fbpx
วิกิพีเดีย

สุขภาวะทางเพศ

สุขภาวะทางเพศ (อังกฤษ: sexual wellbeing) หมายถึง การมีชีวิตทางเพศที่เป็นสุขและปลอดภัย

ระดับของสุขภาวะทางเพศ

สุขภาวะทางเพศจึงแบ่งเป็น 2 ระดับ คือ ระดับปัจเจกบุคคลและระดับสังคม

สุขภาวะทางเพศระดับบุคคล
หมายถึง การที่บุคคลสามารถแสดงออกทางเพศและตัดสินใจด้วยตนเองโดยอิสระและไม่เบียดเบียนผู้อื่น มีความเคารพต่อวิถีทางเพศที่แตกต่างจากตน มีสัมพันธภาพทางเพศที่ปลอดภัยและมีความพึงพอใจ โดยปราศจากการบังคับ การเลือกปฏิบัติ และความรุนแรง โดยมีความคิดเชิงบวกต่อเรื่องเพศและสัมพันธภาพทางเพศ
สุขภาวะทางเพศระดับสังคม
หมายถึง การที่สังคมมีองค์ประกอบที่สร้างเสริมสุขภาวะทางเพศของคนในสังคมนั้น ประกอบด้วย การมีรัฐบาลที่ตระหนักว่าสุขภาวะทางเพศเป็นสิทธิพื้นฐานของบุคคล และแสดงความรับผิดชอบที่จะสนับสนุนสุขภาวะทางเพศ โดยกำหนดนโยบาย และกฎหมายที่คุ้มครองสิทธิทางเพศของพลเมืองอย่างชัดเจน การให้การศึกษาเรื่องเพศที่เหมาะสมกับวัยและเพศตลอดช่วงอายุ การมีโครงสร้างพื้นฐานที่เพียงพอต่อการให้บริการทางสังคมและสุขภาพ การศึกษาวิจัยและระบบเฝ้าระวังที่รอบด้าน และเพียงพอให้เกิดการป้องกันปัญหาสุขภาพอย่างเหมาะสม และเป็นสังคมที่เปิดกว้าง และให้ความสำคัญแก่สุขภาวะทางเพศของสมาชิกในสังคม


คำนิยาม

“สุขภาวะทางเพศ” ทั้งสองระดับสะท้อนความเชื่อมโยงซึ่งกันและกันของแนวคิดเพศภาวะ เพศวิถี และสิทธิ (genders, sexualities, rights based approach) ซึ่งมีนัยยะว่า การสร้างเสริมสุขภาวะทางเพศต้องคำนึงถึงความหลากหลายของวิถีทางเพศของคนในสังคม ต้องคำนึงว่าชีวิตทางเพศของคนในสังคมเป็นสิ่งที่ได้รับอิทธิพลจากระบบความเชื่อและคุณค่าหลายระบบ และที่มีอิทธิพลมากคือระบบความเชื่อและคุณค่าที่เกี่ยวข้องกับ ภาวะความเป็นผู้หญิง/ความเป็นผู้ชาย ต้องคำนึงว่าความแตกต่างหลากหลายเหล่านี้ไม่ใช่สิ่งผิดปกติ และเป็นสิ่งที่สามารถแปรเปลี่ยนตามกาลเวลาและประสบการณ์ในชีวิต และต้องคำนึงว่า “เพศ” เป็นองค์ประกอบพื้นฐานของการใช้ชีวิต การเคารพสิทธิทางเพศของตนเองและผู้อื่นเป็นส่วนหนึ่งของการเคารพศักดิ์ศรีความเป็นมนุษย์ และเป็นความจำเป็นสำหรับคนทุกเพศทุกวัยที่จะทำให้สามารถใช้ชีวิตอย่างมีความสุขและมีสุขภาพดี


แนวคิดที่เกี่ยวข้อง

สำหรับแนวคิดเพศภาวะ (gender) เพศวิถี (sexuality) และสิทธิ (rights) ที่นำมาใช้เป็นกรอบในการสร้างเสริมสุขภาวะทางเพศระดับบุคคลและสังคมนั้น มีรายละเอียด ดังนี้

เพศภาวะ (Gender)

เพศภาวะ (Gender) หมายถึง ภาวะความเป็นหญิง เป็นชาย ที่ไม่ได้ถูกกำหนดโดยระบบชีววิทยา แต่ถูกกำหนดโดยปัจจัยทางวัฒนธรรม สังคม และอื่นๆ ทำให้สังคมเกิดความคาดหวังต่อความเป็นหญิงและชายในแง่มุมเฉพาะต่างๆ และมีส่วนกำหนดความเชื่อ ทัศนคติ มายาคติ (myth) รวมทั้งประเพณีปฏิบัติต่างๆ ที่ถูกทำให้กลายเป็นบรรทัดฐานของสังคมในเรื่องของความเป็นหญิงเป็นชาย เพศภาวะเป็นสิ่งที่แตกต่างกันไปในแต่ละวัฒนธรรม เปลี่ยนแปลงไปตามกาลเวลา เช่น ผู้หญิงไทยในยุครัตนโกสินทร์ตอนต้นนิยมแต่งกายโดยนุ่งโจงกระเบนและไว้ผมสั้นเหมือนกับผู้ชาย จนชาวต่างชาติไม่สามารถแยกแยะคนไทยเพศหญิงและชายออกจากกันได้ ปัญหาของการทำความเข้าใจเพศภาวะ คือ ความเข้าใจผิดที่ว่า เพศสรีระเป็นตัวกำหนดเพศภาวะของบุคคล

เพศวิถี (Sexuality)

เพศวิถี (Sexuality) หมายถึง ค่านิยม บรรทัดฐาน และระบบวิธีคิด วิธีปฏิบัติที่เกี่ยวกับความปรารถนาและการแสดงออกทางเพศ ความคิดเกี่ยวกับคู่รัก คู่ชีวิตในอุดมคติ ซึ่งไม่ใช่พฤติกรรมตามธรรมชาติ แต่เป็นการสร้างความหมายทางสังคม เพศวิถีจึงสัมพันธ์กับมิติทางการเมือง เศรษฐกิจ สังคม และวัฒนธรรมที่กำหนดและสร้างความหมายให้แก่เรื่องเพศในทุกแง่มุม เช่น “ความปกติ” ของการเป็นคนรักต่างเพศ “ความผิดปกติ” ของคนรักเพศเดียวกัน หรือ “ผู้หญิงดี” คือผู้ที่อ่อนประสบการณ์ หรือเป็นฝ่ายรับในเรื่องเพศ (passive) เพศสัมพันธ์ในรูปแบบต่าง ๆ เช่น การมีเพศสัมพันธ์กับคนเพียงคนเดียว หรือหลายคน การมีเพศสัมพันธ์ที่ปลอดภัย/ไม่ปลอดภัย รักต่างวัย รักนอกสมรส ทั้งหมดนี้เป็นตัวอย่างของเพศวิถี ซึ่งมีความหลากหลาย เพศวิถีเป็นสิ่งที่เปลี่ยนแปลงไปในแต่ละวัฒนธรรม ชนชั้น และกาลเวลา เช่น เพศวิถีในสมัยต้นรัตนโกสินทร์มองว่าการที่ผู้หญิงนุ่งผ้าซิ่น ห่มสไบผืนเล็กปกปิดร่างกายส่วนบน ไม่ถือว่าโป๊ หรือเป็นผู้หญิงใจแตก ใจง่ายแต่อย่างใด


สุขภาวะทางเพศและสิทธิต่างๆ

สิทธิทางเพศ

สิทธิทางเพศ หรือ sexual rights คือสิทธิของบุคคลที่ถูกระบุไว้แล้วในกฎหมายและข้อตกลงต่างๆทั้งในระดับประเทศและนานาชาติ เป็นสิทธิของคนทุกคนที่ต้องได้รับโดยไม่ถูกเลือกปฏิบัติ ไม่มีการบังคับ และไม่มีความรุนแรงในเรื่องต่อไปนี้คือ

  • การได้รับบริการด้านสุขภาพทางเพศและอนามัยการเจริญพันธุ์ที่มีมาตรฐาน
  • การได้รับข้อมูลที่ถูกต้องเกี่ยวกับวิถีทางเพศ
  • การได้รับการให้การศึกษาเรื่องวิถีทางเพศ
  • การควบคุมเนื้อตัวร่างกายของตนเอง
  • การเลือกคู่ครอง
  • การตัดสินใจว่าจะมีเพศสัมพันธ์หรือไม่มี
  • การสมัครใจมีความสัมพันธ์ทางเพศ
  • การสมัครใจที่จะแต่งงาน
  • การตัดสินใจว่าจะมีบุตรหรือไม่และมีเมื่อใด
  • การมีชีวิตด้านเพศที่พึงพอใจและปลอดภัย

สิทธิอนามัยเจริญพันธุ์

สิทธิอนามัยเจริญพันธุ์ หรือ reproductive rights คือสิทธิที่ถูกระบุไว้แล้วในกฎหมายและข้อตกลงต่างๆทั้งในระดับประเทศและนานาชาติ เป็นสิทธิพื้นฐานของบุคคลและของคู่สมรส ประกอบด้วยสิทธิมนุษยชน 12 ประการคือ สิทธิในชีวิต สิทธิในเสรีภาพและความปลอดภัยของบุคคล สิทธิในความเสมอภาคและความเป็นอิสระจากการเลือกปฏิบัติในทุกรูปแบบ สิทธิในความเป็นส่วนตัวสิทธิในเสรีภาพแห่งความคิด สิทธิในการได้รับข้อมูลข่าวสารและการศึกษา สิทธิในการเลือกว่าจะสมรสหรือไม่และสิทธิในการวางรากฐานและการวางแผนครอบครัว สิทธิในการตัดสินใจว่าจะมีบุตรหรือไม่และจะมีเมื่อใด สิทธิในการดูแลและป้องกันสุขภาพ สิทธิในการได้รับประโยชน์จากความก้าวหน้าทางวิทยาศาสตร์ สิทธิในเสรีภาพในการชุมนุมและการมีส่วนร่วมทางการเมือง สิทธิในการปลอดจากการถูกทารุณกรรมและการปฏิบัติมิชอบ


กติกาสิทธิมนุษยชนสากลที่เกี่ยวข้อง

กติกาสิทธิมนุษยชนที่ให้ความคุ้มครองสิทธิอนามัยเจริญพันธุ์ ตามที่รัฐบาลไทยได้ลงนามรับรองประกอบด้วย

  • ปฏิญญาสากลว่าด้วยสิทธิมนุษยชน พ.ศ. 2491 (Universal Declaration of Human Rights-UDHR, 1948)
  • กติกาสากลว่าด้วยสิทธิพลเมืองและสิทธิทางการเมือง (International Covenant on Civil and Political Rights-ICCPR,1966)
  • แผนปฏิบัติการประชากรและการพัฒนา พ.ศ. 2537 (Program of Action of the International Conference on Population and Development-ICPD,1994)
  • แผนปฏิบัติการเพื่อความก้าวหน้าของสตรี จากการประชุมระดับโลกว่าด้วยเรื่องผู้หญิงที่กรุงปักกิ่ง ปี 2538 (Beijing Platform for Action-BPFA, 1995)
  • อนุสัญญาว่าด้วยการขจัดการเลือกปฏิบัติต่อสตรีในทุกรูปแบบ หรือ อนุสัญญาผู้หญิง (Convention on the Elimination of All Forms of Discrimination against Women-CEDAW, 1979)
  • กติการะหว่างประเทศว่าด้วยสิทธิทางเศรษฐกิจ สังคม วัฒนธรรม (International Covenant on Economic, Social and Cultural s-ICESCR,1966)
  • ปฏิญญาและแผนปฏิบัติการเวียนนา (Vienna Declaration and Program of Action, 1993)

มติสุขภาวะทางเพศ

การจัดทำข้อเสนอเชิงนโยบายสุขภาวะทางเพศ 3 ด้าน คือ ความรุนแรงทางเพศ การตั้งครรภ์ที่ไม่พร้อม และเรื่องเพศกับเอดส์/โรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ เกิดขึ้นจากความตระหนักว่าประเด็นสุขภาวะทางเพศเป็นประเด็นเร่งด่วนที่สังคมต้องให้ความสำคัญ เพราะมีแนวโน้มขยายตัว ทวีความรุนแรง และซับซ้อนมากขึ้น จนกลายเป็นปัญหาระดับประเทศที่ส่งผลกระทบต่อสุขภาพทั้งทางกาย ใจ และสังคม เครือข่ายสุขภาวะทางเพศ และเครือข่ายทางเลือกของผู้หญิงที่ท้องไม่พร้อม จึงนำเสนอประเด็นสุขภาวะทางเพศ 3 ด้าน ต่อคณะกรรมการสุขภาพแห่งชาติ (คสช.) เพื่อให้พิจารณาบรรจุในการประชุมสมัชชาสุขภาพแห่งชาติปี 2551 ซึ่งก็ได้รับคัดเลือกให้เป็น 1 ใน 14 ประเด็น จากประเด็นที่เสนอเข้าสู่การพิจารณาทั้งหมดประมาณ 60 ประเด็น

เครือข่ายทางเลือกของผู้หญิงที่ท้องไม่พร้อมและเครือข่ายสุขภาวะทางเพศ ได้ร่วมกันจัดกระบวนการขับเคลื่อนทางสังคมร่วมกับภาคีเครือข่ายต่างๆ เพื่อจัดทำข้อเสนอเชิงนโยบายที่มาจากความเห็นและมุมมองที่หลากหลายและเป็นไปอย่างมีส่วนร่วมจากภาคีเครือข่ายที่ทำงานประเด็นที่เกี่ยวข้องทั้ง 3 ด้าน โดยได้จัดเวทีสมัชชาสุขภาวะทางเพศขึ้น 3 ครั้ง ซึ่งในระหว่างกระบวนการนี้ ก็ได้จัดให้มีทีมวิชาการรวบรวมข้อมูลเชิงสถานการณ์เพื่อนำเสนอในเวทีสมัชชาสุขภาวะทางเพศทั้ง 3 ครั้ง รวมทั้ง นำความเห็นของภาคีเครือข่ายไปพัฒนาข้อเสนอเชิงนโยบายสุขภาวะทางเพศ เพื่อนำเสนอต่อคณะกรรมการสุขภาพแห่งชาติ และที่ประชุมสมัชชาสุขภาพแห่งชาติ ครั้งที่ 1 พ.ศ. 2551 ซึ่งจัดขึ้น ณ ศูนย์การประชุมสหประชาชาติ ถ.ราชดำเนินนอก กรุงเทพฯ ระหว่างวันที่ 11-13 ธันวาคม 2551 ได้ให้การรับรองมติสุขภาวะทางเพศตามที่เครือข่ายเสนอ และคณะรัฐมนตรีได้มีมติรับรองมติสมัชชาสุขภาพแห่งชาติทั้ง 14 ประเด็นในการประชุมคณะรัฐมนตรีเมื่อมิถุนายน 2552

อ้างอิง

  • เอกสารแผนงานสร้างเสริมสุขภาวะทางเพศ สำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.)

แหล่งข้อมูลอื่น

  1. Defining sexual health. Report of a Technical Consultation on Sexual Health. Geneva, World Health Organization, 2005 (in press).
  2. สำนักงานคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ และมูลนิธิสร้างความเข้าใจเรื่องสุขภาพผู้หญิง. สิทธิอนามัยเจริญพันธุ์ หัวใจสำคัญของสุขภาพผู้หญิง . 2550

ขภาวะทางเพศ, งกฤษ, sexual, wellbeing, หมายถ, การม, ตทางเพศท, เป, นส, ขและปลอดภ, เน, อหา, ระด, บของ, คำน, ยาม, แนวค, ดท, เก, ยวข, อง, เพศภาวะ, gender, เพศว, sexuality, และส, ทธ, างๆ, ทธ, ทางเพศ, ทธ, อนาม, ยเจร, ญพ, นธ, กต, กาส, ทธ, มน, ษยชนสากลท, เก, ยวข, อง, ม. sukhphawathangephs xngkvs sexual wellbeing hmaythung karmichiwitthangephsthiepnsukhaelaplxdphy enuxha 1 radbkhxngsukhphawathangephs 2 khaniyam 3 aenwkhidthiekiywkhxng 3 1 ephsphawa Gender 3 2 ephswithi Sexuality 4 sukhphawathangephsaelasiththitang 4 1 siththithangephs 4 2 siththixnamyecriyphnthu 5 ktikasiththimnusychnsaklthiekiywkhxng 6 mtisukhphawathangephs 7 xangxing 8 aehlngkhxmulxunradbkhxngsukhphawathangephs aekikhsukhphawathangephscungaebngepn 2 radb khux radbpceckbukhkhlaelaradbsngkhm sukhphawathangephsradbbukhkhl hmaythung karthibukhkhlsamarthaesdngxxkthangephsaelatdsinicdwytnexngodyxisraaelaimebiydebiynphuxun mikhwamekharphtxwithithangephsthiaetktangcaktn mismphnthphaphthangephsthiplxdphyaelamikhwamphungphxic odyprascakkarbngkhb kareluxkptibti aelakhwamrunaerng odymikhwamkhidechingbwktxeruxngephsaelasmphnthphaphthangephssukhphawathangephsradbsngkhm hmaythung karthisngkhmmixngkhprakxbthisrangesrimsukhphawathangephskhxngkhninsngkhmnn prakxbdwy karmirthbalthitrahnkwasukhphawathangephsepnsiththiphunthankhxngbukhkhl aelaaesdngkhwamrbphidchxbthicasnbsnunsukhphawathangephs odykahndnoybay aelakdhmaythikhumkhrxngsiththithangephskhxngphlemuxngxyangchdecn karihkarsuksaeruxngephsthiehmaasmkbwyaelaephstlxdchwngxayu karmiokhrngsrangphunthanthiephiyngphxtxkarihbrikarthangsngkhmaelasukhphaph karsuksawicyaelarabbefarawngthirxbdan aelaephiyngphxihekidkarpxngknpyhasukhphaphxyangehmaasm aelaepnsngkhmthiepidkwang aelaihkhwamsakhyaeksukhphawathangephskhxngsmachikinsngkhmkhaniyam aekikh sukhphawathangephs thngsxngradbsathxnkhwamechuxmoyngsungknaelaknkhxngaenwkhidephsphawa ephswithi aelasiththi genders sexualities rights based approach sungminyyawa karsrangesrimsukhphawathangephstxngkhanungthungkhwamhlakhlaykhxngwithithangephskhxngkhninsngkhm txngkhanungwachiwitthangephskhxngkhninsngkhmepnsingthiidrbxiththiphlcakrabbkhwamechuxaelakhunkhahlayrabb aelathimixiththiphlmakkhuxrabbkhwamechuxaelakhunkhathiekiywkhxngkb phawakhwamepnphuhying khwamepnphuchay txngkhanungwakhwamaetktanghlakhlayehlaniimichsingphidpkti aelaepnsingthisamarthaeprepliyntamkalewlaaelaprasbkarninchiwit aelatxngkhanungwa ephs epnxngkhprakxbphunthankhxngkarichchiwit karekharphsiththithangephskhxngtnexngaelaphuxunepnswnhnungkhxngkarekharphskdisrikhwamepnmnusy aelaepnkhwamcaepnsahrbkhnthukephsthukwythicathaihsamarthichchiwitxyangmikhwamsukhaelamisukhphaphdiaenwkhidthiekiywkhxng aekikhsahrbaenwkhidephsphawa gender ephswithi sexuality aelasiththi rights thinamaichepnkrxbinkarsrangesrimsukhphawathangephsradbbukhkhlaelasngkhmnn miraylaexiyd dngni ephsphawa Gender aekikh ephsphawa Gender hmaythung phawakhwamepnhying epnchay thiimidthukkahndodyrabbchiwwithya aetthukkahndodypccythangwthnthrrm sngkhm aelaxun thaihsngkhmekidkhwamkhadhwngtxkhwamepnhyingaelachayinaengmumechphaatang aelamiswnkahndkhwamechux thsnkhti mayakhti myth rwmthngpraephniptibtitang thithukthaihklayepnbrrthdthankhxngsngkhmineruxngkhxngkhwamepnhyingepnchay ephsphawaepnsingthiaetktangknipinaetlawthnthrrm epliynaeplngiptamkalewla echn phuhyingithyinyukhrtnoksinthrtxntnniymaetngkayodynungocngkraebnaelaiwphmsnehmuxnkbphuchay cnchawtangchatiimsamarthaeykaeyakhnithyephshyingaelachayxxkcakknid pyhakhxngkarthakhwamekhaicephsphawa khux khwamekhaicphidthiwa ephssriraepntwkahndephsphawakhxngbukhkhl ephswithi Sexuality aekikh ephswithi Sexuality hmaythung khaniym brrthdthan aelarabbwithikhid withiptibtithiekiywkbkhwamprarthnaaelakaraesdngxxkthangephs khwamkhidekiywkbkhurk khuchiwitinxudmkhti sungimichphvtikrrmtamthrrmchati aetepnkarsrangkhwamhmaythangsngkhm ephswithicungsmphnthkbmitithangkaremuxng esrsthkic sngkhm aelawthnthrrmthikahndaelasrangkhwamhmayihaekeruxngephsinthukaengmum echn khwampkti khxngkarepnkhnrktangephs khwamphidpkti khxngkhnrkephsediywkn hrux phuhyingdi khuxphuthixxnprasbkarn hruxepnfayrbineruxngephs passive ephssmphnthinrupaebbtang echn karmiephssmphnthkbkhnephiyngkhnediyw hruxhlaykhn karmiephssmphnththiplxdphy implxdphy rktangwy rknxksmrs thnghmdniepntwxyangkhxngephswithi sungmikhwamhlakhlay ephswithiepnsingthiepliynaeplngipinaetlawthnthrrm chnchn aelakalewla echn ephswithiinsmytnrtnoksinthrmxngwakarthiphuhyingnungphasin hmsibphunelkpkpidrangkayswnbn imthuxwaop hruxepnphuhyingicaetk icngayaetxyangidsukhphawathangephsaelasiththitang aekikhsiththithangephs aekikh siththithangephs hrux sexual rights khuxsiththikhxngbukhkhlthithukrabuiwaelwinkdhmayaelakhxtklngtangthnginradbpraethsaelananachati epnsiththikhxngkhnthukkhnthitxngidrbodyimthukeluxkptibti immikarbngkhb aelaimmikhwamrunaerngineruxngtxipnikhux 1 karidrbbrikardansukhphaphthangephsaelaxnamykarecriyphnthuthimimatrthan karidrbkhxmulthithuktxngekiywkbwithithangephs karidrbkarihkarsuksaeruxngwithithangephs karkhwbkhumenuxtwrangkaykhxngtnexng kareluxkkhukhrxng kartdsinicwacamiephssmphnthhruximmi karsmkhricmikhwamsmphnththangephs karsmkhricthicaaetngngan kartdsinicwacamibutrhruximaelamiemuxid karmichiwitdanephsthiphungphxicaelaplxdphysiththixnamyecriyphnthu aekikh siththixnamyecriyphnthu hrux reproductive rights khuxsiththithithukrabuiwaelwinkdhmayaelakhxtklngtangthnginradbpraethsaelananachati epnsiththiphunthankhxngbukhkhlaelakhxngkhusmrs prakxbdwysiththimnusychn 12 prakarkhux siththiinchiwit siththiinesriphaphaelakhwamplxdphykhxngbukhkhl siththiinkhwamesmxphakhaelakhwamepnxisracakkareluxkptibtiinthukrupaebb siththiinkhwamepnswntwsiththiinesriphaphaehngkhwamkhid siththiinkaridrbkhxmulkhawsaraelakarsuksa siththiinkareluxkwacasmrshruximaelasiththiinkarwangrakthanaelakarwangaephnkhrxbkhrw siththiinkartdsinicwacamibutrhruximaelacamiemuxid siththiinkarduaelaelapxngknsukhphaph siththiinkaridrbpraoychncakkhwamkawhnathangwithyasastr siththiinesriphaphinkarchumnumaelakarmiswnrwmthangkaremuxng siththiinkarplxdcakkarthuktharunkrrmaelakarptibtimichxbktikasiththimnusychnsaklthiekiywkhxng aekikhktikasiththimnusychnthiihkhwamkhumkhrxngsiththixnamyecriyphnthu tamthirthbalithyidlngnamrbrxngprakxbdwy 2 ptiyyasaklwadwysiththimnusychn ph s 2491 Universal Declaration of Human Rights UDHR 1948 ktikasaklwadwysiththiphlemuxngaelasiththithangkaremuxng International Covenant on Civil and Political Rights ICCPR 1966 aephnptibtikarprachakraelakarphthna ph s 2537 Program of Action of the International Conference on Population and Development ICPD 1994 aephnptibtikarephuxkhwamkawhnakhxngstri cakkarprachumradbolkwadwyeruxngphuhyingthikrungpkking pi 2538 Beijing Platform for Action BPFA 1995 xnusyyawadwykarkhcdkareluxkptibtitxstriinthukrupaebb hrux xnusyyaphuhying Convention on the Elimination of All Forms of Discrimination against Women CEDAW 1979 ktikarahwangpraethswadwysiththithangesrsthkic sngkhm wthnthrrm International Covenant on Economic Social and Cultural s ICESCR 1966 ptiyyaaelaaephnptibtikarewiynna Vienna Declaration and Program of Action 1993 mtisukhphawathangephs aekikhkarcdthakhxesnxechingnoybaysukhphawathangephs 3 dan khux khwamrunaerngthangephs kartngkhrrphthiimphrxm aelaeruxngephskbexds orkhtidtxthangephssmphnth ekidkhuncakkhwamtrahnkwapraednsukhphawathangephsepnpraednerngdwnthisngkhmtxngihkhwamsakhy ephraamiaenwonmkhyaytw thwikhwamrunaerng aelasbsxnmakkhun cnklayepnpyharadbpraethsthisngphlkrathbtxsukhphaphthngthangkay ic aelasngkhm ekhruxkhaysukhphawathangephs aelaekhruxkhaythangeluxkkhxngphuhyingthithxngimphrxm cungnaesnxpraednsukhphawathangephs 3 dan txkhnakrrmkarsukhphaphaehngchati khsch ephuxihphicarnabrrcuinkarprachumsmchchasukhphaphaehngchatipi 2551 sungkidrbkhdeluxkihepn 1 in 14 praedn cakpraednthiesnxekhasukarphicarnathnghmdpraman 60 praednekhruxkhaythangeluxkkhxngphuhyingthithxngimphrxmaelaekhruxkhaysukhphawathangephs idrwmkncdkrabwnkarkhbekhluxnthangsngkhmrwmkbphakhiekhruxkhaytang ephuxcdthakhxesnxechingnoybaythimacakkhwamehnaelamummxngthihlakhlayaelaepnipxyangmiswnrwmcakphakhiekhruxkhaythithanganpraednthiekiywkhxngthng 3 dan odyidcdewthismchchasukhphawathangephskhun 3 khrng sunginrahwangkrabwnkarni kidcdihmithimwichakarrwbrwmkhxmulechingsthankarnephuxnaesnxinewthismchchasukhphawathangephsthng 3 khrng rwmthng nakhwamehnkhxngphakhiekhruxkhayipphthnakhxesnxechingnoybaysukhphawathangephs ephuxnaesnxtxkhnakrrmkarsukhphaphaehngchati aelathiprachumsmchchasukhphaphaehngchati khrngthi 1 ph s 2551 sungcdkhun n sunykarprachumshprachachati th rachdaeninnxk krungethph rahwangwnthi 11 13 thnwakhm 2551 idihkarrbrxngmtisukhphawathangephstamthiekhruxkhayesnx aelakhnarthmntriidmimtirbrxngmtismchchasukhphaphaehngchatithng 14 praedninkarprachumkhnarthmntriemuxmithunayn 2552xangxing aekikhexksaraephnngansrangesrimsukhphawathangephs sankngankxngthunsnbsnunkarsrangesrimsukhphaph sss aehlngkhxmulxun aekikhhttp choicesforum wordpress com ekhruxkhaythangeluxkkhxngphuhyingthithxngimphrxm http www samatcha org smchchasukhphaphaehngchati ph s 2551 http www nsm or th xngkhkarphiphithphnthwithyasastraehngchati xphwch http www semsikkha org esmsikkhaly http www teenpath net sukhphawathangephskhxngphuhying http www whaf or th mulnithisrangkhwamekhaiceruxngsukhphaphphuhying Defining sexual health Report of a Technical Consultation on Sexual Health Geneva World Health Organization 2005 in press sankngankhnakrrmkarsiththimnusychnaehngchati aelamulnithisrangkhwamekhaiceruxngsukhphaphphuhying siththixnamyecriyphnthu hwicsakhykhxngsukhphaphphuhying 2550ekhathungcak https th wikipedia org w index php title sukhphawathangephs amp oldid 3005626, wikipedia, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด,

บทความ

, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม