fbpx
วิกิพีเดีย

วิลเฮ็ล์ม พีค

ฟรีดริช วิลเฮ็ล์ม ไรน์ฮ็อลท์ พีค (เยอรมัน: Friedrich Wilhelm Reinhold Pieck) เป็นนักการเมืองและนักลัทธิคอมมิวนิสต์ชาวเยอรมัน เขากลายเป็นประธานาธิบดีคนแรกของสาธารณรัฐประชาธิปไตยเยอรมนี ซึ่งตำแหน่งถูกยกเลิกหลังพีคถึงแก่อสัญกรรม ผู้สืบต่อในฐานะประมุขแห่งรัฐของเขาคือ วัลเทอร์ อุลบริชท์ ซึ่งทำหน้าที่เป็นประธานสภาแห่งรัฐ

วิลเฮ็ล์ม พีค
ประธานาธิบดีแห่งสาธารณรัฐประชาธิปไตยเยอรมนี
ดำรงตำแหน่ง
11 ตุลาคม 1949 – 7 กันยายน 1960
ก่อนหน้า คาร์ล เดอนิทซ์ (ในฐานะผู้นำไรซ์เยอรมัน)
ถัดไป วัลเทอร์ อุลบริชท์
(ในฐานะประธานสภาแห่งรัฐ)
ประธานพรรคเอกภาพสังคมนิยมเยอรมนี
(เยอรมนีตะวันออก)
ดำรงตำแหน่ง
22 เมษายน 1946 – 25 กรกฎาคม 1950
ดำรงตำแหน่งร่วมกับอ็อทโท โกรเทอโวล
ก่อนหน้า ไม่มี (สถาปนาตำแหน่ง)
ถัดไป วัลเทอร์ อุลบริชท์ (ในฐานะ เลขาธิการที่ 1)
ข้อมูลส่วนบุคคล
เกิด ฟรีดริช วิลเฮ็ล์ม ไรน์ฮ็อลท์ พีค
3 มกราคม ค.ศ. 1876(1876-01-03)
กูเบิน, จักรวรรดิเยอรมัน
เสียชีวิต 7 กันยายน ค.ศ. 1960 (84 ปี)
เบอร์ลินตะวันออก, เยอรมนีตะวันออก
สัญชาติ เยอรมัน
พรรคการเมือง พรรคประชาธิปไตยสังคม (1895–1918)
พรรคคอมมิวนิสต์ (1918–1946)
พรรคเอกภาพสังคมนิยม (1946–1960)
คู่สมรส คริสทีเนอ เฮ็ฟเคอ
บุตร เอ็ลลี วินเทอร์ (1898–1987)
อาร์ทัวร์ พีค (1899–1970)
เอเลโอโนเรอ ชไตเมอร์ (1906-1998)

พีคเป็นลูกชายของฟรีดริช พีค คนขับรถม้า กับเอากุสเทอ ภรรยาของเขาในภาคตะวันออกของกูเบิน เยอรมนี สองปีต่อมาแม่ของพีคได้เสียชีวิตลง พ่อของพีคจึงแต่งงานใหม่กับวิลเฮ็ลมีเนอ บาโร หลังจากเข้าเรียนในโรงเรียนประถม เด็กหนุ่มวิลเฮ็ล์มได้ฝึกงานช่างไม้เป็นเวลา 4 ปี ในฐานะที่เป็นคนงานเขาเดินเข้าไปเข้าร่วมกับสมาคมแรงงานช่างไม้เยอรมันในปี 1894

ในฐานะช่างไม้ใน ค.ศ. 1894 พีคเข้าร่วมสหพันธ์กรรมกรไม้ซึ่งนำพาเขาไปสู่พรรคสังคมประชาธิปไตยแห่งเยอรมนี (เอ็สเพเด) ในปีต่อมา พีคกลายเป็นประธานของพรรคในเขตเมืองใน ค.ศ. 1899 และใน ค.ศ. 1906 ได้กลายเป็นเลขาธิการเต็มเวลาของพรรคสังคมประชาธิปไตย ใน ค.ศ. 1914 เขาย้ายไปอยู่ที่อะพาร์ตเมนต์ 3 ห้องในชเตกลิทซ์ในเดือนพฤษภาคม ค.ศ. 1915 เขาถูกจับในการประท้วงของผู้หญิงที่หน้าไรชส์ทาค และถูกอยู่ไว้ใน "การดูแลคุ้มครอง" จนถึงเดือนตุลาคม ในฐานะเลขานุการพรรคเบรเมินใน ค.ศ. 1916 พีคได้ขอให้อันโตน ปันเนอกุก สอนทฤษฎีสังคมนิยมต่อในโรงเรียนของพรรค แม้ว่าส่วนใหญ่ของพรรคสังคมประชาธิปไตยสนับสนุนรัฐบาลเยอรมันในสงครามโลกครั้งที่หนึ่ง พีคเป็นสมาชิกพรรคฝ่ายซ้ายซึ่งต่อต้านสงคราม การเปิดกว้างของพีค ในการทำเช่นนั้นทำให้เขาถูกจับกุมและคุมขังในเรือนจำทหาร หลังจากได้รับการปล่อยตัว พีคจึงได้ลี้ภัยไปอยู่ที่กรุงอัมสเตอร์ดัมชั่วคราว เมื่อเขากลับมายังกรุงเบอร์ลินใน ค.ศ. 1918 พีคได้เข้าร่วมกับพรรคคอมมิวนิสต์แห่งเยอรมนี

ในวันที่ 16 มกราคม ค.ศ. 1919 พีคถูกจับกุมพร้อมกับโรซา ลุกเซิมบวร์ค และคาร์ล ลีพคเน็ชท์ ในระหว่างการประชุมที่โรงแรมเบอร์ลินอีเดน ลุกเซิมบวร์ค และ ลีพคเน็ชท์ถูกฆ่าในขณะที่ "ถูกพาตัวเข้าคุก" โดยหน่วยไฟรคอร์ ขณะที่ทั้งสองกำลังถูกฆ่า พีคสามารถหลบหนีออกมาได้ ใน ค.ศ. 1922 เขาได้กลายเป็นสมาชิกผู้ก่อตั้งของ International Red Aid ซึ่งเคยดำรงตำแหน่งเป็นกรรมการบริหารเป็นครั้งแรก ในเดือนพฤษภาคม ค.ศ. 1925 เขาก็กลายเป็นประธานของ Ride Hilfe

ในวันที่ 4 มีนาคม ค.ศ. 1933 หนึ่งวันก่อนการเลือกตั้งสมาชิกไรชส์ทาค ครอบครัวของพีคอพยพออกจากอะพาร์ตเมนต์ที่ชเตกลิทซ์ และย้ายไปอยู่ในห้องปรุงอาหาร ลูกชายและลูกสาวของเขาเคยอยู่ในสหภาพโซเวียตตั้งแต่ ค.ศ. 1932 ขณะที่เอ็ลลี วินเทอร์ ยังคงอยู่ในเยอรมนี เมื่อถึงต้นเดือนพฤษภาคม ค.ศ. 1933 เขาจึงได้เดินทางไปกรุงปารีสก่อน แล้วจึงไปกรุงมอสโก ในกรุงมอสโก พีคทำหน้าที่พรรคคอมมิวนิสต์ในหน้าที่ที่หลากหลาย ตั้งแต่ ค.ศ. 1935–1943 เขาดำรงตำแหน่งเลขาธิการองค์การคอมมิวนิสต์สากล และใน ค.ศ. 1943 พีคเป็นหนึ่งในผู้ก่อตั้งคณะกรรมาธิการแห่งชาติเพื่อการปลดปล่อยเยอรมนี ซึ่งวางแผนไว้สำหรับอนาคตของเยอรมนีหลังสงครามโลกครั้งที่สอง

ในตอนท้ายของสงครามใน ค.ศ. 1945 พีคกลับไปเยอรมนีกับกองทัพแดงที่มีชัย อีกหนึ่งปีต่อมาเขาช่วยในการรวมพรรคคอมมิวนิสต์และพรรคประชาธิปไตยสังคมเป็นพรรคเอกภาพสังคมนิยมแห่งเยอรมนี เขาได้รับเลือกให้เป็นประธานร่วมของพรรคที่ควบรวมร่วมกับอ็อทโท โกรเทอโวล อดีตผู้นำพรรคเอกภาพสังคมนิยม

อ้างอิง

  1. Rolf Badstübner and Wilfried Loth (eds) Wilhelm Pieck - Aufzeichnungen zur Deutschlandpolitik 1945-1953, Berlin: Wiley-VCH, 1994
  2. Wilhelm Pieck timeline Retrieved June 10, 2010 (เยอรมัน)
  3. Bourrinet, Philippe. The Dutch and German Communist Left (1900–68). p. 55.
  4. Wolfe, Bertram D. in introduction to"The Russian Revolution" Luxemburg p. 18 1967.
  5. Eric D. Weitz, Creating German Communism, 1890-1990: From Popular Protests to Socialist State. Princeton, NJ: Princeton University Press, 1997


ลเฮ, ฟร, ดร, ลเฮ, ไรน, อลท, เยอรม, friedrich, wilhelm, reinhold, pieck, เป, นน, กการเม, องและน, กล, ทธ, คอมม, วน, สต, ชาวเยอรม, เขากลายเป, นประธานาธ, บด, คนแรกของสาธารณร, ฐประชาธ, ปไตยเยอรมน, งตำแหน, งถ, กยกเล, กหล, งพ, คถ, งแก, อส, ญกรรม, บต, อในฐานะประม, ขแห. fridrich wilehlm irnhxlth phikh eyxrmn Friedrich Wilhelm Reinhold Pieck epnnkkaremuxngaelanklththikhxmmiwnistchaweyxrmn ekhaklayepnprathanathibdikhnaerkkhxngsatharnrthprachathipityeyxrmni sungtaaehnngthukykelikhlngphikhthungaekxsykrrm 1 phusubtxinthanapramukhaehngrthkhxngekhakhux wlethxr xulbrichth sungthahnathiepnprathansphaaehngrthwilehlm phikhprathanathibdiaehngsatharnrthprachathipityeyxrmnidarngtaaehnng 11 tulakhm 1949 7 knyayn 1960kxnhna kharl edxniths inthanaphunairseyxrmn thdip wlethxr xulbrichth inthanaprathansphaaehngrth prathanphrrkhexkphaphsngkhmniymeyxrmni eyxrmnitawnxxk darngtaaehnng 22 emsayn 1946 25 krkdakhm 1950darngtaaehnngrwmkbxxthoth okrethxowlkxnhna immi sthapnataaehnng thdip wlethxr xulbrichth inthana elkhathikarthi 1 khxmulswnbukhkhlekid fridrich wilehlm irnhxlth phikh 3 mkrakhm kh s 1876 1876 01 03 kuebin ckrwrrdieyxrmnesiychiwit 7 knyayn kh s 1960 84 pi ebxrlintawnxxk eyxrmnitawnxxksychati eyxrmnphrrkhkaremuxng phrrkhprachathipitysngkhm 1895 1918 phrrkhkhxmmiwnist 1918 1946 phrrkhexkphaphsngkhmniym 1946 1960 khusmrs khristhienx ehfekhxbutr exlli winethxr 1898 1987 xarthwr phikh 1899 1970 exeloxonerx chitemxr 1906 1998 phikhepnlukchaykhxngfridrich phikh khnkhbrthma kbexakusethx phrryakhxngekhainphakhtawnxxkkhxngkuebin eyxrmni 2 sxngpitxmaaemkhxngphikhidesiychiwitlng phxkhxngphikhcungaetngnganihmkbwilehlmienx baor hlngcakekhaeriyninorngeriynprathm edkhnumwilehlmidfuknganchangimepnewla 4 pi inthanathiepnkhnnganekhaedinekhaipekharwmkbsmakhmaerngnganchangimeyxrmninpi 1894inthanachangimin kh s 1894 phikhekharwmshphnthkrrmkrimsungnaphaekhaipsuphrrkhsngkhmprachathipityaehngeyxrmni exsephed 2 inpitxma phikhklayepnprathankhxngphrrkhinekhtemuxngin kh s 1899 aelain kh s 1906 idklayepnelkhathikaretmewlakhxngphrrkhsngkhmprachathipity in kh s 1914 ekhayayipxyuthixaphartemnt 3 hxnginchetklithsineduxnphvsphakhm kh s 1915 ekhathukcbinkarprathwngkhxngphuhyingthihnairchsthakh aelathukxyuiwin karduaelkhumkhrxng cnthungeduxntulakhm inthanaelkhanukarphrrkhebreminin kh s 1916 phikhidkhxihxnotn pnenxkuk sxnthvsdisngkhmniymtxinorngeriynkhxngphrrkh 3 aemwaswnihykhxngphrrkhsngkhmprachathipitysnbsnunrthbaleyxrmninsngkhramolkkhrngthihnung phikhepnsmachikphrrkhfaysaysungtxtansngkhram karepidkwangkhxngphikh inkarthaechnnnthaihekhathukcbkumaelakhumkhngineruxncathhar hlngcakidrbkarplxytw phikhcungidliphyipxyuthikrungxmsetxrdmchwkhraw 2 emuxekhaklbmayngkrungebxrlinin kh s 1918 phikhidekharwmkbphrrkhkhxmmiwnistaehngeyxrmniinwnthi 16 mkrakhm kh s 1919 phikhthukcbkumphrxmkborsa lukesimbwrkh aelakharl liphkhenchth inrahwangkarprachumthiorngaermebxrlinxiedn lukesimbwrkh aela liphkhenchththukkhainkhnathi thukphatwekhakhuk odyhnwyifrkhxr 4 khnathithngsxngkalngthukkha phikhsamarthhlbhnixxkmaid in kh s 1922 ekhaidklayepnsmachikphukxtngkhxng International Red Aid sungekhydarngtaaehnngepnkrrmkarbriharepnkhrngaerk ineduxnphvsphakhm kh s 1925 ekhakklayepnprathankhxng Ride Hilfe 2 inwnthi 4 minakhm kh s 1933 hnungwnkxnkareluxktngsmachikirchsthakh khrxbkhrwkhxngphikhxphyphxxkcakxaphartemntthichetkliths aelayayipxyuinhxngprungxahar lukchayaelaluksawkhxngekhaekhyxyuinshphaphosewiyttngaet kh s 1932 khnathiexlli winethxr yngkhngxyuineyxrmni emuxthungtneduxnphvsphakhm kh s 1933 ekhacungidedinthangipkrungpariskxn aelwcungipkrungmxsok 2 inkrungmxsok phikhthahnathiphrrkhkhxmmiwnistinhnathithihlakhlay tngaet kh s 1935 1943 ekhadarngtaaehnngelkhathikarxngkhkarkhxmmiwnistsakl aelain kh s 1943 phikhepnhnunginphukxtngkhnakrrmathikaraehngchatiephuxkarpldplxyeyxrmni sungwangaephniwsahrbxnakhtkhxngeyxrmnihlngsngkhramolkkhrngthisxngintxnthaykhxngsngkhramin kh s 1945 phikhklbipeyxrmnikbkxngthphaedngthimichy 5 xikhnungpitxmaekhachwyinkarrwmphrrkhkhxmmiwnistaelaphrrkhprachathipitysngkhmepnphrrkhexkphaphsngkhmniymaehngeyxrmni ekhaidrbeluxkihepnprathanrwmkhxngphrrkhthikhwbrwmrwmkbxxthoth okrethxowl xditphunaphrrkhexkphaphsngkhmniymxangxing aekikh Rolf Badstubner and Wilfried Loth eds Wilhelm Pieck Aufzeichnungen zur Deutschlandpolitik 1945 1953 Berlin Wiley VCH 1994 2 0 2 1 2 2 2 3 2 4 Wilhelm Pieck timeline Retrieved June 10 2010 eyxrmn Bourrinet Philippe The Dutch and German Communist Left 1900 68 p 55 Wolfe Bertram D in introduction to The Russian Revolution Luxemburg p 18 1967 Eric D Weitz Creating German Communism 1890 1990 From Popular Protests to Socialist State Princeton NJ Princeton University Press 1997 bthkhwamekiywkbchiwprawtiniyngepnokhrng khunsamarthchwywikiphiediyidodyephimkhxmulekhathungcak https th wikipedia org w index php title wilehlm phikh amp oldid 8974685, wikipedia, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด,

บทความ

, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม