fbpx
วิกิพีเดีย

วิศวกรรมซอฟต์แวร์

วิศวกรรมซอฟต์แวร์ (อังกฤษ: software engineering) เป็นศาสตร์เกี่ยวกับวิศวกรรมด้านซอฟต์แวร์ มีเนื้อหาเกี่ยวข้องกับการใช้กระบวนการทางวิศวกรรมในการดูแลการผลิต ตั้งแต่การเริ่มเก็บความต้องการ การตั้งเป้าหมายของระบบ การออกแบบ กระบวนการพัฒนา การตรวจสอบ การประเมินผล การติดตามโครงการ การประเมินต้นทุน การรักษาความปลอดภัย ไปจนถึงการคิดราคาซอฟต์แวร์เป็นต้น

วิศวกรรมซอฟต์แวร์ประยุกต์ความรู้และเทคโนโลยีทางด้านวิศวกรรมศาสตร์ วิศวกรรมคอมพิวเตอร์ วิทยาการคอมพิวเตอร์ เทคโนโลยีสารสนเทศและสาขาอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้องเข้าด้วยกัน เพื่อสร้างซอฟต์แวร์ที่สามารถปฏิบัติงานตามเป้าหมาย ภายใต้เงื่อนไขที่กำหนด

วิศวกรรมซอฟต์แวร์เป็นศาสตร์ที่ทวีความสำคัญเพิ่มขึ้นเรื่อย ๆ เนื่องจากในปัจจุบัน ซอฟต์แวร์มีความซับซ้อนเพิ่มขึ้น จำเป็นต้องมีการวิศวกรรมที่จะควบคุมและดำเนินการผลิต ที่มีประสิทธิภาพ สามารถวัดผลได้ และ สามารถตรวจหาข้อผิดพลาดพร้อมสาเหตุได้ อย่างสะดวกและรวดเร็ว เพื่อให้สามารถปรับปรุงแก้ไขซอฟต์แวร์ตั้งแต่อยู่ในระหว่างการผลิตได้อีกทั้งยังมีการทบทวนและตรวจสอบ

ในแง่ของศาสตร์เกี่ยวกับคอมพิวเตอร์นั้น วิศวกรรมซอฟต์แวร์ เป็นหนึ่งในห้าสาขาวิชาคอมพิวเตอร์ ซึ่งประกอบด้วย สาขาวิทยาการคอมพิวเตอร์ หรือวิทยาศาสตรคอมพิวเตอร์ สาขาวิศวกรรมคอมพิวเตอร์ สาขาวิศวกรรมซอฟต์แวร์ สาขาเทคโนโลยีสารสนเทศ หรือเทคโนโลยีสารสนเทศและการสือสาร และ สาขาคอมพิวเตอร์ธุรกิจ หรือ ระบบสารสนเทศทางธุรกิจ

วิศวกรรมซอฟต์แวร์

วิศวกรรมซอฟต์แวร์ คือ การประยุกต์ใช้ระบบ กฎเกณฑ์ การเข้าถึงซึ่งสามารถวัดประเมินได้ในการพัฒนา การปฏิบัติการ และการบำรุงรักษาซอฟต์แวร์ และในการศึกษาสิ่งเหล่านี้ ก็คือการประยุกต์ใช้งานทางด้านวิศวกรรมมาจัดการกับซอฟต์แวร์ มหาวิทยาลัยในประเทศไทยที่เปิดสอนหลักสูตรวิศวกรรมซอฟต์แวร์เป็นแห่งแรก คือ ภาควิชาวิศวกรรมคอมพิวเตอร์ คณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

ข้อตกลงทางวิศวกรรมซอฟต์แวร์ ปรากฏขึ้นครั้งแรกในการประชุมวิศวกรรมซอฟต์แวร์นาโต ที่จัดขึ้นในปี ค.ศ. 1968 และได้ให้ความสำคัญกับเหตุการณ์ "วิกฤติการณ์ซอฟต์แวร์" ในขณะนั้น ตั้งแต่นั้นเป็นต้นมา วิศวกรรมซอฟต์แวร์ก็ได้กลายมาเป็นศาสตร์และแขนงของการศึกษาเฉพาะ ในการสร้างซอฟต์แวร์ที่มีคุณภาพสูงขึ้น มีราคาถูกลงเป็นที่ยอมรับได้ ดูแลรักษาได้ง่าย และพัฒนาได้อย่างรวดเร็วขึ้น ตั้งแต่นั้นก็ยังคงมีการเปรียบเทียบวิศวกรรมซอฟต์แวร์กับวิศวกรรมแขนงอื่น ยังคงมีการถกเถียงกันว่าวิศวกรรมซอฟต์แวร์ที่แท้จริงคืออะไร และวิศวกรรมซอฟต์แวร์สมควรเป็นหนึ่งในสาขาวิศวกรรมหรือไม่ วิศวกรรมซอฟต์แวร์ได้ขยายวงกว้างอย่างไร้ขีดจำกัดไปยังผู้ที่มีส่วนเกี่ยวข้องกับซอฟต์แวร์ เช่น โปรแกรมเมอร์ การพัฒนาซอฟต์แวร์ในบางครั้งข้อตกลงอาจขึ้นอยู่กับผู้ที่มีส่วนสำคัญในอุตสาหกรรมซอฟต์แวร์ในการเปลี่ยนแปลงกระบวนการสร้างซอฟต์แวร์ แต่กระนั้นวิศวกรรมซอฟต์แวร์ก็ยังเป็นที่ใฝ่ฝันของวัยรุ่นในการประกอบอาชีพ ในนิตยสาร Money Magazine ได้กล่าวว่า อาชีพในแขนงวิศวกรรมซอฟต์แวร์มีแนวโน้มอนาคตที่สดใส[1] และในเว็บไซต์ Salary.com ได้กล่าวว่าอัตราเงินเดือนในอาชีพวิศวกรรมซอฟต์แวร์มีอัตราสูงที่สุดในสหรัฐในปี ค.ศ. 2006[2]

วิชาชีพ

ในบางสาขาอาชีพ ยกตัวอย่างเช่น ในรัฐออนตาริโอ ประเทศแคนาดา ใบอนุญาตของวิศวกรทางด้านซอฟต์แวร์ ในหลาย ๆ พื้นที่ในโลก ไม่มีกฎหมายควบคุมอาชีพวิศวกรทางด้านซอฟต์แวร์ แต่มีข้อกำหนดบางอย่างจาก สถาบันวิศวกรไฟฟ้าและอิเลคโทรนิค (Institute of Electrical and Electronics Engineers: IEEE) และสมาคมคอมพิวเตอร์ (ACM) ซึ่งเป็นองค์กรหลักในด้านวิศวกรรมซอฟต์แวร์ ใน IEEE ได้กำหนดแนวทางไว้ในองค์ความรู้ด้านวิศวกรรมซอฟต์แวร์เมื่อปี ๒๕๔๗ ได้กำหนดแนวทางและกำหนดกรอบความรู้ที่วิศวกรด้านซอฟต์แวร์ควรรู้ และยังกำหนดจรรยาบรรณของวิศวกรซอฟต์แวร์ และนอกจากนี้ IEEE ยังมีการตีพิมพ์พจนานุกรมว่าด้วยวิศวกรรมซอฟต์แวร์และวิศวกรรมระบบ

การจ้างงาน

ในปี 2004 ในสหรัฐ สำนักแรงงานสถิติ นับ 760840 ซอฟต์แวร์วิศวกร ถืองานในสหรัฐ; ในช่วงเวลาเดียวกันมีบาง 1.4 ล้านประกอบทำงานในสหรัฐในอื่น ๆ ทั้งหมดรวมวิศวกรรมฝึกหัด เนื่องจากความญาติเป็นความแปลกฟิลด์การศึกษาทางการศึกษาในวิศวกรรมซอฟต์แวร์ นั้นมักจะสอนเป็นส่วนหนึ่งของหลักสูตรด้านวิทยาศาสตร์คอมพิวเตอร์และเป็นผล มากที่สุดซอฟต์แวร์วิศวกรถือด้านวิทยาศาสตร์คอมพิวเตอร์องศา

ส่วนใหญ่ วิศวกรซอฟต์แวร์ ทำงานเป็นพนักงานหรือผู้ว่าจ้าง วิศวกรซอฟต์แวร์ที่ทำงานร่วมกับธุรกิจหน่วยงานราชการ (พลเรือนหรือทหาร) และองค์กรที่ไม่แสวงหาผลกำไร บางซอฟต์แวร์วิศวกรสามารถทำงานด้วยตนเองได้ บางองค์กรมีผู้เชี่ยวชาญแต่ละดำเนินงานใน กระบวนการพัฒนาซอฟต์แวร์ องค์กรอื่น ๆ ต้องทำวิศวกรซอฟต์แวร์จำนวนมากหรือทั้งหมดของพวกเขา มากในโครงการคนอาจชำนาญในเดียวบทบาท โครงการขนาดเล็กคนอาจกรอกหลายหรือทั้งหมดบทบาทในเวลาเดียวกัน Specializations ประกอบด้วย: ในอุตสาหกรรม (นักวิเคราะห์ สถาปนิก นักพัฒนา ทดสอบ การสนับสนุนทางเทคนิค ผู้จัดการ) และในด้านวิชาการ (นักวิชาการศึกษา นักวิจัย)

มีความถกเถียงในอนาคตโอกาสการจ้างงานสำหรับวิศวกรและซอฟต์แวร์อื่น ๆ ไอที ผู้เชี่ยวชาญด้าน ตัวอย่างเช่นออนไลน์ล่วงหน้าตลาดที่เรียกว่า "อนาคตของ ITJOBS ไอทีงานในอเมริกา" พยายามตอบว่าจะมีเพิ่มเติมไอทีงานรวมทั้งซอฟต์แวร์วิศวกรในกว่า 2012 มีใน ค.ศ. 2002

การรับรอง

การรับรองวิชาชีพของ วิศวกรซอฟต์แวร์ ยังเป็นเรื่องโต้แย้งกันอยู่ บ้างก็เห็นว่าใบรับรองเป็นเครื่องมือสำหรับยกระดับหลักปฏิบัติของมืออาชีพ และ วัตถุประสงค์ของการให้ใบรับรองวิชาชีพวิศวกรซอฟต์แวร์ เป็นการปกป้องสาธารณะ สมาคมคอมพิวเตอร์หรือ ACM มีการรับรองวิชาชีพในปี 1980 และถูกยกเลิกไปเนื่องจากขาดความสนใจ ACM ได้มีการตรวจสอบความเป็นไปได้ของการรับรองวิชาชีพ วิศวกรรมซอฟต์แวร์ในปี 1990 แต่ในที่สุดการรองดังกล่าวก็ถูกตัดสินว่าไม่เหมาะสมในเรื่องการรับรองวิชาชีพในอุตสาหกรรมของวิศวกรรมซอฟต์แวร์ ในปี 2006 สมาคม IEEE ได้มีการรับรองวิชาชีพซอฟต์แวร์เกิน 575 ราย ในประเทศแคนาดา Canadian Information Processing Society ได้สร้างกฎหมายที่รู้จักเพื่อรองรับอาชีพข้อมูลระบบผู้เชี่ยวชาญ สถาบันวิศวกรรม ซอฟต์แวร์ได้ให้การรับรองที่ระบุหัวข้อขึ้น เช่นความปลอดภัย การปรับปรุงกระบวนการของสถาปัตยกรรมซอฟต์แวร์ การรับรองโปรแกรมส่วนใหญ่ในอุตสาหกรรมไอทีเป็นการรับรองเชิงเฉพาะด้านเทคโนโลยี และมีการจัดการโดยผู้ขายเทคโนโลยีเหล่านี้ โปรแกรมเหล่านี้มีการรับรองที่เหมาะสมกับสถาบันที่จะว่าจ้างให้บุคคลที่ใช้กับเทคโนโลยีนั้น

ผลกระทบของโลกาภิวัตน์

นักศึกษาหลายคนในประเทศที่พัฒนาแล้ว มีความกลัวและได้หลีกเลี่ยงที่จะมีวุฒิการศึกษาระดับปริญญาเกี่ยวข้องกับวิศวกรรมซอฟต์แวร์เนื่องจากเกิดความกลัวเรื่องการจ้างงานจากภายนอกประเทศ offshore outsourcing (การนำเข้าผลิตภัณฑ์ซอฟต์แวร์หรือบริการจากต่างประเทศ) และการย้ายที่อยู่ การต้องเดินทางไปทำงานต่างชาติ ทั้ง ๆ ที่รัฐบาล ไม่ได้แสดงสถิติการคุกคามถึงวิศวกรรมซอฟต์แวร์ อาชีพที่เกี่ยวข้อง กระบวนการเขียนโปรแกรมทางคอมพิวเตอร์ ดูเหมือนว่าจะไม่ปรากฏให้เห็น บ่อยครั้งมีจำนวนหนึ่งคาดว่าจะเริ่มต้นเป็นโปรแกรมเมอร์คอมพิวเตอร์ก่อนที่จะมีการ เลื่อนขั้นให้เป็นวิศวกรซอฟต์แวร์ดังนั้น อาชีพทางวิศวกรรมซอฟต์แวร์มีความยากลำบาก โดยเฉพาะอย่างยิ่ง ในระหว่างช่วงที่เศรษฐกิจตกต่ำ

บางครั้งที่ปรึกษามักแนะนำนักศึกษาให้สนใจในเรื่องของ "ทักษะบุคคล" และทักษะองค์กร มากกว่าทักษะด้านเทคนิคเพียงอย่างเดียว เพราะ "ทักษะเบื้องต้น" นี้ จะถูกนำไปใช้มากกว่าทักษะในระดับที่ยากมากขึ้น มันมีมุมมองด้านวิศวกรรมซอฟต์แวร์ ดูเหมือนจะเริ่มต้นการจำกัดโดยโลกาภิวัฒน์มากยิ่งขึ้น

การศึกษา

ความรู้ทางด้านการเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์เป็นความรู้พื้นฐานสำหรับอาชีพของวิศวกรซอฟต์แวร์ แต่เท่านั้นยังไม่เพียงพอ ส่วนใหญ่วิศวกรซอฟต์แวร์มีวุฒิการศึกษาในสาขาวิทยาการคอมพิวเตอร์ เนื่องจากอดีตยังไม่ค่อยมีหลักสูตรการเรียนการสอนระดับอุดมศึกษาในสาขาวิศวกรรมซอฟต์แวร์ อย่างไรก็ตามได้มีการเริ่มมีหลักสูตรสาขาวิศวกรรมซอฟต์แวร์ เปิดสอนมากขึ้น โดยเฉพาะอย่างยิ่งระดับปริญญาโทและปริญญาเอก ในช่วงปี ค.ศ. 2001-2004 ได้คณะวิชาการกลุ่มหนึ่งได้พัฒนาหลักสูตรต้นแบบ (อังกฤษ: Model Curriculum) สำหรับวิศวกรรมซอฟต์แวร์ระดับปริญญาตรี เรียกว่า SE2004 เพื่อให้เป็นมาตรฐานสากล การพัฒนาหลักสูตรต้นแบบดังกล่าวได้รับการสนับสนุนจากสมาคม ACM และสมาคมคอมพิวเตอร์แห่ง IEEE

ในปี ค.ศ. 1998 มหาวิทยาลัยบัณฑิตศึกษาแห่งนาวาล (Naval Postgraduate School) ในสหรัฐ ได้ริเริ่มหลักสูตรปริญญาเอกสาขาวิศวกรรมซอฟต์แวร์เป็นครั้งแรกในโลก[ต้องการอ้างอิง] Steve McConnell ได้ให้ความเห็นว่า เป็นเพราะมหาวิทยาลัยส่วนใหญ่มีการเรียนการสอนวิทยาการคอมพิวเตอร์มากกว่าวิศวกรรมซอฟต์แวร์ จึงทำให้ขาดแคลนวิศวกรซอฟต์แวร์ที่แท้จริง ในปี ค.ศ. 2004 สมาคมคอมพิวเตอร์แห่ง IEEE ได้พัฒนา องค์ความรู้ สำหรับสาขาวิศวกรรมซอฟต์แวร์ หรือเรียกว่า Software Engineering Body of Knowledge จนได้รับการรับรองมาตรฐานสากล ISO (ISO/IEC TR 19759:2005)

European Commission ภายในโปรแกรม Erasmus Mundus สำหรับนักศึกษาจากยุโรป และประเทศอื่น ๆ. นี่เป็นการร่วมกันของ4มหาวิทยาลัยในยุโรป

สาขาวิชาย่อย

วิศวกรรมซอฟต์แวร์สามารถแบ่งออกไปได้อีก 10 สาขาวิชาย่อย คือ

  • การวิเคราะห์ความต้องการของซอฟต์แวร์: การศึกษาวิเคราะห์ข้อกำหนดและข้อกำหนดสำหรับการตรวจสอบความถูกต้องของซอฟต์แวร์.
  • การออกแบบซอฟต์แวร์: การออกแบบซอฟต์แวร์มักใช้เครื่องมือช่วยในการออกแบบ Computer-Aided Software Engineering (CASE) และใช้การออกแบบที่เป็นมาตรฐานที่เป็นที่ยอมรับโดยทั่วไปเช่น การออกแบบโดยใช้ภาษายูเอ็มแอล (UML) เป็นต้น
  • การพัฒนาซอฟต์แวร์: การพัฒนาซอฟต์แวร์ด้วยภาษาการเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์ต่าง ๆ
  • การทดสอบซอฟต์แวร์: การทดสอบการทำงานของซอฟต์แวร์
  • การบำรุงรักษาซอฟต์แวร์: ระบบซอฟต์แวร์ต่าง ๆ มักมีปัญหาหลาย ๆ อย่าง หลังจากพัฒนาเสร็จแล้วยังจำเป็นต้องมีการเพิ่มเติมเรื่อย ๆ เป็นเวลาอีกยาวนาน
  • การจัดการการตั้งค่าซอฟต์แวร์: เนื่องจากซอฟต์แวร์เป็นระบบที่มีคววมซับซ้อนสูง การกำหนดค่า (เช่นการควบคุมเวอร์ชันและการควบคุมซอร์ซโค๊ด) ต้องได้รับการจัดการตามมาตรฐานและกรรมวิธีที่ถูกต้อง
  • การจัดการวิศวกรรมซอฟต์แวร์: การบริหารจัดการระบบซอฟต์แวร์เรียนแบบมาจากการบริหารโครงการ แต่มีข้อแตกต่างกันเล็กน้อย ซึ่งจะพบแค่ในสาขาของซอฟต์แวร์
  • กระบวนการพัฒนาซอฟต์แวร์: กระบวนการพัฒนาซอฟต์แวร์เป็นหัวข้อที่มีผู้พูดถึงเป็นอย่างมาก เช่น กระบวนการพัฒนาซอฟต์แวร์แบบเอจายล์ (อังกฤษ: Agile) หรือ กระบวนการพัฒนาซอฟต์แวร์แบบน้ำตก (Waterfall)
  • เครื่องมือในวิศวกรรมซอฟต์แวร์
  • คุณภาพซอฟต์แวร์: การควบคุมคุณภาพซอฟต์แวร์ และการประกันคุณภาพให้กับการพัฒนาซอฟต์แวร์
  • ซอฟต์แวร์ท้องถิ่น: เป็นหนึ่งสาขาของอุตสาหกรรมนี้ที่เกี่ยวกับภาษาท้องถิ่น

ดูเพิ่ม

อ้างอิง

  1. Kruchten, Philippe (2008). (PDF). คลังข้อมูลเก่า เก็บจาก แหล่งเดิม (PDF) เมื่อ 2011-06-29. สืบค้นเมื่อ 2009-05-20. Unknown parameter |month= ignored (help); Unknown parameter |pubhisher= ignored (|publisher= suggested) (help); Cite journal requires |journal= (help)
  2. ""Software Engineering 2004"". IEEE Computer Society. สืบค้นเมื่อ 20 พฤษภาคม พ.ศ. 2552. Check date values in: |accessdate= (help)
  3. ""ISO/IEC TR 19759:2005"". ISO.org. สืบค้นเมื่อ 20 พฤษภาคม พ.ศ. 2552. Check date values in: |accessdate= (help)
  4. executive editors, Alain Abran, James W. Moore ; editors, Pierre Bourque, Robert Dupuis. (2004). Pierre Bourque and Robert Dupuis (บ.ก.). Guide to the Software Engineering Body of Knowledge - 2004 Version. IEEE Computer Society. p. 1-1. ISBN 0-7695-2330-7.CS1 maint: multiple names: authors list (link) CS1 maint: uses editors parameter (link)

ศวกรรมซอฟต, แวร, บทความน, อาจต, องการตรวจสอบต, นฉบ, ในด, านไวยากรณ, ปแบบการเข, ยน, การเร, ยบเร, ยง, ณภาพ, หร, อการสะกด, ณสามารถช, วยพ, ฒนาบทความได, งกฤษ, software, engineering, เป, นศาสตร, เก, ยวก, บว, ศวกรรมด, านซอฟต, แวร, เน, อหาเก, ยวข, องก, บการใช, กระบวนก. bthkhwamnixactxngkartrwcsxbtnchbb indaniwyakrn rupaebbkarekhiyn kareriyberiyng khunphaph hruxkarsakd khunsamarthchwyphthnabthkhwamidwiswkrrmsxftaewr xngkvs software engineering epnsastrekiywkbwiswkrrmdansxftaewr mienuxhaekiywkhxngkbkarichkrabwnkarthangwiswkrrminkarduaelkarphlit tngaetkarerimekbkhwamtxngkar kartngepahmaykhxngrabb karxxkaebb krabwnkarphthna kartrwcsxb karpraeminphl kartidtamokhrngkar karpraemintnthun karrksakhwamplxdphy ipcnthungkarkhidrakhasxftaewrepntnwiswkrrmsxftaewrprayuktkhwamruaelaethkhonolyithangdanwiswkrrmsastr wiswkrrmkhxmphiwetxr withyakarkhxmphiwetxr ethkhonolyisarsnethsaelasakhaxun thiekiywkhxngekhadwykn ephuxsrangsxftaewrthisamarthptibtingantamepahmay phayitenguxnikhthikahndwiswkrrmsxftaewrepnsastrthithwikhwamsakhyephimkhuneruxy enuxngcakinpccubn sxftaewrmikhwamsbsxnephimkhun caepntxngmikarwiswkrrmthicakhwbkhumaeladaeninkarphlit thimiprasiththiphaph samarthwdphlid aela samarthtrwchakhxphidphladphrxmsaehtuid xyangsadwkaelarwderw ephuxihsamarthprbprungaekikhsxftaewrtngaetxyuinrahwangkarphlitidxikthngyngmikarthbthwnaelatrwcsxbinaengkhxngsastrekiywkbkhxmphiwetxrnn wiswkrrmsxftaewr epnhnunginhasakhawichakhxmphiwetxr sungprakxbdwy sakhawithyakarkhxmphiwetxr hruxwithyasastrkhxmphiwetxr sakhawiswkrrmkhxmphiwetxr sakhawiswkrrmsxftaewr sakhaethkhonolyisarsneths hruxethkhonolyisarsnethsaelakarsuxsar aela sakhakhxmphiwetxrthurkic hrux rabbsarsnethsthangthurkic enuxha 1 wiswkrrmsxftaewr 2 wichachiph 3 karcangngan 4 karrbrxng 5 phlkrathbkhxngolkaphiwtn 6 karsuksa 7 sakhawichayxy 8 duephim 9 xangxingwiswkrrmsxftaewr aekikhwiswkrrmsxftaewr khux karprayuktichrabb kdeknth karekhathungsungsamarthwdpraeminidinkarphthna karptibtikar aelakarbarungrksasxftaewr aelainkarsuksasingehlani kkhuxkarprayuktichnganthangdanwiswkrrmmacdkarkbsxftaewr mhawithyalyinpraethsithythiepidsxnhlksutrwiswkrrmsxftaewrepnaehngaerk khux phakhwichawiswkrrmkhxmphiwetxr khnawiswkrrmsastr culalngkrnmhawithyalykhxtklngthangwiswkrrmsxftaewr praktkhunkhrngaerkinkarprachumwiswkrrmsxftaewrnaot thicdkhuninpi kh s 1968 aelaidihkhwamsakhykbehtukarn wikvtikarnsxftaewr inkhnann tngaetnnepntnma wiswkrrmsxftaewrkidklaymaepnsastraelaaekhnngkhxngkarsuksaechphaa inkarsrangsxftaewrthimikhunphaphsungkhun mirakhathuklngepnthiyxmrbid duaelrksaidngay aelaphthnaidxyangrwderwkhun tngaetnnkyngkhngmikarepriybethiybwiswkrrmsxftaewrkbwiswkrrmaekhnngxun yngkhngmikarthkethiyngknwawiswkrrmsxftaewrthiaethcringkhuxxair aelawiswkrrmsxftaewrsmkhwrepnhnunginsakhawiswkrrmhruxim wiswkrrmsxftaewridkhyaywngkwangxyangirkhidcakdipyngphuthimiswnekiywkhxngkbsxftaewr echn opraekrmemxr karphthnasxftaewrinbangkhrngkhxtklngxackhunxyukbphuthimiswnsakhyinxutsahkrrmsxftaewrinkarepliynaeplngkrabwnkarsrangsxftaewr aetkrannwiswkrrmsxftaewrkyngepnthiiffnkhxngwyruninkarprakxbxachiph innitysar Money Magazine idklawwa xachiphinaekhnngwiswkrrmsxftaewrmiaenwonmxnakhtthisdis 1 aelainewbist Salary com idklawwaxtraengineduxninxachiphwiswkrrmsxftaewrmixtrasungthisudinshrthinpi kh s 2006 2 wichachiph aekikhinbangsakhaxachiph yktwxyangechn inrthxxntariox praethsaekhnada ibxnuyatkhxngwiswkrthangdansxftaewr inhlay phunthiinolk immikdhmaykhwbkhumxachiphwiswkrthangdansxftaewr aetmikhxkahndbangxyangcak sthabnwiswkriffaaelaxielkhothrnikh Institute of Electrical and Electronics Engineers IEEE aelasmakhmkhxmphiwetxr ACM sungepnxngkhkrhlkindanwiswkrrmsxftaewr in IEEE idkahndaenwthangiwinxngkhkhwamrudanwiswkrrmsxftaewremuxpi 2547 idkahndaenwthangaelakahndkrxbkhwamruthiwiswkrdansxftaewrkhwrru aelayngkahndcrryabrrnkhxngwiswkrsxftaewr aelanxkcakni IEEE yngmikartiphimphphcnanukrmwadwywiswkrrmsxftaewraelawiswkrrmrabbkarcangngan aekikhinpi 2004 inshrth sankaerngngansthiti nb 760840 sxftaewrwiswkr thuxnganinshrth inchwngewlaediywknmibang 1 4 lanprakxbthanganinshrthinxun thnghmdrwmwiswkrrmfukhd enuxngcakkhwamyatiepnkhwamaeplkfildkarsuksathangkarsuksainwiswkrrmsxftaewr nnmkcasxnepnswnhnungkhxnghlksutrdanwithyasastrkhxmphiwetxraelaepnphl makthisudsxftaewrwiswkrthuxdanwithyasastrkhxmphiwetxrxngsaswnihy wiswkrsxftaewr thanganepnphnknganhruxphuwacang wiswkrsxftaewrthithanganrwmkbthurkichnwynganrachkar phleruxnhruxthhar aelaxngkhkrthiimaeswnghaphlkair bangsxftaewrwiswkrsamarththangandwytnexngid bangxngkhkrmiphuechiywchayaetladaeninnganin krabwnkarphthnasxftaewr xngkhkrxun txngthawiswkrsxftaewrcanwnmakhruxthnghmdkhxngphwkekha makinokhrngkarkhnxacchanayinediywbthbath okhrngkarkhnadelkkhnxackrxkhlayhruxthnghmdbthbathinewlaediywkn Specializations prakxbdwy inxutsahkrrm nkwiekhraah sthapnik nkphthna thdsxb karsnbsnunthangethkhnikh phucdkar aelaindanwichakar nkwichakarsuksa nkwicy mikhwamthkethiynginxnakhtoxkaskarcangngansahrbwiswkraelasxftaewrxun ixthi phuechiywchaydan twxyangechnxxnilnlwnghnatladthieriykwa xnakhtkhxng ITJOBS ixthinganinxemrika phyayamtxbwacamiephimetimixthinganrwmthngsxftaewrwiswkrinkwa 2012 miin kh s 2002 swnnirxephimetimkhxmul khunsamarthchwyephimkhxmulswnniidkarrbrxng aekikhkarrbrxngwichachiphkhxng wiswkrsxftaewr yngepneruxngotaeyngknxyu bangkehnwaibrbrxngepnekhruxngmuxsahrbykradbhlkptibtikhxngmuxxachiph aela wtthuprasngkhkhxngkarihibrbrxngwichachiphwiswkrsxftaewr epnkarpkpxngsatharna 1 smakhmkhxmphiwetxrhrux ACM mikarrbrxngwichachiphinpi 1980 aelathukykelikipenuxngcakkhadkhwamsnic ACM idmikartrwcsxbkhwamepnipidkhxngkarrbrxngwichachiph wiswkrrmsxftaewrinpi 1990 aetinthisudkarrxngdngklawkthuktdsinwaimehmaasmineruxngkarrbrxngwichachiphinxutsahkrrmkhxngwiswkrrmsxftaewr inpi 2006 smakhm IEEE idmikarrbrxngwichachiphsxftaewrekin 575 ray inpraethsaekhnada Canadian Information Processing Society idsrangkdhmaythiruckephuxrxngrbxachiphkhxmulrabbphuechiywchay sthabnwiswkrrm sxftaewridihkarrbrxngthirabuhwkhxkhun echnkhwamplxdphy karprbprungkrabwnkarkhxngsthaptykrrmsxftaewr karrbrxngopraekrmswnihyinxutsahkrrmixthiepnkarrbrxngechingechphaadanethkhonolyi aelamikarcdkarodyphukhayethkhonolyiehlani opraekrmehlanimikarrbrxngthiehmaasmkbsthabnthicawacangihbukhkhlthiichkbethkhonolyinn swnnirxephimetimkhxmul khunsamarthchwyephimkhxmulswnniidphlkrathbkhxngolkaphiwtn aekikhnksuksahlaykhninpraethsthiphthnaaelw mikhwamklwaelaidhlikeliyngthicamiwuthikarsuksaradbpriyyaekiywkhxngkbwiswkrrmsxftaewrenuxngcakekidkhwamklweruxngkarcangngancakphaynxkpraeths offshore outsourcing karnaekhaphlitphnthsxftaewrhruxbrikarcaktangpraeths aelakaryaythixyu kartxngedinthangipthangantangchati thng thirthbal imidaesdngsthitikarkhukkhamthungwiswkrrmsxftaewr xachiphthiekiywkhxng krabwnkarekhiynopraekrmthangkhxmphiwetxr duehmuxnwacaimpraktihehn bxykhrngmicanwnhnungkhadwacaerimtnepnopraekrmemxrkhxmphiwetxrkxnthicamikar eluxnkhnihepnwiswkrsxftaewrdngnn xachiphthangwiswkrrmsxftaewrmikhwamyaklabak odyechphaaxyangying inrahwangchwngthiesrsthkictktabangkhrngthipruksamkaenananksuksaihsnicineruxngkhxng thksabukhkhl aelathksaxngkhkr makkwathksadanethkhnikhephiyngxyangediyw ephraa thksaebuxngtn ni cathuknaipichmakkwathksainradbthiyakmakkhun mnmimummxngdanwiswkrrmsxftaewr duehmuxncaerimtnkarcakdodyolkaphiwthnmakyingkhunkarsuksa aekikhkhwamruthangdankarekhiynopraekrmkhxmphiwetxrepnkhwamruphunthansahrbxachiphkhxngwiswkrsxftaewr aetethannyngimephiyngphx swnihywiswkrsxftaewrmiwuthikarsuksainsakhawithyakarkhxmphiwetxr enuxngcakxdityngimkhxymihlksutrkareriynkarsxnradbxudmsuksainsakhawiswkrrmsxftaewr xyangirktamidmikarerimmihlksutrsakhawiswkrrmsxftaewr epidsxnmakkhun odyechphaaxyangyingradbpriyyaothaelapriyyaexk inchwngpi kh s 2001 2004 idkhnawichakarklumhnungidphthnahlksutrtnaebb xngkvs Model Curriculum sahrbwiswkrrmsxftaewrradbpriyyatri eriykwa SE2004 ephuxihepnmatrthansakl karphthnahlksutrtnaebbdngklawidrbkarsnbsnuncaksmakhm ACM aelasmakhmkhxmphiwetxraehng IEEE 2 inpi kh s 1998 mhawithyalybnthitsuksaaehngnawal Naval Postgraduate School inshrth idrierimhlksutrpriyyaexksakhawiswkrrmsxftaewrepnkhrngaerkinolk txngkarxangxing Steve McConnell idihkhwamehnwa epnephraamhawithyalyswnihymikareriynkarsxnwithyakarkhxmphiwetxrmakkwawiswkrrmsxftaewr cungthaihkhadaekhlnwiswkrsxftaewrthiaethcring inpi kh s 2004 smakhmkhxmphiwetxraehng IEEE idphthna xngkhkhwamru sahrbsakhawiswkrrmsxftaewr hruxeriykwa Software Engineering Body of Knowledge cnidrbkarrbrxngmatrthansakl ISO ISO IEC TR 19759 2005 3 European Commission phayinopraekrm Erasmus Mundus sahrbnksuksacakyuorp aelapraethsxun niepnkarrwmknkhxng4mhawithyalyinyuorp 4 sakhawichayxy aekikhwiswkrrmsxftaewrsamarthaebngxxkipidxik 10 sakhawichayxy khux 4 karwiekhraahkhwamtxngkarkhxngsxftaewr karsuksawiekhraahkhxkahndaelakhxkahndsahrbkartrwcsxbkhwamthuktxngkhxngsxftaewr karxxkaebbsxftaewr karxxkaebbsxftaewrmkichekhruxngmuxchwyinkarxxkaebb Computer Aided Software Engineering CASE aelaichkarxxkaebbthiepnmatrthanthiepnthiyxmrbodythwipechn karxxkaebbodyichphasayuexmaexl UML epntn karphthnasxftaewr karphthnasxftaewrdwyphasakarekhiynopraekrmkhxmphiwetxrtang karthdsxbsxftaewr karthdsxbkarthangankhxngsxftaewr karbarungrksasxftaewr rabbsxftaewrtang mkmipyhahlay xyang hlngcakphthnaesrcaelwyngcaepntxngmikarephimetimeruxy epnewlaxikyawnan karcdkarkartngkhasxftaewr enuxngcaksxftaewrepnrabbthimikhwwmsbsxnsung karkahndkha echnkarkhwbkhumewxrchnaelakarkhwbkhumsxrsokhd txngidrbkarcdkartammatrthanaelakrrmwithithithuktxng karcdkarwiswkrrmsxftaewr karbriharcdkarrabbsxftaewreriynaebbmacakkarbriharokhrngkar aetmikhxaetktangknelknxy sungcaphbaekhinsakhakhxngsxftaewr krabwnkarphthnasxftaewr krabwnkarphthnasxftaewrepnhwkhxthimiphuphudthungepnxyangmak echn krabwnkarphthnasxftaewraebbexcayl xngkvs Agile hrux krabwnkarphthnasxftaewraebbnatk Waterfall ekhruxngmuxinwiswkrrmsxftaewr khunphaphsxftaewr karkhwbkhumkhunphaphsxftaewr aelakarpraknkhunphaphihkbkarphthnasxftaewr sxftaewrthxngthin epnhnungsakhakhxngxutsahkrrmnithiekiywkbphasathxngthinswnnirxephimetimkhxmul khunsamarthchwyephimkhxmulswnniidduephim aekikhComputer Aided Software Engineeringxangxing aekikh bthkhwamekiywkbwiswkrrmsastrniyngepnokhrng khunsamarthchwywikiphiediyidodyephimkhxmul Kruchten Philippe 2008 Licensing Software Engineers PDF khlngkhxmuleka ekbcak aehlngedim PDF emux 2011 06 29 subkhnemux 2009 05 20 Unknown parameter month ignored help Unknown parameter pubhisher ignored publisher suggested help Cite journal requires journal help Software Engineering 2004 IEEE Computer Society subkhnemux 20 phvsphakhm ph s 2552 Check date values in accessdate help ISO IEC TR 19759 2005 ISO org subkhnemux 20 phvsphakhm ph s 2552 Check date values in accessdate help 4 0 4 1 executive editors Alain Abran James W Moore editors Pierre Bourque Robert Dupuis 2004 Pierre Bourque and Robert Dupuis b k Guide to the Software Engineering Body of Knowledge 2004 Version IEEE Computer Society p 1 1 ISBN 0 7695 2330 7 CS1 maint multiple names authors list link CS1 maint uses editors parameter link ekhathungcak https th wikipedia org w index php title wiswkrrmsxftaewr amp oldid 9594950, wikipedia, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด,

บทความ

, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม