามารถดำรงอยู่ได้อย่างมีเอกภาพและต่อเนื่อง จนกลายเป็นเรื่องคุ้นชินเรื่องปกติธรรมดาไป

อาลตูว์แซร์มองว่าอุดมการณ์เป็นเครื่องมือในการสร้าง, สืบสาน และผลิตซ้ำให้กับสังคม อุดมการณ์จึงต้องถูกผลิตซ้ำผ่านการปลูกฝังบ่มเพาะให้กับสมาชิกในสังคม โดยการถูกฝึกฝนให้ยอมรับต่อกฎเกณฑ์ของระบบที่ดำรงอยู่ การผลิตซ้ำความสัมพันธ์ทางการผลิตนี้ถูกกระทำขึ้นอย่างมั่นคงโดยการใช้อำนาจรัฐผ่านกลไกหรือสถาบันซึ่งรวมกันเป็นรัฐ อุดมการณ์จึงเป็นเครื่องมือสำคัญของรัฐ โดยรัฐใช้อุดมการณ์เพื่อผลประโยชน์ดังกล่าวสิ่งที่อัลธูแซร์เรียกว่ากลไกของรัฐ (the state apparatus) โดย อาลตูว์แซร์แบ่งออกเป็นสองแบบ คือ

  • กลไกของรัฐที่มีลักษณะกดบังคับ (repressive state apparatus) ได้แก่ รัฐบาล ทหาร ตำรวจ ศาล คุก กลไกของรัฐในลักษณะแรกนี้ปฏิบัติการโดยการบังคับใช้ความรุนแรง
  • กลไกของรัฐในเชิงอุดมการณ์ (ideological state apparatus) ซึ่งได้แก่ ศาสนา โรงเรียน ครอบครัว ระบบกฎหมาย พรรคการเมือง สหภาพแรงงาน และเครือข่ายการสื่อสาร กลไกของรัฐแบบที่สองนี้ปฏิบัติการณ์ผ่านการสร้างอุดมการณ์ให้กับสมาชิกในสังคม

6. สำนักวัฒนธรรมศึกษาเบอร์มิงแฮม (The Birmingham School of The Cultural Studies)

นักทฤษฎีสำนักวัฒนธรรมร่วมสมัยพยายามที่จะข้ามพ้นวิธีคิดแบบเศรษฐกิจกำหนดวัฒนธรรมในฐานะที่วัฒนธรรมเป็นโครงสร้างส่วนบนแบบลัทธิมากซ์โบราณมาสู่ความเข้าใจวัฒนธรรมในฐานะที่เป็น "การกระทำ" (action) ที่เกี่ยวพันกับเศรษฐกิจและการเมือง ทั้งนี้โดยเอามนุษย์เป็นแกนกลางในการศึกษา (human agency) มากกว่าจะศึกษาเพียงแค่สภาวะที่กำหนดพฤติกรรมมนุษย์ (condition) กับผลที่ตามมาจากการถูกกำหนด (outcome) หรือกล่าวอีกอย่างหนึ่งก็คือนักทฤษฎีสำนักวัฒนธรรมร่วมสมัยพยายามเข้าใจการเกิดขึ้นของวัฒนธรรม (the making of culture) ในรายละเอียด มากกว่าศึกษาแค่ว่าอะไรเป็นตัวกำหนดวัฒนธรรมแต่เพียงเท่านั้น โดยสรุป นักคิดสำนักวัฒนธรรมร่วมสมัยพยายามที่จะหาส่วนผสมผสานระหว่างแนวคิดว่าวัฒนธรรมนั้นถูกกำหนดโดยพลังในระดับโครงสร้างต่าง ๆ อย่างสมบูรณ์ และวัฒนธรรมนั้นมีอิสระโดยตัวเอง ซึ่งการผสมผสานดังกล่าวนั้นสำนักวัฒนธรรมร่วมสมัยได้รับแรงบันดาลใจจากงานของกรัมชี่

งานเขียนของสำนักวัฒนธรรมร่วมสมัยศึกษานั้นเน้นการศึกษาชีวิตจริงของผู้คนในแง่มุมต่าง ๆ อาทิ เรื่องการศึกษา เรื่องวัฒนธรรมวัยรุ่น เรื่องสื่อมวลชน อาทิ โฆษณา และโทรทัศน์ ดังนั้น หัวใจสำคัญของการศึกษาของสำนักวัฒนธรรมร่วมสมัยนั้นจึงอยู่ที่การประกาศจุดยืนทางอุดมการณ์ของตัวเองอย่างชัดเจนในเบื้องแรกว่า ยึดถือและศรัทธาในงานของมากซ์ แต่ก็เสนอว่าที่ผ่านมานั้นยังไม่มีทฤษฎีในเรื่องของอุดมการณ์ที่เป็นที่พอใจและหนทางที่จะได้ทฤษฎีอุดมการณ์ที่น่าพอใจนั้นก็คือการผสมผสานการถกเถียงทางทฤษฎีเข้ากับการศึกษากรณีรูปธรรมต่าง ๆ โดยเฉพาะในการทำการค้นหา "ความสัมพันธ์ที่แท้จริง (real relations)" กับ "รูปแบบที่ปรากฏออกมา (phenomenal form)" ซึ่งในหลายกรณีนั้นรูปแบบที่ปรากฏออกมานั้นก็ทำให้เราลุ่มหลงอยู่กับมัน และเชื่อว่าสิ่งนั้นเป็นจริงแท้

สำนักวัฒนธรรมร่วมสมัยศึกษานั้นจึงเสนอว่า การศึกษาเรื่องอุดมการณ์นั้นเป็นส่วนสำคัญในการศึกษา "วัฒนธรรม" โดยเฉพาะในความสัมพันธ์ระหว่าง ความคิดต่าง ๆ สถาบันต่าง ๆ และบริบททางสังคม ทฤษฎีของสำนักวัฒนธรรมร่วมสมัยศึกษามีอิทธิพลในการศึกษาเรื่องของการสื่อสารและสื่อมวลชนกับมิติทางการเมืองโดยเฉพาะในอังกฤษในช่วงทศวรรษที่ 70 เป็นต้นมา โดยเฉพาะงานเขียนของสจวร์ต ฮอลล์ นักสังคมวิทยาชาวสหราชอาณาจักรที่มีอิทธิพลอย่างสูงอยู่ในวงวิชาการในศูนย์ศึกษาวัฒนธรรมร่วมสมัยที่มหาวิทยาลัย เบอร์มิงแฮม (Center of Contemporary Cultural Studies ; CCCS) หรือที่รู้จักกันในเวลาต่อมาว่า "ตระกูลนักคิดสายเบอร์มิงแฮม (the Birmingham school)" โดยฮอลล์ เสนอว่า คำว่าอุดมการณ์นั้นไม่เคยเป็นคำที่มีความเป็นกลางทางการเมือง และแม้จะมีการให้ความหมายว่า อุดมการณ์คือ "ชุดของความคิดที่มีความเป็นระบบ" แต่วิธีการอธิบายเช่นนี้ก็มีลักษณะที่เน้นการพรรณาความ มากกว่าการวิเคราะห์ ดังนั้น แม้ว่าคำว่าอุดมการณ์ทางการเมืองจะมีความเกี่ยวข้องกับคำว่า "ความคิด" แต่ในขณะเดียวกันความคิดนั้นไม่ใช่ตัวอุดมการณ์ทั้งหมด อุดมการณ์จึงมีการซ่อนแอบความหมายอยู่ด้วย และเป็นหน้าที่ของนักวัฒนธรรมร่วมสมัยศึกษาที่จะต้องค้นหาให้ได้ว่าอะไรคือรากฐานหรือธรรมชาติของการบังคับหรือเป็นที่มาของการที่บางสิ่งบางอย่างที่ไม่ใช่เรื่องของความคิดซึ่งเข้ามากำหนดส่วนที่เป็นความคิด

นักคิดสายเบอร์มิงแฮมใช้รากฐานทางทฤษฎีของฮอลล์มาใช้เชิงวิพากษ์วัฒนธรรมผ่านการวิเคราะห์ การตีความ การวิจารณ์นวัตกรรมทางวัฒนธรรม โดยรวมแล้วนักคิดสายเบอร์มิงแฮมมองว่าวัฒนธรรมเป็นรากฐานของการแปรรูปทางสังคม (social reformation) โดยสังคมมีความสัมพันธ์ทางสังคมที่เป็นลำดับชั้น และเป็นปฏิปักษ์ระหว่างกัน ทั้งในเรื่องชนชั้น ความเป็นเพศ เชื้อชาติ ชาติพันธุ์ และความเป็นชาติ นักคิดสายเบอร์มิงแฮมจึงมุ่งศึกษาความสัมพันธ์เชิงอำนาจของพลังที่ครอบงำ และการต่อต้านในกระบวนการเปลี่ยนแปลงทางการเมือง รวมถึงปฏิเสธ การจัดระบบแบบลำดับชั้นสูงต่ำ (hierarchical stratification) ของวัฒนธรรม นักคิดสายเบอร์มิงแฮมจะเชื่อว่าวัฒนธรรมนั้นต่างมีความสำคัญต่อกันในระดับระนาบ (horizontal) ผู้รับสื่อเป็นผู้กระทำ (active audience) เพราะเป็นผู้สร้างความหมายต่าง ๆ และยังผลิตซ้ำวัฒนธรรมดังกล่าวด้วย นักคิดสายเบอร์มิงแฮมจะพุ่งประเด็นศึกษาว่าผู้รับสื่อตีความและแปรความหมายวัฒนธรรมที่ได้รับจากสื่ออย่างไร รวมถึงวิเคราะห์ถึงปัจจัยที่ทำให้ผู้รับสารตอบสนองต่อสื่อแตกต่างกันไป

ในช่วงทศวรรษที่ 1970 นักคิดสายเบอร์มิงแฮมเริ่มให้ความสนใจกับวัฒนธรรมย่อยของกลุ่มวัยรุ่น เพื่อต่อต้านการครอบงำของระบบทุนนิยมในรูปแบบต่าง ๆ วัฒนธรรมวัยรุ่นจึงถูกมองในฐานะรูปแบบวัฒนธรรมใหม่ที่เป็นผลสัมพันธ์กับการเปลี่ยนแปลงทางสังคม ประเด็นเรื่องอัตลักษณ์, ความแตกต่างหลากหลาย, การครอบงำทางวัฒนธรรม ฯลฯ ผ่าน การแต่งกาย แฟชั่น พฤติกรรม และอุดมการณ์ทางการเมือง และที่สำคัญการเกิดขึ้นของ "วัฒนธรรมย่อย (sub culture)" ที่ต่อต้านรูปแบบวัฒนธรรมและอัตลักษณ์ที่ครอบงำนั้นเกิดขึ้น หรือสามารถถูกเข้าใจได้อย่างไร

7. สำนักคิดแฟรงก์เฟิร์ต (The Frankfürt School)

เป็นกลุ่มนักวิชาการในสถาบันวิจัยทางสังคมแห่งมหาวิทยาลัยแฟรงก์เฟิร์ต (Institution of Social Research, Johann Wolfgang von Goethe-University of Frankfurt) โดยการนำของมักซ์ ฮอคไฮม์เมอร์, ธีโอดอร์ อดอร์โน, , เฮอร์เบิร์ท มาคูเซอ และวอลเตอร์ เบนญามิน ที่เริ่มมีการศึกษาเชิงวิพากษ์ (critical theory) ในประเด็นทางวัฒนธรรมอาทิ เศรษฐศาสตร์การเมืองของสื่อ, การวิเคราะห์วัฒนธรรม, การวิเคราะห์การรับสารในทางอุดมการณ์ เป็นต้น นักวิชาการกลุ่มดังกล่าวนี้เป็นที่รู้จักในนามนักคิดสายแฟรงก์เฟิร์ท (The Frankfürt School) ซึ่งก็คือชื่อสถาบันที่นักวิชาการกลุ่มนี้สังกัดนั่นเอง

นักคิดสายแฟรงก์เฟิร์ทจะปฏิเสธทฤษฎีลัทธิมากซ์ในส่วนที่ให้ความสำคัญกับปัจจัยทางเศรษฐกิจ โดยวิพาก์ว่าให้ความสำคัญต่อส่วนนี้มากเกินไปจนละเลยมิติอื่นไปเสียหมด โดยเฉพาะอย่างยิ่งวัฒนธรรม นักคิดสายแฟรงก์เฟิร์ทจึงให้ความสำคัญกับมิติด้านวัฒนธรรม ความคิด จิตสำนึก และอุดมการณ์ ประเด็นที่นักคิดสายแฟรงก์เฟิร์ทให้ความสนใจคือการที่สื่อทำให้ "วัฒนธรรม" แปรสภาพมาเป็น "สินค้า" หรือในภาษาของนักคิดสายแฟรงก์เฟิร์ททำให้ทุกอย่างกลายเป็น "วัฒนธรรมสำหรับคนหมู่มาก (mass culture) กล่าวคือมีการผลิตวัฒนธรรมเพื่อกำไร ซึ่งนักคิดสายแฟรงก์เฟิร์ทเห็นว่าเป็นการทำลายคุณค่าทางวัฒนธรรม ดังนั้นสำหรับนักคิดสายแฟรงก์เฟิร์ทวัฒนธรรมจึงไม่มีวัฒนธรรมชั้นสูง (hi-culture) หรือวัฒนธรรมชั้นล่าง (lo-culture) คงมีแต่เพียงวัฒนธรรมสำหรับคนหมู่มากที่ต่างถูกผลิตมาเพื่อตอบสนองความต้องการขายวัฒนธรรมในฐานะของสินค้า ที่คุณค่านั้นได้ถูกทำลายลงไปแล้วทั้งหมดเท่านั้น

8. แนวคิดหลังลัทธิมากซ์ (Post-Marxism)

แนวคิดลัทธิมากซ์ แบบหลังโครงสร้างนิยม (Poststructuralist Marxism) หรือ ลัทธิมากซ์หลังสมัยใหม่ (Postmodern Marxism) หรือเรียกสั้น ๆ ว่าหลังลัทธิมากซ์ (Post-Marxism) เป็นแนวคิดที่วางฐานอยู่บนการวิพากษ์แนวคิดลัทธิมากซ์เชิงโครงสร้างของอาลตูว์แซร์ และใช้ฐานคิดบางส่วนจากแนวคิดของมีแชล ฟูโก ข้อแตกต่างสำคัญระหว่างแนวคิดหลังลัทธิมากซ์กับลัทธิมากซ์อื่น ๆ คือ แต่เดิมนั้นลัทธิมากซ์จะมองการต่อสู้ทางชนชั้นโดยวางฐานอยู่บนแนวคิดเศรษฐกิจเป็นสำคัญ แต่แนวคิดหลังลัทธิมากซ์จะปฏิเสธมุมมองดังกล่าว โดยให้เหตุผลว่าเป็นมุมมองที่มีความคับแคบ แนวคิดหลังลัทธิมากซ์จะมองว่าการกดขี่ทางชนชั้นนั้นสามารถกล่าวรวมไปถึงเรื่องเพศ ชาติพันธุ์วรรณา เชื้อชาติ ศาสนา ฯลฯ อย่างไรก็ดีก็มีการกล่าววิจารณ์ว่าแม้แนวคิดหลังมาร์ซิสม์จะพยายามกล่าวว่าตนเองนั้นหันหลังให้กับลัทธิมากซ์ก็ตาม อย่างไรก็ดีนักคิดตระกูลนี้เองก็ยังหลงใหลในแนวทางการวิเคราะห์สังคมและการเมืองแบบมากซ์อยู่อย่างมากเช่นกัน

ดูเพิ่ม

อ้างอิง

  1. ศัพท์บัญญัติ ราชบัณฑิตยสถาน พิมพ์คำว่า marxism
  2. Jonathan Woff, "Karl Marx," Stanford Encyclopedia of Philosophy (Aug 26, 2003; substantive revision Jan 28, 2008) http://plato.stanford.edu/entries/marx/
  3. พิสิษฐิกุล แก้วงาม. ทฤษฎีการเมืองกับการศึกษารัฐศาสตร์. มหาสารคาม : หลักสูตรสาขาวิชารัฐศาสตร์ วิทยาลัยกฎหมายและการปกครอง มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม, 2552. น. 61.
  4. อาร์. เอ็น. แครูว์ ฮันท์ (Robert Nigel Carew Hunt) (เขียน). วิเคราะห์ลัทธิคอมมิวนิสต์ (the Theory and Practice of Communism). ฉันทิมา อ่องสุรักษ์ (แปล), (กรุงเทพฯ : สนพ. มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 2526), น. 137 – 157.
  5. มากซ์ไม่เคยเรียกตัวเองว่าลัทธิมากซ์ แต่เรียกตัวเองว่านักสังคมนิยม ทว่านักวิชาการรุ่นหลังกลับยกให้มากซ์เป็นลัทธิมากซ์ ดู วีระ สมบูรณ์, "คำนำ," ใน สุรพงษ์ ชัยนาม. มาคซ์และสังคมนิยม. (กรุงเทพฯ : ศยาม, 2553) น. 4.
  6. สาคร สมเสริฐ, "นีโอมาคซิสต์ : สำหรับผู้เริ่มต้น," (3 ธันวาคม 2548) http://www.midnightuniv.org/midnight2545/document95223.html/
  7. พิชญ์ พงษ์สวัสดิ์, "อุดมการณ์กับการเมือง: องค์ประกอบและการทำงาน (ตอนที่สอง) ," (เอกสารประกอบการเรียนการสอนวิชา อุดมการณ์การเมืองประเทศกำลังพัฒนา ภาควิชาการปกครอง คณะรัฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ภาคปลาย ปีการศึกษา 2547).
  8. พิชญ์ พงษ์สวัสดิ์, "อุดมการณ์ การเมือง และวัฒนธรรม (3): สำนักวัฒนธรรมร่วมสมัย," (เอกสารประกอบการเรียนการสอนวิชา อุดมการณ์การเมืองประเทศกำลังพัฒนา ภาควิชาการปกครอง คณะรัฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ภาคปลาย ปีการศึกษา 2547).
  9. พิชญ์ พงษ์สวัสดิ์, "อุดมการณ์ การเมือง และวัฒนธรรม (1): จากมาค สู่ ลัทธิมากซ์ และ สำนักวัฒนธรรมศึกษา," (เอกสารประกอบการเรียนการสอนวิชา อุดมการณ์การเมืองประเทศกำลังพัฒนา ภาควิชาการปกครอง คณะรัฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ภาคปลาย ปีการศึกษา 2547).
  10. Douglas Kellner. Media Culture: Cultural Studies, Identity and Politics Between the Modern and the Postmodern. (London and New York : Routledge, 2003),pp. 36 – 43
  11. Kellner. Ibid., pp. 28 – 31
  12. Philip Goldstein. Post-Marxist Theory : An Introduction. (New York: SUNY Press, 2005)
  13. ๋Jacques Derrida. Specters of Marx: The State of the Debt, the Work of Mourning and the New International (Routledge: London, 1994)

ทธ, มากซ, งก, ามภาษา, ในบทความน, ไว, ให, านและผ, วมแก, ไขบทความศ, กษาเพ, มเต, มโดยสะดวก, เน, องจากว, เด, ยภาษาไทยย, งไม, บทความด, งกล, าว, กระน, ควรร, บสร, างเป, นบทความโดยเร, วท, งกฤษ, marxism, หร, อม, กใช, บศ, พท, มาร, กซ, สต, เป, นว, การว, เคราะห, งคมและเศร. lingkkhamphasa inbthkhwamni miiwihphuxanaelaphurwmaekikhbthkhwamsuksaephimetimodysadwk enuxngcakwikiphiediyphasaithyyngimmibthkhwamdngklaw krann khwrribsrangepnbthkhwamodyerwthisudlththimaks xngkvs Marxism hruxmkichthbsphthwa marksist 1 epnwithikarwiekhraahsngkhmaelaesrsthkicsungwiphaksthunniymphankrabwnthsnkarkhudrid wiekhraahkhwamsmphnthrahwangchnchnaelakhwamkhdaeyngthangsngkhmodyichkartikhwamphthnakarprawtisastraebbwsduniym aelathsnawiphaswithikaraeplngsngkhm social transformation thuxkaenidcaknkprchyachaweyxrmnsmykhriststwrrsthi 19 kharl maksaelafridrich exngengilslththimaksichwithiwithyathieriykwtthuniymprawtisastrephuxwiekhraahaelawiphakskarphthnakhxngthunniymaelabthbathkhxngkartxsurahwangchnchninkarepliynaeplngesrsthkicthngrabbtamthvsdilththimaks khwamkhdaeyngrahwangchnchnekidinsngkhmthunniymxnenuxngcakkhwamkhdknrahwangphlpraoychnthangwtthukhxngchnkrrmachiphthithukkdkhi chnkrrmachiphkhuxphuichaerngnganexakhacangthichnchnkradumphiwacangephuxphlitsinkhaaelabrikar sungchnchnkradumphiniepnchnchnpkkhrxngthiepnecakhxngpccykarphlitaelaexakhwammngkhngmacakkarcdsrrphlitphnthswnekin kair thichnkrrmachiphphlitkhunkartxsurahwangchnchnnisungmkaesdngxxkmaepnkarkbtkhxngkalngkarphlitkhxngsngkhm productive force txkhwamsmphnthkarphlit relation of production khxngsngkhm sngphlihekidwikvtirayasnemuxchnchnkradumphiprasbkhwamlabakinkarcdkarkhwamaeplkaeykkhxngaerngngan alienation of labor thithwikhwamrunaerngkhunkhxngchnkrrmachiph aemwamikhwamsanukeruxngchnchn class consciousness radbmaknxy wikvtnilngexydwykarptiwtikhxngchnkrrmachiphaelakarsthapnasngkhmniyminthisud sungepnrabbthangsngkhmaelaesrsthkicthiyudsngkhmepnecakhxngpccykarphlit kracayihaetlakhntamkarmiswnrwmaelakarphlitthicdraebiybodytrngsahrbkarich emuxkalngkarphlitkawhnakhun makstngsmmtithanwasngkhmniymsudthaycaaeplngepnsngkhmkhxmmiwnist hmaythung sngkhmirchnchn irrth aelamimnusythrrmthiyudkrrmsiththirwmaelahlkkarphunedim cakaetlakhntamkhwamsamarth ihaetlakhntamkhwamtxngkar From each according to his ability to each according to his needs lththimaksphthnaepnhlayaekhnngaelasankkhid aempccubnimmithvsdilththimakshnungediyw sanklththimakstang ennaengmumbangxyangkhxnglththimakskhlassiktangkn aelaptiesthhruxddaeplngaengmumbangxyang hlaysankkhidmungrwmmonthsnlththimakskbmonthsnthimiichmaks sungmknaipsubthsrupthikhdaeyngkn thwa smyhlngmikhbwnkarsukarrbrxngwsduniymthangprawtisastraelawsduniymwiphaswithiyngepnaengmumhlkkhxngsankkhidlththimaksthuksank sungthaihmikhwamehntrngknrahwangsanktang makkhun enuxha 1 cudkaenidkhxnglththimaks 2 karwiphaksthunniymkhxngmaks 3 wiwthnakarkhxngsngkhmaenwlththimaks 4 lththimaksinpccubn 5 trakulthangkhwamkhidtang khxnglththimaks 6 duephim 7 xangxingcudkaenidkhxnglththimaks aekikhkharl maks epnnkprchyaesrsthsastrsaysngkhmniymaelankprchyacitniymaebbeyxrmnsayehekil sungsankkhidthng 2 trakulthimixiththiphlthangkhwamkhidtxmaksnnmiraylaexiydodysrup dngni esrsthsastrsaysngkhmniymnnekidkhuncakkarwiphakstxrabxbthunniymthiepnphlcakkarptiwtixutsahkrrminyuorp the industrial revolution inchwng stwrrsthi 18 19 thikxihekidkhwamimethaethiym aelachxngwangmhasalrahwangkhnrwy aelakhncn khwamnithuknaesnx kh s 1832 odynkkhidchawfrngesskhux piaeyr elxru aela mari aerob khwamkhiddngklawmixiththiphlxyangsunginxngkvs sunginewlannkhuxpraethsxutsahkrrmxndbhnungkhxngyuorp odyphuthinakhwamkhidsngkhmniymmaephyaephrinxngkvskhuxorebirt oxewn in kh s 1827 prchyacitniymeyxrmnsayehekilepnhlkprchyakhxngekxxrkh ehekil thiklawwaxanaccitkhxngmnusykhuxsingthisrangprawtisastr ephraaprawtisastrkhxngmnusyekidephraakhwamkhdaeyngkhxngcitthixyuphayin imichthrrmchatiphaynxk citcamiphltxkarkratha odykarkrathann ekidkhuntamhlkkarthangtrrksastr dngnnolkcungkawipkhanghnadwykarkrathaxnmiphlmacakcithruxkhwamkhid khwamkhdaeyngid cungepnkhwamkhdaeyngineruxngkhxngkhwamkhid thuk khwamkhdaeyngsngphlihekidkhwamkawhna thngechingkhunphaphaelaehtuphl prawtisastrthnghmdcungkhuxprawtisastrkhxngkhwamkhid aelaphlngthiphlkdnprawtisastrkhuxehtuphl aetxarmnthiduirehtuphlkmixiththiphltxkarichehtuphlkhxngmnusy ephiyngaetmnusykcaimsamarthichxarmntdsinthuksingephraaehtuphlkhxykhwbkhumxarmnexaiw khwamkhiddngklawniehekileriykwa wiphaswithikarwiphaksthunniymkhxngmaks aekikh phaphekhiynin kh s 1911 sathxnkarwiphaksthunniymkhxngmaks odyaesdngihehnwachnchnpkkhrxngmicanwnnxythwakdkhikhudridchnchnlanglngmasungmicanwnmakkwa xiththiphlthangkhwamkhidthng 2 swnaesdngihehnin kh s 1884 phanhnngsuxkhxngmakschux exksartnchbbthangesrsthsastr aelaprchya Economics and Philosophical Manuscript 1884 sungmaksklawthungkhwamthukkhthn 4 chnidkhxngaerngngantangdaw four alienated labor suffocations thiekidkhuninyukhthunniymxnidaek khwamthukkhthncakphlitphl product thiphuphlitimidichphlphlit khwamthukkhthncakkrabwnkarkarphlitthitxngthukkhthnthanganhamrunghamkha a torment productive activity khwamthukkhthncaksphawakhxngkarphlitthiimidphthnakhwamepnmnusyihkbphuphlit humans produce blindly and not in accordance with their truly human powers khwamthukkhthncakkarthitxngphlitephuxaelkepliynmakkwaephuxkhwamphungphxickhxngmnusy the relation of exchange replaces the satisfaction of mutual need sungthuxwaepnkarwiphaksrabbkhidkhxngsngkhmthunniymthikhidaeteruxngkhxng kair khadthun khaecha karaelkepliyn khacang l cakthvsdidngklawmakscungmxngwainsngkhmthunniymnnaerngngancungepnphuthukkhudrid the exploited mulkhaswnekin surplus value cakwithiaehngkarphlit means of production ihthanganekinkhwamcaepn inkhwamkhidkhxngmakskrabwnkardngklawnicasrangkhwamkddnihkbokhrngsrangthangsngkhm thaihekidchnchn class aelanaipsukarptiwtisngkhminthisud maksmxngwakhwamkhidepnphlphlitthisathxnodytrngkhxngwtthu khwamkhidaelawtthucungsmphnthkn maksmxngwaprawtisastrkhuxkartxsurahwangchnchn classes sunghnathikhxngnkprawtisastrkhux khnhakdsungkhumphvtikrrmkhxngsngkhmmnusy aelakdthikhumphvtikrrminxnakhtdwy sahrbmummxngkhxngmaksineruxngdngklawcungsamarsrupkhraw idwakhux 2 rakthankhxngprawtisastrkhuxkartxsurahwangchnchn esrsthkicepnrakthankhxngpraktkarninsngkhmmaksidwiekhraahiwinhnngsuxchux wadwythun Das Kapital wa rupaebbkarphlitthunniymbngkhbihkrrmkr Labour caepntxngkhayaerngngankhxngtnexnginrakhathukaeknaythun dngnnkairkhxngnaythun aethcringaelwekidcakkarkhudridmulkhaswnekincakkhaaerngkhxngkrrmachiph ephuxkair chnchnnaythuncungtxngphthnaekhruxngmuxaelawithikarkarphlitihkawhnakhuntlxdewla txngkhyaytladsinkha aehlngwtthudibaelakickaripthwolk karphlitaebbthunniymniidthaihekidkhwampnpwnaelawikvtthangesrsthkicaebbwtckr nnkhuxkarphlitlnekin thamklangolkthixdxyakkhadaekhln ephuxaekikhwikvtkarphlitlnekin aelarksarakhakhxngphlphlitihsungkwatnthun cungtxngthalayphlphlitswnekinxxkcaktlad phyayamkhyaytladihmaelaichtladekaihepnpraoychn sungphlsudthaykcanaipsuwikvtrxbdanthirunaerngyingkhun thaihkhwamkhdaeyngthangchnchninsngkhmrunaerngkhuncnnaipsukarepliynaeplngsngkhminthisud cakpraktkarndngklaw maksehnwa siththi esriphaph aelaskdisrikhwamepnmnusyinsngkhmthunniymnnepncringechphaakbphuthimithrphysin imichsahrbkrrmachiphaelakhnyakcn karthimnusythukthaihyxmrbwamikhwamrwyhruxkhwamcnnnmakseriykwacitsanukhlxklwngaelacxmplxm False Conciousness citsanukhlxklwngaelacxmplxmkahndphvtikrrminsngkhmmnusyihthukkhrxbngaodypccyinkarphlit khux thun ekhruxngmux aelathidin thisakhykhux aerngnganepntwkahnd aelaphlkdn sungsngphlihekidchnchnthangsngkhm makseriykkhwamkhidehlaniwa wtthuniymprawtisastr historical materialism odymitrrkadngni 3 thuksingepniptamkdkhxngwiphaswithikhxngehekil dngnn thuksingyxmmikarsuyslay aelayxmmisingekidihm prawtisastrkhxngsngkhmepnwiwthnakarkhxngkartxsuthangchnchn karepliynaeplngthangwtthu inechingpriman yxmkxihekidkhunphaph inthangwtthu khux sphawa inthangsngkhm khuxkarptiwti thuksingthiekidkhunepniptamkd 3 khx khangtn mnusythismburn insngkhmkhxmmiwnist khuxphuthimicitsanuktxsngkhm ephraaidrbkarphthna aelawiwthnakarthangkhwamkhid aelawtthumaxyangyawnanwiwthnakarkhxngsngkhmaenwlththimaks aekikhkarthimaksmxngwainsngkhmthunniymnnaerngngancungepnphuthukkhudridmulkhaswnekinwithiaehngkarphlitxnnaipsukarsrangkhwamkddnihkbokhrngsrangthangsngkhm aelanaipsukarptiwtisngkhminthisudnn maksimidxthibayiwxyangepnrupthrrm inswnniexngengilscungxthibaykhwamkhidekhruxngwiwthnakarkhxngsngkhminkhwamkhidkhxngmakswa sngkhmkhxngmaksmiwiwthnakardwykn 6 khn khux 4 sngkhmkhxmmiwnistobran primitive communism epnsngkhmobrankhxngmnusythimilksnathxythithxyxasykn sngkhmthas slave society epnwiwthnakarthiekidkhunphrxm kbkarthimnusyerimrwmknsrangsngkhminlksnakhxngemuxng sngkhmskdina feudalism epnwiwthnakarkhnthisamsungmnusyerimcdkarihekidkarpkkhrxngthiepnrabbkhunodyphupkkhrxngmkepnxphisiththichn aristocracy inxikdanhnungkekidlksnathunniymkhunbang sngkhmthunniym capitalism epnwiwthnkarkhxngsngkhmthiphupkkhrxngkhuxphwkphusasmthun capitalists thiepnnaycangaelaecakhxngkickar thimkepnchnchnklang bourgeois sngkhmsngkhmniym socialism epnwiwthnakarthiekidcakkarptiwtithangsngkhmkhxngchnchnkrrmachiphphuthithukkhudrid proletariat ihklaymaepnphupkkhrxngaebb ephdckarodychnchnkrrmachiph diktatur des proletariats aelamikarphicarnawithiaehngkarphlitihmephuxetriymtwekhasuwiwthnakarkhnsudthay sngkhmkhxmmiwnism communism epnwiwthnakarthangsngkhmsungsudkhxngmnusy thisngkhmsamarthkracayrayidxyangethaethiymkn epnsngkhmthiimmichnchn mnusythukkhnsamarthichchiwittamicprarthnaodymimiephiyngkhwamrbphidchxbtxtnexng aelachumchnodyrwmlththimaksinpccubn aekikhthvsdikhxnglththimaks idrbkaryudthux aeplkhwam aelawiphakswicarn cakbrrdankwichakar nkkaremuxng phrrkhkaremuxng rthbal xngkhkrtang thwolk rwmthngprachachncanwnmak aelaeriykthvsdisngkhmniymkhxngmakswa lththimaks 5 nbtngaetthvsdini idkaenidkhuntlxdma trabcnthungpccubn cnklawidwaepnthvsdithiidrbkarphudthungaelaxangxingmakthisudthvsdihnung imwacakfaythiehndwyhruximehndwyktamnbcakthiidkaenidkhuninklangstwrrsthi 19 epntnma idmikhnnalththimaksipichepncanwnmak khnehlaniinpccubnaebngidepn 3 klumihy khux klumaerk khux klumkhnthiechuxmninlththimaksaebbdngedim aelanalththimaks ipprayuktich odyennthungkhwamthuktxngtrngtamthvsdixyangekhrngkhrd phwknicaeriyktnexngwaepnnklththimaks aelaklawhaklumthisxngwaepnphwklththiaek klumthisxng khux klumkhnthiehnwa thvsdibangswnkhxnglththimaks imthuktxngaelaimsxdkhlxngkbsphaphkarninpccubnaelw aetthvsdibangswnkhxnglththimaks yngkhngthuktxngaelasamarthichidcungnaexaechphaaswnthiyngichidipprayuktichtammummxngkhxngklumtn odyimyudthuxthvsdilththimaksdngedimxyangekhrngkhrdehmuxnklumaerk aetyngeriykklumtnwaepnnklththimaks klumthisam khux klumkhnthiimidechuxthuxinthvsdilththimaks aetnaechphaaaenwkhidhruxkhxekhiynbangswnthitrngkbaenwkhidkhxngtn maichxangxinginkarxthibaypraktkarnthangsngkhm thangesrsthkic thangkaremuxng hruxthangxun echn khxekhiynkhxngthxfelxr sungthuxwaepnnkxnakhtsastrthimichuxesiyngkhxngshrthtrakulthangkhwamkhidtang khxnglththimaks aekikh1 lththimaksobran Orthodox Marxism hrux Old School Marxism lththimaksobrankhuxklumnkwichakarthiyudthuxthvsdikhxngmaksxyangekhrngkhrd2 lththimaksinrsesiy lththielnin Leninism lththistalin Stalinism aelalththitrxtski Trotskyism swnnirxephimetimkhxmul khunsamarthchwyephimkhxmulswnniid3 lththiehma Maoism swnnirxephimetimkhxmul khunsamarthchwyephimkhxmulswnniid4 makssayihmhruxnioxmaksism Neo Marxism makssayihmepnskulthangkhwamkhidthiekidkhuninchwngstwrrsthi 20 odyyngyudoyngthangkhwamkhidekhakbkhwamkhidkhxngmaksiw odyechphaaineruxngthiwasngkhmaelawthnthrrmmkcamikhwamkhdaeyngaelanaipsukarepliynaeplngesmx phlkhxngkarepliynaeplngmkcaepnsphawaihmthiaetktangcakphawaedim rwmthungechuxwasngkhmmnusynnmikhwamimethaethiymkn xanackarchina aelakhrxbngasngkhmykxyuinmuxklumkhnswnnxyinswnthimakssayihmmxngtangipcakmaksobran khuxineruxngekhruxngmuxhruxenguxnikhkhxngkarkhrxbnga dngni khnathimakssayedimmxngwaekhruxngmuxhruxenguxnikhdngklawkhuxxanacthangesrsthkic sungepnlksnakarkhrxbngaodytrng aelakartxsuthangchnchnktxsuodytrngechnkn chnchnkrrmmachiphthitangmisanukthangchnchnrwmkn odymiepahmaysakhyephuxtxngkarptiwtisngkhmxyangthxnrakthxnokhn ephuxepliynaeplngipsusngkhmthiprascakchnchn sngkhmaehngkhwamethaethiymkn hruxsngkhmkhxmmiwnist makssayihmcamxngwaekhruxngmux hruxenguxnikhkhxngkarkhrxbngann khuxxudmkarnthangkaremuxng xudmkarnthangesrsthkic wthnthrrmhruxkhwamru odymilksnakarkhrxbngathangxxm aelakartxsuthangchnchnktxsuodythangxxmechnkn odyechphaaxyangyingkarsrangphlngkhbekhluxnphanklumtwaethnsngkhmtang klumprachasngkhm klumekhruxkhay odymiepahmayphunthanephuxkarptirupsngkhmsusngkhmthimikhwamyutithrrm xyangkhxyepnkhxyip 6 makssayihmyngaeykyxyxikepnhlaytrakul aetkmkeriykkhanaeyktanghakknip xathi makssayihmthiennsuksawthnthrrmidaeknkprchyamakssayihminmhawithyalyaefrngkefirthineyxrmni kcaeriykkhanwankkhidsayaefrngkefirth hruxnkprchyamakssayihminmhawithyalyebxrmingaehmkcaeriykkhanwankkhidsayebxrmingaehm epntn aetxyangiresiyxiththiphlkhwamkhidkhxngnkthvsdimakssayihmnnksamarthlakoyngipthungkhwamkhidkhxngnkkaremuxngchawxitalithichuxwa xnotniox krmchi5 lththimaksechingokhrngsrang the Structural Marxism hluys xlthuaesr nkprchyachawfrngess idphthnakhwamkhidkhxngmaks aelamakssayihmkhxngkrmchiphnwkekhakbthvsdisngkhmsastrtrakulokhrngsrangniym odymxngwarthnnepnkharbichkhxngrabxbthunniym aelachnchnnaythun chnchnnaythunmixanacsngkarrthodytrng xanacrthkbxanackhxngthuncungepnsingediywkn cakkrabwnkardngklawrthcungthahnathitxbsnxngtxthun inkaroxbxumchwyehluxnaythunmakkwatxbsnxng aelaoxbxumsngkhm rthkrathakardngklawphannoybaysatharna kdhmay aelarabbesrsthkicihepniptamthinaythuntxngkarsahrbxaltuwaesrxudmkarnmithanaepnokhrngsrangswnbnthimibthbathinkarkahndihekidkhwamsmphnthrahwangokhrngsrangkbokhrngsrangswnlang xudmkarncungepnsingthithaihkhwamsmphnththangxanacrahwangrthkbpceckbukhkhlsamarthdarngxyuidxyangmiexkphaphaelatxenuxng cnklayepneruxngkhunchineruxngpktithrrmdaipxaltuwaesrmxngwaxudmkarnepnekhruxngmuxinkarsrang subsan aelaphlitsaihkbsngkhm xudmkarncungtxngthukphlitsaphankarplukfngbmephaaihkbsmachikinsngkhm odykarthukfukfnihyxmrbtxkdeknthkhxngrabbthidarngxyu karphlitsakhwamsmphnththangkarphlitnithukkrathakhunxyangmnkhngodykarichxanacrthphanklikhruxsthabnsungrwmknepnrth xudmkarncungepnekhruxngmuxsakhykhxngrth odyrthichxudmkarnephuxphlpraoychndngklawsingthixlthuaesreriykwaklikkhxngrth the state apparatus ody xaltuwaesraebngxxkepnsxngaebb khux klikkhxngrththimilksnakdbngkhb repressive state apparatus idaek rthbal thhar tarwc sal khuk klikkhxngrthinlksnaaerkniptibtikarodykarbngkhbichkhwamrunaerng klikkhxngrthinechingxudmkarn ideological state apparatus sungidaek sasna orngeriyn khrxbkhrw rabbkdhmay phrrkhkaremuxng shphaphaerngngan aelaekhruxkhaykarsuxsar klikkhxngrthaebbthisxngniptibtikarnphankarsrangxudmkarnihkbsmachikinsngkhm 7 6 sankwthnthrrmsuksaebxrmingaehm The Birmingham School of The Cultural Studies nkthvsdisankwthnthrrmrwmsmyphyayamthicakhamphnwithikhidaebbesrsthkickahndwthnthrrminthanathiwthnthrrmepnokhrngsrangswnbnaebblththimaksobranmasukhwamekhaicwthnthrrminthanathiepn karkratha action thiekiywphnkbesrsthkicaelakaremuxng thngniodyexamnusyepnaeknklanginkarsuksa human agency makkwacasuksaephiyngaekhsphawathikahndphvtikrrmmnusy condition kbphlthitammacakkarthukkahnd outcome hruxklawxikxyanghnungkkhuxnkthvsdisankwthnthrrmrwmsmyphyayamekhaickarekidkhunkhxngwthnthrrm the making of culture inraylaexiyd makkwasuksaaekhwaxairepntwkahndwthnthrrmaetephiyngethann odysrup nkkhidsankwthnthrrmrwmsmyphyayamthicahaswnphsmphsanrahwangaenwkhidwawthnthrrmnnthukkahndodyphlnginradbokhrngsrangtang xyangsmburn aelawthnthrrmnnmixisraodytwexng sungkarphsmphsandngklawnnsankwthnthrrmrwmsmyidrbaerngbndaliccakngankhxngkrmchi 8 nganekhiynkhxngsankwthnthrrmrwmsmysuksannennkarsuksachiwitcringkhxngphukhninaengmumtang xathi eruxngkarsuksa eruxngwthnthrrmwyrun eruxngsuxmwlchn xathi okhsna aelaothrthsn dngnn hwicsakhykhxngkarsuksakhxngsankwthnthrrmrwmsmynncungxyuthikarprakascudyunthangxudmkarnkhxngtwexngxyangchdecninebuxngaerkwa yudthuxaelasrththainngankhxngmaks aetkesnxwathiphanmannyngimmithvsdiineruxngkhxngxudmkarnthiepnthiphxicaelahnthangthicaidthvsdixudmkarnthinaphxicnnkkhuxkarphsmphsankarthkethiyngthangthvsdiekhakbkarsuksakrnirupthrrmtang odyechphaainkarthakarkhnha khwamsmphnththiaethcring real relations kb rupaebbthipraktxxkma phenomenal form sunginhlaykrninnrupaebbthipraktxxkmannkthaiheralumhlngxyukbmn aelaechuxwasingnnepncringaethsankwthnthrrmrwmsmysuksanncungesnxwa karsuksaeruxngxudmkarnnnepnswnsakhyinkarsuksa wthnthrrm odyechphaainkhwamsmphnthrahwang khwamkhidtang sthabntang aelabribththangsngkhm thvsdikhxngsankwthnthrrmrwmsmysuksamixiththiphlinkarsuksaeruxngkhxngkarsuxsaraelasuxmwlchnkbmitithangkaremuxngodyechphaainxngkvsinchwngthswrrsthi 70 epntnma odyechphaanganekhiynkhxngscwrt hxll nksngkhmwithyachawshrachxanackrthimixiththiphlxyangsungxyuinwngwichakarinsunysuksawthnthrrmrwmsmythimhawithyaly ebxrmingaehm Center of Contemporary Cultural Studies CCCS hruxthiruckkninewlatxmawa trakulnkkhidsayebxrmingaehm the Birmingham school odyhxll esnxwa khawaxudmkarnnnimekhyepnkhathimikhwamepnklangthangkaremuxng aelaaemcamikarihkhwamhmaywa xudmkarnkhux chudkhxngkhwamkhidthimikhwamepnrabb aetwithikarxthibayechnnikmilksnathiennkarphrrnakhwam makkwakarwiekhraah dngnn aemwakhawaxudmkarnthangkaremuxngcamikhwamekiywkhxngkbkhawa khwamkhid aetinkhnaediywknkhwamkhidnnimichtwxudmkarnthnghmd xudmkarncungmikarsxnaexbkhwamhmayxyudwy aelaepnhnathikhxngnkwthnthrrmrwmsmysuksathicatxngkhnhaihidwaxairkhuxrakthanhruxthrrmchatikhxngkarbngkhbhruxepnthimakhxngkarthibangsingbangxyangthiimicheruxngkhxngkhwamkhidsungekhamakahndswnthiepnkhwamkhid 9 nkkhidsayebxrmingaehmichrakthanthangthvsdikhxnghxllmaichechingwiphakswthnthrrmphankarwiekhraah kartikhwam karwicarnnwtkrrmthangwthnthrrm odyrwmaelwnkkhidsayebxrmingaehmmxngwawthnthrrmepnrakthankhxngkaraeprrupthangsngkhm social reformation odysngkhmmikhwamsmphnththangsngkhmthiepnladbchn aelaepnptipksrahwangkn thngineruxngchnchn khwamepnephs echuxchati chatiphnthu aelakhwamepnchati nkkhidsayebxrmingaehmcungmungsuksakhwamsmphnthechingxanackhxngphlngthikhrxbnga aelakartxtaninkrabwnkarepliynaeplngthangkaremuxng rwmthungptiesth karcdrabbaebbladbchnsungta hierarchical stratification khxngwthnthrrm nkkhidsayebxrmingaehmcaechuxwawthnthrrmnntangmikhwamsakhytxkninradbranab horizontal phurbsuxepnphukratha active audience ephraaepnphusrangkhwamhmaytang aelayngphlitsawthnthrrmdngklawdwy nkkhidsayebxrmingaehmcaphungpraednsuksawaphurbsuxtikhwamaelaaeprkhwamhmaywthnthrrmthiidrbcaksuxxyangir rwmthungwiekhraahthungpccythithaihphurbsartxbsnxngtxsuxaetktangknipinchwngthswrrsthi 1970 nkkhidsayebxrmingaehmerimihkhwamsnickbwthnthrrmyxykhxngklumwyrun ephuxtxtankarkhrxbngakhxngrabbthunniyminrupaebbtang wthnthrrmwyruncungthukmxnginthanarupaebbwthnthrrmihmthiepnphlsmphnthkbkarepliynaeplngthangsngkhm praedneruxngxtlksn khwamaetktanghlakhlay karkhrxbngathangwthnthrrm l phan karaetngkay aefchn phvtikrrm aelaxudmkarnthangkaremuxng aelathisakhykarekidkhunkhxng wthnthrrmyxy sub culture thitxtanrupaebbwthnthrrmaelaxtlksnthikhrxbngannekidkhun hruxsamarththukekhaicidxyangir 10 7 sankkhidaefrngkefirt The Frankfurt School epnklumnkwichakarinsthabnwicythangsngkhmaehngmhawithyalyaefrngkefirt Institution of Social Research Johann Wolfgang von Goethe University of Frankfurt odykarnakhxngmks hxkhihmemxr thioxdxr xdxron ehxrebirth makhuesx aelawxletxr ebnyamin thierimmikarsuksaechingwiphaks critical theory inpraednthangwthnthrrmxathi esrsthsastrkaremuxngkhxngsux karwiekhraahwthnthrrm karwiekhraahkarrbsarinthangxudmkarn epntn nkwichakarklumdngklawniepnthiruckinnamnkkhidsayaefrngkefirth The Frankfurt School sungkkhuxchuxsthabnthinkwichakarklumnisngkdnnexngnkkhidsayaefrngkefirthcaptiesththvsdilththimaksinswnthiihkhwamsakhykbpccythangesrsthkic odywiphakwaihkhwamsakhytxswnnimakekinipcnlaelymitixunipesiyhmd odyechphaaxyangyingwthnthrrm nkkhidsayaefrngkefirthcungihkhwamsakhykbmitidanwthnthrrm khwamkhid citsanuk aelaxudmkarn praednthinkkhidsayaefrngkefirthihkhwamsnickhuxkarthisuxthaih wthnthrrm aeprsphaphmaepn sinkha hruxinphasakhxngnkkhidsayaefrngkefirththaihthukxyangklayepn wthnthrrmsahrbkhnhmumak mass culture klawkhuxmikarphlitwthnthrrmephuxkair sungnkkhidsayaefrngkefirthehnwaepnkarthalaykhunkhathangwthnthrrm dngnnsahrbnkkhidsayaefrngkefirthwthnthrrmcungimmiwthnthrrmchnsung hi culture hruxwthnthrrmchnlang lo culture khngmiaetephiyngwthnthrrmsahrbkhnhmumakthitangthukphlitmaephuxtxbsnxngkhwamtxngkarkhaywthnthrrminthanakhxngsinkha thikhunkhannidthukthalaylngipaelwthnghmdethann 11 8 aenwkhidhlnglththimaks Post Marxism aenwkhidlththimaks aebbhlngokhrngsrangniym Poststructuralist Marxism hrux lththimakshlngsmyihm Postmodern Marxism hruxeriyksn wahlnglththimaks Post Marxism epnaenwkhidthiwangthanxyubnkarwiphaksaenwkhidlththimaksechingokhrngsrangkhxngxaltuwaesr aelaichthankhidbangswncakaenwkhidkhxngmiaechl fuok khxaetktangsakhyrahwangaenwkhidhlnglththimakskblththimaksxun khux aetedimnnlththimakscamxngkartxsuthangchnchnodywangthanxyubnaenwkhidesrsthkicepnsakhy aetaenwkhidhlnglththimakscaptiesthmummxngdngklaw odyihehtuphlwaepnmummxngthimikhwamkhbaekhb aenwkhidhlnglththimakscamxngwakarkdkhithangchnchnnnsamarthklawrwmipthungeruxngephs chatiphnthuwrrna echuxchati sasna l 12 xyangirkdikmikarklawwicarnwaaemaenwkhidhlngmarsismcaphyayamklawwatnexngnnhnhlngihkblththimaksktam xyangirkdinkkhidtrakulniexngkynghlngihlinaenwthangkarwiekhraahsngkhmaelakaremuxngaebbmaksxyuxyangmakechnkn 13 duephim aekikhlththikhxmmiwnist esrsthsastrsankmaksxangxing aekikh sphthbyyti rachbnthitysthan phimphkhawa marxism Jonathan Woff Karl Marx Stanford Encyclopedia of Philosophy Aug 26 2003 substantive revision Jan 28 2008 http plato stanford edu entries marx phisisthikul aekwngam thvsdikaremuxngkbkarsuksarthsastr mhasarkham hlksutrsakhawicharthsastr withyalykdhmayaelakarpkkhrxng mhawithyalyrachphtmhasarkham 2552 n 61 xar exn aekhruw hnth Robert Nigel Carew Hunt ekhiyn wiekhraahlththikhxmmiwnist the Theory and Practice of Communism chnthima xxngsurks aepl krungethph snph mhawithyalythrrmsastr 2526 n 137 157 maksimekhyeriyktwexngwalththimaks aeteriyktwexngwanksngkhmniym thwankwichakarrunhlngklbykihmaksepnlththimaks du wira smburn khana in surphngs chynam makhsaelasngkhmniym krungethph syam 2553 n 4 sakhr smesrith nioxmakhsist sahrbphuerimtn 3 thnwakhm 2548 http www midnightuniv org midnight2545 document95223 html phichy phngsswsdi xudmkarnkbkaremuxng xngkhprakxbaelakarthangan txnthisxng exksarprakxbkareriynkarsxnwicha xudmkarnkaremuxngpraethskalngphthna phakhwichakarpkkhrxng khnarthsastr culalngkrnmhawithyaly phakhplay pikarsuksa 2547 phichy phngsswsdi xudmkarn karemuxng aelawthnthrrm 3 sankwthnthrrmrwmsmy exksarprakxbkareriynkarsxnwicha xudmkarnkaremuxngpraethskalngphthna phakhwichakarpkkhrxng khnarthsastr culalngkrnmhawithyaly phakhplay pikarsuksa 2547 phichy phngsswsdi xudmkarn karemuxng aelawthnthrrm 1 cakmakh su lththimaks aela sankwthnthrrmsuksa exksarprakxbkareriynkarsxnwicha xudmkarnkaremuxngpraethskalngphthna phakhwichakarpkkhrxng khnarthsastr culalngkrnmhawithyaly phakhplay pikarsuksa 2547 Douglas Kellner Media Culture Cultural Studies Identity and Politics Between the Modern and the Postmodern London and New York Routledge 2003 pp 36 43 Kellner Ibid pp 28 31 Philip Goldstein Post Marxist Theory An Introduction New York SUNY Press 2005 Jacques Derrida Specters of Marx The State of the Debt the Work of Mourning and the New International Routledge London 1994 bthkhwamekiywkbkaremuxng karpkkhrxngniyngepnokhrng khunsamarthchwywikiphiediyidodyephimkhxmulekhathungcak https th wikipedia org w index php title lththimaks amp oldid 9290205, wikipedia, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด,

บทความ

, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม