fbpx
วิกิพีเดีย

ศาสตร์แห่งการเล่าเรื่อง

ศาสตร์แห่งการเล่าเรื่อง (อังกฤษ: Narratology) หรือ ศาสตร์เรื่องเล่า คือวิชาว่าด้วยการศึกษาเรื่องเล่า (Narrative) โดยเน้นศึกษาโครงสร้างและหน้าที่ของเรื่องเล่า รวมถึงแก่นเรื่อง ขนบของการเล่าเรื่อง และสัญลักษณ์ต่าง ๆ ในเรื่องเล่า ศาสตร์นี้อาจสืบเชื้อสายเชิงทฤษฎีมาจากอริสโตเติล (the Poetics) แต่ปัจจุบันถือว่าริเริ่มโดยนักรูปแบบนิยมรัสเซีย โดยเฉพาะวลาดีมีร์ โปรปป์ (Morphology of the Folktale, 1928) และทฤษฎีการใช้หลากเสียง (heteroglossia) เสียงอันหลากหลาย (dialogism) และพื้นที่และเวลาของการใช้ศัพท์ (chronotope) ของมิคาอิล บัคติน ซึ่งถูกนำเสนอใน The Dialogic Imagination (1975)

ประวัติ

ต้นกำเนิดของศาสตร์เรื่องเล่ามีความสัมพันธ์อย่างใกล้ชิดกับโครงสร้างนิยม ซึ่งเป็นทฤษฎีที่แสวงหาระบบเชิงรูปแบบนิยมที่สามารถชี้แจงลักษณะของเนื้อหาภายในเรื่องเล่าได้จริง โดยอาศัยทฤษฎีคล้ายไวยากรณ์เชิงรูปแบบนิยมเป็นพื้นฐานในการแจงส่วนประโยคในบางสาขาของภาษาศาสตร์ อย่างไรก็ตาม ขั้นตอนเหล่านี้ปัจจุบันไม่ได้รับความนิยมในศาสตร์เรื่องเล่าอย่างแพร่หลาย

อ้างอิง

  1. ฉลองรัฐ เฌอมาลย์ชลมารค. 2548. เรื่องเล่า (Narrative) และศาสตร์แห่งการเล่าเรื่อง (Narratology).
  2. Phasomsup, P. (2018). ความ ย้อน แย้ง ใน อุดมการณ์ และ การ ลิดรอน ความ เป็น มนุษย์ ใน เรื่อง เล่า บาดแผล เรื่อง Escape from Camp 14. Humanities Journal, 25(2), 143-179.
  3. วัชรี เก ว ล กุล. การ สื่อสาร “วิกฤต อัต ลักษณ์” ใน นวนิยาย ของ ฮารูกิมูราคามิ และ เรื่องสั้น แนวหลัง สมัยใหม่ ของ ไทย (Doctoral dissertation, จุฬาลงกรณ์ มหาวิทยาลัย).

ศาสตร, แห, งการเล, าเร, อง, งกฤษ, narratology, หร, ศาสตร, เร, องเล, อว, ชาว, าด, วยการศ, กษาเร, องเล, narrative, โดยเน, นศ, กษาโครงสร, างและหน, าท, ของเร, องเล, รวมถ, งแก, นเร, อง, ขนบของการเล, าเร, อง, และส, ญล, กษณ, าง, ในเร, องเล, ศาสตร, อาจส, บเช, อสายเช, . sastraehngkarelaeruxng xngkvs Narratology 1 hrux sastreruxngela 2 khuxwichawadwykarsuksaeruxngela Narrative odyennsuksaokhrngsrangaelahnathikhxngeruxngela rwmthungaekneruxng khnbkhxngkarelaeruxng aelasylksntang ineruxngela sastrnixacsubechuxsayechingthvsdimacakxrisotetil the Poetics aetpccubnthuxwarierimodynkrupaebbniymrsesiy odyechphaawladimir oprpp Morphology of the Folktale 1928 aelathvsdikarichhlakesiyng heteroglossia esiyngxnhlakhlay dialogism 3 aelaphunthiaelaewlakhxngkarichsphth chronotope khxngmikhaxil bkhtin sungthuknaesnxin The Dialogic Imagination 1975 prawti aekikhtnkaenidkhxngsastreruxngelamikhwamsmphnthxyangiklchidkbokhrngsrangniym sungepnthvsdithiaeswngharabbechingrupaebbniymthisamarthchiaecnglksnakhxngenuxhaphayineruxngelaidcring odyxasythvsdikhlayiwyakrnechingrupaebbniymepnphunthaninkaraecngswnpraoykhinbangsakhakhxngphasasastr xyangirktam khntxnehlanipccubnimidrbkhwamniyminsastreruxngelaxyangaephrhlayxangxing aekikh chlxngrth echxmalychlmarkh 2548 eruxngela Narrative aelasastraehngkarelaeruxng Narratology Phasomsup P 2018 khwam yxn aeyng in xudmkarn aela kar lidrxn khwam epn mnusy in eruxng ela badaephl eruxng Escape from Camp 14 Humanities Journal 25 2 143 179 wchri ek w l kul kar suxsar wikvt xt lksn in nwniyay khxng harukimurakhami aela eruxngsn aenwhlng smyihm khxng ithy Doctoral dissertation culalngkrn mhawithyaly ekhathungcak https th wikipedia org w index php title sastraehngkarelaeruxng amp oldid 8246570, wikipedia, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด,

บทความ

, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม