fbpx
วิกิพีเดีย

สัจพจน์ของความน่าจะเป็น

สัจพจน์ของความน่าจะเป็น (อังกฤษ: the axioms of probability) ถูกเสนอเป็นครั้งแรกในปี ค.ศ. 1936 โดยคอลโมโกรอฟ นักคณิตศาสตร์ชาวรัสเซีย1 ในทฤษฎีความน่าจะเป็นทางคณิตศาสตร์ ความน่าจะเป็นถูกนิยามด้วยฟังก์ชัน แต่ไม่ได้หมายความว่าทุกๆ ฟังก์ชันจะสามารถแปลความหมายเป็นฟังก์ชันของความน่าจะเป็นได้ทั้งหมด สัจพจน์ของความน่าจะเป็นจึงถูกนิยามมาเพื่อกำหนดว่าฟังก์ชันใดสามารถที่จะแปลความหมายในเชิงความน่าจะเป็นได้ กล่าวโดยสรุป ฟังก์ชันความน่าจะเป็น ก็คือ ฟังก์ชันทางคณิตศาสตร์ที่มีคุณสมบัติตรงกับที่สัจพจน์คอลโมโกรอฟกำหนดไว้ทุกข้อ ในทฤษฎีความน่าจะเป็นแบบเบย์ สัจพจน์ของความน่าจะเป็นถูกเสนอ โดยบรูโน เด ฟิเนตติ นักคณิตศาสตร์ชาวอิตาเลียนและริชาร์ด คอกซ์ นักฟิสิกส์ชาวอเมริกัน เด ฟิเนตติเสนอสัจพจน์โดยมีแนวคิดมาจากเกมส์การพนัน ส่วนคอกซ์เสนอสัจพจน์ของเขาโดยมีแนวคิดมาจากการขยายความสามารถของตรรกศาสตร์แบบอริสโตเติล สิ่งที่น่าทึ่งก็คือ ในทางปฏิบัติโดยทั่วไปแล้ว2 สัจพจน์ของคอลโมโกรอฟ, เด ฟิเนตติ และคอกซ์ จะให้ผลลัพธ์ที่เหมือนกัน (ทั้งๆ ที่ทั้งสามท่านมีแนวคิดเริ่มต้นต่างกันโดยสิ้นเชิง)

สัจพจน์ของความน่าจะเป็นอย่างง่าย

กำหนดให้   เป็นฟังก์ชันใดๆ ทางคณิตศาสตร์ โดยมีโดเมนคือ   เราจะกล่าวว่า   เป็นฟังก์ชันของความน่าจะเป็นก็ต่อเมื่อ   มีคุณสมบัติต่อไปนี้

  1.   สำหรับ   ที่เป็นสับเซตของ  
  2.  
  3.   สำหรับ   และ   ที่เป็นสับเซตของ   และ   ไม่มีสมาชิกร่วมที่เหมือนกันเลย

อนึ่ง เราจะเรียกแต่ละสมาชิกใน   ว่า เหตุการณ์พื้นฐาน และ สับเซตเช่น   ของ   ว่า เหตุการณ์ (ถึงแม้ว่า ไม่ใช่ว่าทุกสับเซตใด ๆ ของ   จะมีคุณสมบัติดังสัจพจน์ข้อที่ 3 แต่ในทางปฏิบัติสับเซตที่เรารู้จักต่างก็มีคุณสมบัติดังนั้นจริง ดูคำอธิบายที่สมบูรณ์ได้ในหัวข้อถัดไป)

สัจพจน์ของความน่าจะเป็นอย่างสมบูรณ์

นักคณิตศาสตร์หลายท่านมอง ทฤษฎีความน่าจะเป็น เป็นสาขาย่อยของทฤษฎีการวัด (measure theory). นั่นคือ มอง ความน่าจะเป็น เป็นปริมาณ (แบบนามธรรม) ชนิดหนึ่งที่สามารถวัดได้ในบริบทของทฤษฎีการวัด. ข้อดีของการใช้ทฤษฎีการวัดในการอธิบายทฤษฎีความน่าจะเป็น คือ เรามีทฤษฎีการวัดทั้งในเซตจำกัดและเซตอนันต์. ดังนั้นนักคณิตศาสตร์จึงสามารถขยายทฤษฎีความน่าจะเป็นให้กว้างขึ้น ครอบคลุมไปถึงกรณีที่โดเมนของฟังก์ชันความน่าจะเป็นเป็นเซตอนันต์ได้ทันที โดยอ้างอิงจากทฤษฎีบทที่มีอยู่แล้วในทฤษฎีการวัด.

ในบริบทของทฤษฏีการวัด, ฟังก์ชันความน่าจะเป็นอธิบายได้ดังนี้

ค่าความน่าจะเป็น   ของเหตุการณ์(event)  ,   ขึ้นกับ "เอกภพสัมพัทธ์"(universe) หรือ "ปริภูมิของการสุ่ม"(sample space)   ของเหตุการณ์พื้นฐาน ทั้งหมดที่เกิดขึ้นได้ และ   นั้นจะต้องมีคุณสมบัติตามสัจพจน์ของความน่าจะเป็น

ภายใต้บริบทของทฤษฎีการวัด ปริภูมิความน่าจะเป็น   นิยามโดยมีฟังก์ชันการวัด   เป็นฟังก์ชันการวัดที่ไม่เป็นลบบน ซิกม่าแอลจีบรา (σ-algebra) หรือ ซิกม่าฟิลด์ (σ-field)   ของทุกสับเซต ของ   โดยที่  

หมายเหตุ: พยายามรักษารูปแบบการนำเสนอเดิมของ คอลโมโกรอฟ แต่มีการเปลี่ยนตัวแปรและเครื่องหมายที่ใช้

สัจพจน์ของคอลโมโกรอฟ

ถ้า   เป็น เชตของเหตุการณ์พื้นฐานของการสุ่ม

  1.   เป็น ซิกมาฟิลด์ (σ-field) ที่นิยามบน  
  2. สำหรับทุกๆ   ใน   ค่าความน่าจะเป็น  จะนิยามเป็นฟังก์ชันจำนวนจริง และมีค่าไม่เป็นจำนวนลบ บน  
  3.  
  4. ถ้า   และ   เป็นสองเหตุการณ์ที่ไม่เกี่ยวเนื่องกัน (disjoint events) แล้ว  
  5. (สมมติฐานความต่อเนื่อง หรือ ความสมบูรณ์ของการบวก (σ-field)) ถ้า   เป็นลำดับของเหตุการณ์ใน   โดยที่   แล้ว
    •  
    • ซึ่งก็คือ  

และจากข้อ 4 และ ข้อ 5 เราสามารถพิสูจน์ได้ว่า  

คำอธิบายอย่างไม่เป็นทางการ

ในส่วนที่เราทุกคนรู้กันเป็นอย่างดีเกี่ยวกับความน่าจะเป็นก็คือ หากเรามีเหตุการณ์   ใดๆ ค่าความน่าจะเป็นของเหตุการณ์นั้นจะมีค่า   และ ค่าความน่าจะเป็นของเหตุการณ์ที่เป็นไปได้ทั้งหมด  

สัจพจน์ของคอลโมโกรอฟข้างต้น นอกเหนือจากจะกล่าวถึง คุณสมบัติของฟังก์ชันการกำหนดค่าความน่าจะเป็นแล้ว ยังได้ระบุถึงโครงสร้างของสิ่งที่ค่าความน่าจะเป็นจะถูกระบุลงไปอีกด้วย คือ ปริภูมิของเหตุการณ์ (event space) ในแบบจำลองทางคณิตศาสตร์ของความน่าจะเป็น ปริภูมิของเหตุการณ์ ประกอบด้วย สับเซต ทั้งหมดของ ปริภูมิของการสุ่ม   ที่เราสามารถระบุค่าความน่าจะเป็นได้ โดยปกติแล้วเราอาจไม่สามารถระบุค่าความน่าจะเป็นของทุกสับเซตของ   ได้ สับเซตที่ระบุค่าความน่าจะเป็นได้นี้อธิบายในสัจพจน์ข้างต้นด้วย ฟิลด์ และ ซิกม่าฟิลด์

ปกติเราสามารถสร้างเหตุการณ์ที่ซับซ้อนขึ้นจากเหตุการณ์อื่นๆ ด้วยการใช้ตัวดำเนินการทางเซต เช่น หากเราพิจารณาแบบจำลองของการโยนลูกเต๋า 1 ลูก โดยมีปริภูมิของการสุ่ม  

  • เหตุการณ์ของการโยนออกแต้มเลขคี่ คือ  
  • เหตุการณ์ของการออกแต้มน้อยกว่า 4 คือ  
  • เหตุการณ์ของการออกแต้มไม่น้อยกว่า 4 คือ  
  • เหตุการณ์ของการออกแต้มน้อยกว่า 4 และ เป็นเลขคี่ คือ  
  • เหตุการณ์ของการออกแต้มน้อยกว่า 4 หรือ เป็นเลขคี่ คือ  

เพราะฉะนั้น ผลลัพธ์จากการดำเนินการทางเซต จะได้ผลลัพธ์เป็นเหตุการณ์ คือ เป็นสับเซตที่สามารถระบุความน่าจะเป็นได้ มีคุณสมบัติปิดภายใต้การดำเนินการทางเซต

ตัวอย่าง พิจารณา   หากเราสามารถระบุค่าความน่าจะเป็นของเหตุการณ์   และ   ได้ สับเซตทั้งหมดที่สามารถหาค่าความน่าจะเป็นได้ คือ ฟิลด์ ที่กำเนิดจากเหตุการณ์ทั้งสองข้างต้นคือ

 

สังเกตว่า เหตุการณ์   และ   นั้นไม่ได้อยู่ในปริภูมิของเหตุการณ์ และ ไม่สามารถระบุค่าความน่าจะเป็นได้

ในกรณีของเหตุการณ์ นับได้จำนวนไม่จำกัด เช่น การโยนเหรียญจำนวนอินฟินิตีครั้ง ปริภูมิของเหตุการณ์จะอธิบายด้วย ซิกมาฟิลด์ ซึ่งเป็นกลุ่มของสับเซตของปริภูมิของการสุ่ม ที่มีคุณสมบัติปิดภายใต้ การดำเนินการทางเซต นับได้ จำนวนไม่จำกัด

ดูบทความหลักที่: ฟิลด์ และ ซิกม่าฟิลด์

หมายเหตุ

1 แม้ว่าคณิตศาสตร์ของความน่าจะเป็นจะถูกพัฒนาขึ้นตั้งแต่มานานตั้งแต่ ปิแยร์ แฟร์มาต์ แบลส์ ปาลกาล จนถึง ปิแยร์ ซิมง ลาปลัสก็ตาม นักคณิตศาสตร์เหล่านี้ไม่ได้กำหนดโครงสร้างทางคณิตศาสตร์ของความน่าจะเป็นอย่างเคร่งครัด คล้ายกับกรณีออกัสติน หลุยส์ โคชี่ได้นิยามแคลคูลัสของไอแซก นิวตัน กับ กอทท์ฟรีด ไลบ์นิซอย่างเคร่งครัดในคริสต์ศตวรรษที่ 19 นั่นเอง

2 อนึ่ง ในบทความนี้ได้กล่าวว่า ในทางปฏิบัติโดยทั่วไป สัจพจน์ของทั้งสามท่านได้ให้ผลลัพธ์เช่นเดียวกัน ในทางปฏิบัติ ในที่นี้หมายถึงกรณีที่โดเมนของฟังก์ชันความน่าจะเป็น เป็นเซตจำกัด ทำให้ประเด็นเรื่อง การบวกได้เชิงเซตจำกัด (finite additivity) และ การบวกได้เชิงเซตอนันต์นับได้ (countably additivity) ของทฤษฎีการวัดไม่ส่งผลต่อการใช้งานสัจพจน์. ในหนังสือของเอดวิน ทอมป์สัน เจนส์ (Jaynes, 2003) ได้วิเคราะห์ความเหมือน ความแตกต่าง แนวคิด และปรัชญา ของคอลโมโกรอฟ, เด ฟิเนตติ และคอกซ์ ไว้อย่างละเอียดในภาคผนวก รวมทั้งยังนำเสนอวิธีการสังเคราะห์สัจพจน์ของคอกซ์อย่างละเอียดจาก ความต้องการพื้นฐานที่สมเหตุสมผล ของทฤษฏีความน่าจะเป็นแบบเบย์อีกด้วย

อ้างอิง

  1. Kolmogorov, A. N. (Andrei Nikolaevich) , Foundations of the theory of probability; translation edited by Nathan Morrison, New York, Chelsea Pub. Co., 1950.
  2. de Finetti, B., Probability, induction and statistics: The art of guessing, John Wiley & Sons Ltd., 1972.
  3. Jaynes, E.T. (2003) Probability Theory : The Logic of Science.

จพจน, ของความน, าจะเป, งกฤษ, axioms, probability, กเสนอเป, นคร, งแรกในป, 1936, โดยคอลโมโกรอฟ, กคณ, ตศาสตร, ชาวร, สเซ, ย1, ในทฤษฎ, ความน, าจะเป, นทางคณ, ตศาสตร, ความน, าจะเป, นถ, กน, ยามด, วยฟ, งก, แต, ไม, ได, หมายความว, าท, กๆ, งก, นจะสามารถแปลความหมายเป, นฟ, . scphcnkhxngkhwamnacaepn xngkvs the axioms of probability thukesnxepnkhrngaerkinpi kh s 1936 odykhxlomokrxf nkkhnitsastrchawrsesiy1 inthvsdikhwamnacaepnthangkhnitsastr khwamnacaepnthukniyamdwyfngkchn aetimidhmaykhwamwathuk fngkchncasamarthaeplkhwamhmayepnfngkchnkhxngkhwamnacaepnidthnghmd scphcnkhxngkhwamnacaepncungthukniyammaephuxkahndwafngkchnidsamarththicaaeplkhwamhmayinechingkhwamnacaepnid klawodysrup fngkchnkhwamnacaepn kkhux fngkchnthangkhnitsastrthimikhunsmbtitrngkbthiscphcnkhxlomokrxfkahndiwthukkhx inthvsdikhwamnacaepnaebbeby scphcnkhxngkhwamnacaepnthukesnx odybruon ed fientti nkkhnitsastrchawxitaeliynaelarichard khxks nkfisikschawxemrikn ed fienttiesnxscphcnodymiaenwkhidmacakekmskarphnn swnkhxksesnxscphcnkhxngekhaodymiaenwkhidmacakkarkhyaykhwamsamarthkhxngtrrksastraebbxrisotetil singthinathungkkhux inthangptibtiodythwipaelw2 scphcnkhxngkhxlomokrxf ed fientti aelakhxks caihphllphththiehmuxnkn thng thithngsamthanmiaenwkhiderimtntangknodysineching enuxha 1 scphcnkhxngkhwamnacaepnxyangngay 2 scphcnkhxngkhwamnacaepnxyangsmburn 2 1 scphcnkhxngkhxlomokrxf 2 2 khaxthibayxyangimepnthangkar 3 hmayehtu 4 xangxingscphcnkhxngkhwamnacaepnxyangngay aekikhkahndih P x displaystyle P x epnfngkchnid thangkhnitsastr odymiodemnkhux W displaystyle Omega eracaklawwa P x displaystyle P x epnfngkchnkhxngkhwamnacaepnktxemux P x displaystyle P x mikhunsmbtitxipni P A 0 displaystyle P A geq 0 sahrb A displaystyle A thiepnsbestkhxng W displaystyle Omega P W 1 displaystyle P Omega 1 P A B P A P B displaystyle P A B P A P B sahrb A displaystyle A aela B displaystyle B thiepnsbestkhxng W displaystyle Omega aela A B displaystyle A B immismachikrwmthiehmuxnknelyxnung eracaeriykaetlasmachikin W displaystyle Omega wa ehtukarnphunthan aela sbestechn A B displaystyle A B khxng W displaystyle Omega wa ehtukarn thungaemwa imichwathuksbestid khxng W displaystyle Omega camikhunsmbtidngscphcnkhxthi 3 aetinthangptibtisbestthierarucktangkmikhunsmbtidngnncring dukhaxthibaythismburnidinhwkhxthdip scphcnkhxngkhwamnacaepnxyangsmburn aekikhnkkhnitsastrhlaythanmxng thvsdikhwamnacaepn epnsakhayxykhxngthvsdikarwd measure theory nnkhux mxng khwamnacaepn epnpriman aebbnamthrrm chnidhnungthisamarthwdidinbribthkhxngthvsdikarwd khxdikhxngkarichthvsdikarwdinkarxthibaythvsdikhwamnacaepn khux eramithvsdikarwdthnginestcakdaelaestxnnt dngnnnkkhnitsastrcungsamarthkhyaythvsdikhwamnacaepnihkwangkhun khrxbkhlumipthungkrnithiodemnkhxngfngkchnkhwamnacaepnepnestxnntidthnthi odyxangxingcakthvsdibththimixyuaelwinthvsdikarwd inbribthkhxngthvstikarwd fngkchnkhwamnacaepnxthibayiddngnikhakhwamnacaepn P displaystyle mathbb P khxngehtukarn event E displaystyle mathbf E P E displaystyle mathbb P mathbf E khunkb exkphphsmphthth universe hrux priphumikhxngkarsum sample space W displaystyle boldsymbol Omega khxngehtukarnphunthan thnghmdthiekidkhunid aela P displaystyle mathbb P nncatxngmikhunsmbtitamscphcnkhxngkhwamnacaepnphayitbribthkhxngthvsdikarwd priphumikhwamnacaepn W F P displaystyle boldsymbol Omega mathfrak F mathbb P niyamodymifngkchnkarwd P displaystyle mathbb P epnfngkchnkarwdthiimepnlbbn sikmaaexlcibra s algebra hrux sikmafild s field F displaystyle mathfrak F khxngthuksbest khxng W displaystyle boldsymbol Omega odythi P W 1 displaystyle mathbb P boldsymbol Omega 1 hmayehtu phyayamrksarupaebbkarnaesnxedimkhxng khxlomokrxf aetmikarepliyntwaepraelaekhruxnghmaythiich scphcnkhxngkhxlomokrxf aekikh tha W displaystyle boldsymbol Omega epn echtkhxngehtukarnphunthankhxngkarsum F displaystyle mathfrak F epn sikmafild s field thiniyambn W displaystyle boldsymbol Omega sahrbthuk A displaystyle mathbf A in F displaystyle mathfrak F khakhwamnacaepn P A displaystyle mathbb P mathbf A caniyamepnfngkchncanwncring aelamikhaimepncanwnlb bn F displaystyle mathfrak F P W 1 displaystyle mathbb P boldsymbol Omega 1 tha A displaystyle mathbf A aela B displaystyle mathbf B epnsxngehtukarnthiimekiywenuxngkn disjoint events aelw P A B P A P B displaystyle mathbb P mathbf A cup mathbf B mathbb P mathbf A mathbb P mathbf B smmtithankhwamtxenuxng hrux khwamsmburnkhxngkarbwk s field tha A 1 A 2 A n displaystyle mathbf A 1 A 2 ldots mathbf A n ldots epnladbkhxngehtukarnin F displaystyle mathfrak F odythi A 1 A 2 A n displaystyle mathbf A 1 supset mathbf A 2 supset ldots supset mathbf A n supset ldots aelw n A n displaystyle bigcap n mathbf A n varnothing sungkkhux lim n P A n 0 displaystyle lim n to infty mathbb P mathbf A n 0 aelacakkhx 4 aela khx 5 erasamarthphisucnidwa P n 1 A n n 1 P A n displaystyle P bigcup n 1 infty mathbf A n sum n 1 infty P A n khaxthibayxyangimepnthangkar aekikh inswnthierathukkhnruknepnxyangdiekiywkbkhwamnacaepnkkhux hakeramiehtukarn A displaystyle mathbf A id khakhwamnacaepnkhxngehtukarnnncamikha 0 P A 1 displaystyle 0 leq mathbb P mathbf A leq 1 aela khakhwamnacaepnkhxngehtukarnthiepnipidthnghmd P W 1 displaystyle mathbb P boldsymbol Omega 1 scphcnkhxngkhxlomokrxfkhangtn nxkehnuxcakcaklawthung khunsmbtikhxngfngkchnkarkahndkhakhwamnacaepnaelw yngidrabuthungokhrngsrangkhxngsingthikhakhwamnacaepncathukrabulngipxikdwy khux priphumikhxngehtukarn event space inaebbcalxngthangkhnitsastrkhxngkhwamnacaepn priphumikhxngehtukarn prakxbdwy sbest thnghmdkhxng priphumikhxngkarsum W displaystyle boldsymbol Omega thierasamarthrabukhakhwamnacaepnid odypktiaelweraxacimsamarthrabukhakhwamnacaepnkhxngthuksbestkhxng W displaystyle boldsymbol Omega id sbestthirabukhakhwamnacaepnidnixthibayinscphcnkhangtndwy fild aela sikmafildpktierasamarthsrangehtukarnthisbsxnkhuncakehtukarnxun dwykarichtwdaeninkarthangest echn hakeraphicarnaaebbcalxngkhxngkaroynluketa 1 luk odymipriphumikhxngkarsum W 1 2 3 4 5 6 displaystyle boldsymbol Omega 1 2 3 4 5 6 ehtukarnkhxngkaroynxxkaetmelkhkhi khux 1 3 5 1 3 5 displaystyle 1 3 5 1 cup 3 cup 5 ehtukarnkhxngkarxxkaetmnxykwa 4 khux 1 2 3 1 2 3 displaystyle 1 2 3 1 cup 2 cup 3 ehtukarnkhxngkarxxkaetmimnxykwa 4 khux 1 2 3 c 4 5 6 displaystyle 1 2 3 c 4 5 6 ehtukarnkhxngkarxxkaetmnxykwa 4 aela epnelkhkhi khux 1 3 5 1 2 3 1 3 displaystyle 1 3 5 cap 1 2 3 1 3 ehtukarnkhxngkarxxkaetmnxykwa 4 hrux epnelkhkhi khux 1 3 5 1 2 3 1 2 3 5 displaystyle 1 3 5 cup 1 2 3 1 2 3 5 ephraachann phllphthcakkardaeninkarthangest caidphllphthepnehtukarn khux epnsbestthisamarthrabukhwamnacaepnid mikhunsmbtipidphayitkardaeninkarthangesttwxyang phicarna W 1 2 3 4 displaystyle boldsymbol Omega 1 2 3 4 hakerasamarthrabukhakhwamnacaepnkhxngehtukarn A 1 2 3 displaystyle mathbf A 1 2 3 aela B 3 4 displaystyle mathbf B 3 4 id sbestthnghmdthisamarthhakhakhwamnacaepnid khux fild thikaenidcakehtukarnthngsxngkhangtnkhux A B 3 A c B 4 B c A B c 1 2 B 3 4 A 1 2 3 W displaystyle emptyset quad mathbf A cap mathbf B 3 quad mathbf A c cap mathbf B 4 quad mathbf B c mathbf A cap mathbf B c 1 2 quad mathbf B 3 4 quad mathbf A 1 2 3 quad boldsymbol Omega sngektwa ehtukarn 1 displaystyle 1 aela 2 displaystyle 2 nnimidxyuinpriphumikhxngehtukarn aela imsamarthrabukhakhwamnacaepnidinkrnikhxngehtukarn nbidcanwnimcakd echn karoynehriyycanwnxinfinitikhrng priphumikhxngehtukarncaxthibaydwy sikmafild sungepnklumkhxngsbestkhxngpriphumikhxngkarsum thimikhunsmbtipidphayit kardaeninkarthangest nbid canwnimcakd dubthkhwamhlkthi fild aela sikmafildhmayehtu aekikh1 aemwakhnitsastrkhxngkhwamnacaepncathukphthnakhuntngaetmanantngaet piaeyr aefrmat aebls palkal cnthung piaeyr simng laplsktam nkkhnitsastrehlaniimidkahndokhrngsrangthangkhnitsastrkhxngkhwamnacaepnxyangekhrngkhrd khlaykbkrnixxkstin hluys okhchiidniyamaekhlkhulskhxngixaesk niwtn kb kxththfrid ilbnisxyangekhrngkhrdinkhriststwrrsthi 19 nnexng2 xnung inbthkhwamniidklawwa inthangptibtiodythwip scphcnkhxngthngsamthanidihphllphthechnediywkn inthangptibti inthinihmaythungkrnithiodemnkhxngfngkchnkhwamnacaepn epnestcakd thaihpraedneruxng karbwkidechingestcakd finite additivity aela karbwkidechingestxnntnbid countably additivity khxngthvsdikarwdimsngphltxkarichnganscphcn inhnngsuxkhxngexdwin thxmpsn ecns Jaynes 2003 idwiekhraahkhwamehmuxn khwamaetktang aenwkhid aelaprchya khxngkhxlomokrxf ed fientti aelakhxks iwxyanglaexiydinphakhphnwk rwmthngyngnaesnxwithikarsngekhraahscphcnkhxngkhxksxyanglaexiydcak khwamtxngkarphunthanthismehtusmphl khxngthvstikhwamnacaepnaebbebyxikdwyxangxing aekikhKolmogorov A N Andrei Nikolaevich Foundations of the theory of probability translation edited by Nathan Morrison New York Chelsea Pub Co 1950 de Finetti B Probability induction and statistics The art of guessing John Wiley amp Sons Ltd 1972 Jaynes E T 2003 Probability Theory The Logic of Science ekhathungcak https th wikipedia org w index php title scphcnkhxngkhwamnacaepn amp oldid 4926937, wikipedia, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด,

บทความ

, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม