fbpx
วิกิพีเดีย

หอสมุดอะยาตุลลอฮ์มัรอะชีย์นะญะฟีย์

หอสมุด อะยาตุลลอฮ์ มัรอะชีย์ นะญะฟีย์ (เปอร์เซีย: کتابخانه آیت‌الله مرعشی نجفی‎; Ayatollah Marashi Najafi ) เป็นหนึ่งในหอสมุดขนาดใหญ่ในอิหร่าน ปัจจุบันหอสมุดแห่งนี้มีหนังสือที่ตีพิมพ์มากกว่า 1,000,000 เล่ม และต้นฉบับที่เขียนด้วยมือ 42,000 ฉบับ

หอสมุดอะยาตุลลอฮ์มัรอะชีย์นะญะฟีย์
หอสมุดอะยาตุลลอฮ์ มัรอะชีย์ นะญะฟีย์ ในเมืองโกม
ประเทศอิหร่าน
ประเภทสาธารณะ
ก่อตั้งพ.ศ. 2506
Reference to legal mandateมติที่ 205 ของสภาสูงสุดแห่งการปฏิวัติทางวัฒนธรรม (พ.ศ. 2540)
พิกัดภูมิศาสตร์34°38′20″N 50°52′38″E / 34.638999°N 50.8772222°E / 34.638999; 50.8772222
ข้อมูลอื่น
ผู้อำนวยการมะฮ์มูด มัรอะชีย์ นะญะฟีย์

ผู้ก่อตั้ง

หอสมุดนี้ได้ก่อตั้งและพัฒนาขึ้นโดยค่าใช้จ่ายของมัรอะชีย์ นะญะฟีย์ นักวิชาการชาวชีอะฮ์ในปีศักราชอิหร่าน 1344 (ค.ศ. 1965–66) ดังในพินัยกรรมที่ติดไว้บนหลุมฝังศพของเขาที่เขียนว่า

จงฝังฉันไว้ในหอสมุดสาธารณะใต้เท้านักค้นคว้าวิชาการของวงศ์วานมุฮัมหมัด

ท่านได้อธิบายถึงแรงบันดาลใจในการรวบรวมหนังสือและการจัดตั้งหอสมุดว่า “วันหนึ่งฉันกำลังเดินผ่านกัยศะรียะฮ์แห่งเมืองนะญัฟ ฉันได้เห็นนักวิชาการกลุ่มหนึ่งได้รวมตัวกัน ณ สถานแห่งหนึ่ง... ฉันเห็นว่ามีคนหนึ่งยืนบนไม้ และกำลังเสนอขายหนังสือต่าง ๆ ในราคาที่ถูกมาก... ฉันยืนดูอยู่ครู่หนึ่ง เห็นว่าหนังสือส่วนมากนั้นเกี่ยวกับอิสลามและเป็นหนังสือของชีอะฮ์ซึ่งบุคคลหนึ่งชื่อว่า กาซิม ได้ซื้อไปเป็นจำนวนมาก... ฉันจึงถามผู้คนว่าเขาเป็นใครกัน ? พวกเขาตอบว่า เขาเป็นตัวแทนกงสุลอังกฤษ ณ เมืองแบกแดด ฉันแอบคิดว่า... เขาซื้อมันไปเพื่อทำลาย หรือต้องการรวบรวมแหล่งข้อมูลชั้นต้นของชีอะฮ์ที่เคยอยู่ในมือบรรดาอุละมา (ผู้รู้) จนกระทั้งว่าพวกเราไม่สามารถหามาอ้างอิงได้ (ในภายหลัง) เช่นหนังสือ มะดีนะตุลอิล ของเชคซอดูก ที่ท่านได้เขียนขึ้นเองและอธิบายเอาไว้ หากหนังสือเล่มนี้อยู่ในมือของเรา เราก็ไม่ต้องพึ่งพา กุตุบอัรบะอะฮ์” ในช่วงชีวิตของมัรอะชีย์ นะญะฟีย์ ท่านได้เขียนหนังสือกว่า 148 เล่ม ซึ่งคำวินิจฉัยบทความเคยได้รับการนำเสนอแต่โดยส่วนมากยังไม่ได้ตีพิมพ์จนถึงปัจจุบัน มัรอะชีย์ นะญะฟีย์ เสียชีวิตไม่นานหลังจากพิธีวางศิลาฤกษ์ของอาคารห้องสมุดหลังใหม่ในปี พ.ศ. 2532

ประวัติความเป็นมาและการบริหารจัดการ

ซัยยิด มะฮ์มูด มัรอะขีย์ บุตรชายของมัรอะชีย์ นะญะฟีย์ ผู้บริหารห้องสมุดกล่าวว่า “ในแง่คุณภาพของหนังสือฉบับต่าง ๆ ที่บันทึกด้วยความประณีตและมีความเก่าแก่อย่างมาก นับได้ว่าเป็นหอสมุดที่ใหญ่ที่สุดในอิหร่าน และเป็นหอสมุดที่ใหญ่เป็นอันดับสามของโลกอิสลาม และถูกรู้จักในนามศูนย์กลางวัฒนธรมมนานาชาติโลก” หอสมุดนี้ตั้งอยู่ในเมืองโกม (Qom) ห่างจากฮะรัมท่านหญิงฟาติมะฮ์ มะอ์ซูมะฮ์ (Fatima Masomeh) 100 เมตร ซึ่งสุสานของผู้ก่อตั้งก็อยู่ใกล้ ๆ กัน หอสมุดก่อตั้งขึ้นเมื่อปี พ.ศ. 2506 และได้รับการพัฒนาใน พ.ศ. 2522 และ 2531 นักวิชาการที่ได้ใช้ประโยชน์จากห้องสมุดนี้ได้แก่ อับบาส อิกบาล ออชติยานีย์ (Abbas Iqbal Ashtiani) บะดีอุซซะมาน ฟุรูซานฟัร (Badi'al Zaman Foruzanfar) และออกอ โบโซร เตหะรานีย์ (Aqa Taherani) หอสมุดนี้ได้รับทุนสร้างโดยมัรอะชีย์ นะญะฟีย์ และทายาท รวมทั้งจากองค์การการกุศลอื่น ๆ จนแล้วเสร็จในปี พ.ศ. 2540 ตั้งแต่ปีดังกล่าวหอสมุดกลายเป็นขององค์กรเอกชนโดยไม่เกี่ยวข้องกับรัฐ ซึ่งได้รับงบประมาณประจำปีทุกปี หอสมุดนี้อยู่ภายใต้กฎหมายลิขสิทธิ์, และสอดคล้องกับมติที่ 205 ของสภาสูงสุดแห่งการปฏิวัติทางวัฒนธรรม, กระทรวงวัฒนธรรมและแนวทางอิสลาม ซึ่งหากมีการจัดพิมพ์หนังสือในประเทศอิหร่าน ทางผู้จัดจำหน่ายจำเป็นต้องมอบสำเนาหนังสือหรือสิ่งพิมพ์ที่เผยแพร่ดังกล่าวไปยังหอสมุดด้วย การบริหารจัดการหอสมุดเป็นไปตามความประสงค์ของมัรอะชีย์ นะยะฟีย์ คือให้คนในครอบครัวเป็นผู้ดูแลจัดการ อิมามโคมัยนีย์ได้กล่าวถึงหอสมุดแห่งนี้ว่า “หอสมุดอายาตุลลอฮ์ นะญะฟีย์ มัรอะชีย์ เป็นหอสมุดที่ไม่เหมือนกับห้องสมุดอื่น ๆ และสามารถกล่าวได้ว่าในอิหร่าน มีอยู่ที่เดียวเท่านั้น” ในหนังสือเรียนภาษาเปอร์เซีย ม. 2 บทเรียนที่ 28 ได้กล่าวถึงรายงานการเยี่ยมชมหอสมุดดังกล่าว เพื่อให้นักเรียนได้ศึกษาทำความรู้จัก ผู้อำนวยการหอสมุดได้กล่าวถึงการเยี่ยมชมของบรรดานักพรตชาวยิวเมื่อเห็นหนังสือที่เขียนด้วยภาษาฮีบรูว่า “ได้มีคอคอม (พระยิว จากสหรัฐ 3 คน และอังกฤษ 2 คน) ได้มาเยือนอิหร่าน โดยพวกเขามีเวลาเยี่ยมชมเมืองโกม 3 ชั่วโมง ลำดับแรกพวกเขาได้มายังหอสมุดแห่งนี้ เมื่อพวกเขามองเห็นตำราฉบับลายมือ โดยเฉพาะฉบับที่เขียนด้วยภาษาฮีบรูในตู้โชว์ ทำให้พวกเขาตกตะลึกเป็นอย่างมาก” นักแปลของพวกเขากล่าวว่า พวกเขา (คอคอม) กล่าวว่าเมืองโกมคือศูนย์กลางการปฏิวัติ พวกเขา (คอคอม) คิดว่าหนังสือต่าง ๆ ของเราโดนเผาไปก่อนหน้าการปฏิวัติเสียแล้ว แต่เรากลับเห็นว่าหลักฐานตำราของพวกเราถูกเก็บไว้ในตู้โชว์ โดยว่างใกล้กับหนังสือต่าง ๆ ของพวกเขา (หนังสืออิสลาม) ซึ่งพวกเขาได้ให้เกียรติ และเชื่อไปยังตำราของพวกเขาเองและเชื่อยังตำราของเราด้วย บรรณารักษ์กล่าวแก่พวกเขาว่า เราเชื่อว่าท่านศาสดามูซา (อ.) คือศาสดาท่านหนึ่งจากพระเจ้าของเรา เราไม่มีปัญหากับชาวยิว การเยี่ยมชมหอสมุดดึงดูดพวกเขาเป็นอย่างมาก จนพวกเขาบอกว่า 3 ชั่วโมงของเรา คือที่แห่งนี้”

ทรัพยากรตำราต่าง ๆ

  1. เป็นคลังตำราฉบับลายมือ , ฉบับภาพพิมพ์หิน ซึ่งพบได้น้อยมาก (พ.ศ. 2546 มีอยู่ 60,000 เรื่อง และ 31,000 เล่ม) เป็นตำราฉบับลายมือเกี่ยวกับเรื่อง ฟิกฮ์และอุศูล (สาขานิติศาสตร์) , กะลามและอะกออิด (สาขาเทววิทยา) , มันติกและฟัลซะฟะฮ์ (สาขาตรรกศาสตร์และปรัชญา) , อิรฟานและตะเซาวุฟ (สาขารหัสยะ) , ฮะดีษ (สาขาวัจนะศาสดา) , ซึ่งเป็นภาษาอาหรับประมาณร้อยละ 65 และที่เหลือเป็นภาษาเปอร์เซีย ตุรกี อุรดู และภาษาอื่น ๆ อีกทั้งตำราต่าง ๆ เหล่านี้ก็มีต้นฉบับที่บันทึกโดยเจ้าของตำราเอง ซึ่งเป็นระดับคณาจารย์ที่เป็นที่รู้จักในโลกอิสลามอีกด้วย ฉบับเก่าแก่ที่สุดซึ่งไม่ได้บันทึกวันเวลาไว้ ที่มีการเก็บรักษาคือคัมภีร์อัลกุรอาน ฉบับอักษรกูฟีย์ จากปลายทศวรรษที่สองและสามของปีฮิจเราะฮ์ และฉบับเก่าแก่ที่สุดที่มีการบันทึกวันเวลาไว้คือสองส่วนของคัมภีร์อัลกุรอาน ฉบับอักษรกูฟีย์โดย อะลี บิน ฮิลาล ถูกรู้จักในนาม อิบนิ เบาวาบ และอะบุลฮะซัน อะลี บินฮิลาล และตำราสองเล่มจากตัฟซีร อัตติบยาน, นะญุลบะลาเฆาะ โดยชะรีฟ รอฎีย์, เอียะรอบุลกุรอาน, ฟุรรอฮ์, บทวิวรจากคัมภีร์อิลญีล (พระวรสาร เป็นหนังสือหมวดแรกในคัมภีร์ไบเบิล) ด้วยอักษรละติน และคัมภีร์อเวสตะ ด้วยอักษรพะละวีย์ (อักษรเปอร์เซียกลาง)

หอสมุดมีสำเนาภาพเขียนมากกว่า 4,000 ฉบับ ที่มีอยู่ในห้องสมุดต่าง ๆ ทั้งในประเทศและต่างประเทศ ซึ่งมีการเก็บรักษาไว้อย่างดี โดย 12,000 ฉบับ ได้ทำเป็นไมโครฟิล์มแล้ว และมีชุดรวบรวมสารบัญของหนังสือ ที่ตีพิมพ์แล้วของโลกเป็นภาษาต่าง ๆ และในห้องสมุดนี้มีฉบับตัวอย่างการพิมพ์ที่เก่าแก่และสมบูรณ์ เป็นภาษาอาหรับ เปอร์เซีย ตุรกี ละติน และอาร์มีเนียจากคริสต์ศตวรรษที่ 10 และ 11 ซึ่งเก็บรักษาไว้เป็นทรัพยากรในรูปแบบการพิมพ์เก่า นอกจากนี้ยังมีการเก็บรักษาภาพพิมพ์หินมากกว่า 30,000 แผ่นซึ่งหาได้ยากในภาษาเปอร์เซีย อาหรับ ตุรกี อุรดู อุซเบก และตาตาร์

  1. คลังหนังสือ มีหนังสือที่ตีพิมพ์จำนวนกว่า 1,500,000 เล่ม เป็นภาษาเปอร์เซีย อาหรับ ตุรกี อูรดู และอื่น ๆ (ที่ไม่ใช่อักษรละติน) นอกจากนี้ยังมีที่เก็บจดหมายเหตุจากหนังสือของพรรคคอมมิวนิสต์และกลุ่มต่อต้านศาสนาและหนังสือต่อต้านศาสนาอิสลามอยู่ด้วย
  2. คลังวารสาร มีนิตยสารและหนังสือพิมพ์มากกว่า 2,500 ฉบับ เป็นภาษาเปอร์เซีย อาหรับ ตุรกี อูรดู และภาษาอื่น ๆ นอกจากนี้ยังมีนิตยสารและหนังสือพิมพ์ต่าง ๆ จากการพิมพ์หินจำนวนมากจากยุคกอญาร และสามารถค้นคว้านิตยสารเก่าแก่เป็นภาษาอาหรับได้ในส่วนนี้เช่นกัน
  3. คลังเอกสารที่เป็นลายลักษณ์อักษร มีเอกสารที่เขียนด้วยลายมือมากกว่า 100,000 ฉบับจากห้าศตวรรษก่อนจนถึงปัจจุบัน ทั้งหมดนี้รวมถึงคำสั่งของกษัตริย์, กฎหมายการปกครอง, สนธิสัญญา และอื่น ๆ
  4. คลังเอกสารที่ไม่เป็นลายลักษณ์อักษร ประกอบด้วยวัตถุต่าง ๆ เช่นเหรียญ แสตมป์เก่า อัลบั้มภาพสีเก่า เทปเสียง วิดีโอดิสก์คอมพิวเตอร์ และภาพขาว-ดำ
  5. คลังทางภูมิศาสตร์ แผนผัง และแผนที่ทางภูมิศาสตร์ทั้งเก่าและใหม่ และแผ่นที่ของประเทศต่าง ๆ ทั่วโลก ซึ่งใช้เป็นข้อมูลอ้างอิงที่เป็นภาษาต่าง ๆ ถูกเก็บรักษาไว้ในที่ส่วนนี้
  6. คลังผลงานผู้ก่อตั้งหอสมุด ในส่วนนี้จะจัดเก็บผลงานการเขียนของมัรอะชีย์ นะญะฟีย์

แผนกต่าง ๆ

  1. ศูนย์บริการสาธารณะ ประกอบด้วย ห้องโถงใหญ่อิบนิซินา, ห้องโถงเฉพาะตำราวิชาการศาสนา, ห้องโถงคอเญะ นะศีรุดดีน ฏูซีย์, ห้องโถงเชคมุฟีด และร้านขายหนังสือ
  2. ศูนย์วิทยบริการพิเศษ (ศูนย์วิจัย) ประกอบด้วย การวิจัยและตรวจสอบต้นฉบับลายอักษรอิสลาม, สารบัญต้นฉบับของตำราที่เขียนด้วยมือ, การลำดับวงศ์ตระกูล และอื่น ๆ
  3. ศูนย์เก็บรักษาทรัพยากรห้องสมุด ศูนย์นี้ประกอบด้วยหน่วยงานต่าง ๆ อาทิ หน่วยป้องกันและเก็บรักษา, หน่วยซ่อมแซมและบูรณะหนังสือลายอักษร และเอกสารที่เขียนด้วยลายมือ, หน่วยวัสดุย่อส่วน และหน่วยจัดทำเล่มหนังสือ
  4. ศูนย์บริการด้านเทคนิค ประกอบด้วยฝ่ายคัดเลือกและสั่งซื้อ, ฝ่ายทะเบียนและโฆษณา, ฝ่ายตรวจสอบหนังสือ, ฝ่ายสถิติ, ฝ่ายวางแผนงาน, ฝ่ายจัดรูปกระดาษ, ฝ่ายวิจัย และฝ่ายคอมพิวเตอร์
  5. ศูนย์สารสนเทศ ในปี พ.ศ. 2539 ได้มีการจัดทำระบบสารสนเทศเพื่อเป็นศูนย์ระบบรวบรวมข้อมูล, สนับสนุนด้านเทคนิค, การจัดทำดัชนีมาตรฐาน และระบบการจัดการเครือข่ายเพื่อการพัฒนาระบบสารสนเทศแบบรวมศูนย์ นอกจากนี้ยังมีฝ่ายสำหรับจัดทำดัชนีของต้นฉบับเขียนด้วยมืออีกด้วย ซึ่งฝ่ายนี้มีนักบรรณานุกรม นำโดยคือ สัยยิดมะฮ์มูด มัรอะชีย์ ในการจัดทำดัชนีต้นฉบับที่เขียนด้วยลายมือ
  6. ศูนย์เมืองโกมวิทยา เป็นศูนย์รวบรวมหนังสือและบทความที่เขียนเป็นภาษาต่าง ๆ เกี่ยวกับเมืองโกม (Qom) นอกจากนี้ยังเป็นแหล่งอ้างอิงถึงการสืบลำดับวงศ์ตระกูลที่เป็นภาษาต่าง ๆ ซึ่งเรียกว่า ศูนย์กลางลำดับวงศ์ตระกูล ก็ถูกเก็บรักษาไว้ที่นี้ด้วย
  7. ศูนย์สารานุกรมห้องสมุดโลก ศูนย์นี้ก่อตั้งเมื่อ พ.ศ. 2534 โดยปัจจัยหลักเพื่อจัดทำสารานุกรมเฉพาะกิจ เกี่ยวกับห้องสมุดที่มีทรัพยากรเกี่ยวกับสารบบภาษาศาสตร์อิสลาม

ระเบียงภาพ

อ้างอิง

  1. کتابخانه آیت‌الله مرعشی نجفی در قم، سومین کتابخانه بزرگ جهان اسلام [Ayatollah Marashi Najafi Library in Qom, the third largest library in the Islamic world]. สืบค้นเมื่อ 2011-04-05.
  2. "Ayatullah al-Uzma Marashi Najafi (R.A.) & his Library". Islamic Laws. สืบค้นเมื่อ 25 December 2014.
  3. "The Library of Ayatollah Marashi Najafi" (PDF). Iran's Manuscript Libraries. The Parliament's Library. 1: 96–100. August–September 2013. สืบค้นเมื่อ 2 January 2015.
  4. "Ayatollah Sayyid Shihab al-Din Marashi-Najafi". Oxford University Press. 2014. สืบค้นเมื่อ 25 December 2014.
  5. "Ayatollah al-Ozma Marashi Najafi" (ภาษาเปอร์เซีย). สืบค้นเมื่อ 2010-04-05.
  6. «مروری بر فعالیتهای کتابخانه آیت‌الله مرعشی نجفی». مجله اخبار شیعیان، آذر ۱۳۸۵. بازبینی‌شده در ۱۶ فروردین ۱۳۹۰. مروری بر فعالیتهای کتابخانه آیت‌الله مرعشی نجفی [Review of Ayatollah Marashi Najafi Library Activities]. مجله اخبار شیعیان. December 2006. สืบค้นเมื่อ April 6, 2011.
  7. "Grand Ayatollah Mar'ashi Najafi Public Library". Tebyan. 19 January 2011. สืบค้นเมื่อ 25 December 2014.

บรรณานุกรม

  • Anthony Lo Bello (Hrsg.): Gerard of Cremona's Translation of the Commentary of Al-Nayrizi on Book I of Euclid's Elements of Geometry. Brill Academic Publishers, Danvers 2003, ISBN 0-391-04197-5, S. xxviii. (Qom Library of Ayatollah Marashi Najafi)

แหล่งข้อมูลอื่น

  • (ในภาษาอังกฤษ)
  • หอสมุดอะยาตุลลอฮ์มัรอะชีย์นะญะฟีย์ (ในภาษาเปอร์เซีย)

หอสม, ดอะยาต, ลลอฮ, รอะช, นะญะฟ, หอสม, อะยาต, ลลอฮ, รอะช, นะญะฟ, เปอร, เซ, کتابخانه, آیت, الله, مرعشی, نجفی, ayatollah, marashi, najafi, เป, นหน, งในหอสม, ดขนาดใหญ, ในอ, หร, าน, จจ, นหอสม, ดแห, งน, หน, งส, อท, มพ, มากกว, เล, และต, นฉบ, บท, เข, ยนด, วยม, ฉบ, หอ. hxsmud xayatullxh mrxachiy nayafiy epxresiy کتابخانه آیت الله مرعشی نجفی Ayatollah Marashi Najafi epnhnunginhxsmudkhnadihyinxihran pccubnhxsmudaehngnimihnngsuxthitiphimphmakkwa 1 000 000 elm aelatnchbbthiekhiyndwymux 42 000 chbb 1 hxsmudxayatullxhmrxachiynayafiyhxsmudxayatullxh mrxachiy nayafiy inemuxngokmpraethsxihranpraephthsatharnakxtngph s 2506Reference to legal mandatemtithi 205 khxngsphasungsudaehngkarptiwtithangwthnthrrm ph s 2540 phikdphumisastr34 38 20 N 50 52 38 E 34 638999 N 50 8772222 E 34 638999 50 8772222khxmulxunphuxanwykarmahmud mrxachiy nayafiy enuxha 1 phukxtng 2 prawtikhwamepnmaaelakarbriharcdkar 3 thrphyakrtaratang 4 aephnktang 5 raebiyngphaph 6 xangxing 6 1 brrnanukrm 7 aehlngkhxmulxunphukxtng aekikhhxsmudniidkxtngaelaphthnakhunodykhaichcaykhxngmrxachiy nayafiy nkwichakarchawchixahinpiskrachxihran 1344 kh s 1965 66 dnginphinykrrmthitidiwbnhlumfngsphkhxngekhathiekhiynwacngfngchniwinhxsmudsatharnaitethankkhnkhwawichakarkhxngwngswanmuhmhmd 2 thanidxthibaythungaerngbndalicinkarrwbrwmhnngsuxaelakarcdtnghxsmudwa wnhnungchnkalngedinphankysariyahaehngemuxngnayf chnidehnnkwichakarklumhnungidrwmtwkn n sthanaehnghnung chnehnwamikhnhnungyunbnim aelakalngesnxkhayhnngsuxtang inrakhathithukmak chnyunduxyukhruhnung ehnwahnngsuxswnmaknnekiywkbxislamaelaepnhnngsuxkhxngchixahsungbukhkhlhnungchuxwa kasim idsuxipepncanwnmak chncungthamphukhnwaekhaepnikhrkn phwkekhatxbwa ekhaepntwaethnkngsulxngkvs n emuxngaebkaedd chnaexbkhidwa ekhasuxmnipephuxthalay hruxtxngkarrwbrwmaehlngkhxmulchntnkhxngchixahthiekhyxyuinmuxbrrdaxulama phuru cnkrathngwaphwkeraimsamarthhamaxangxingid inphayhlng echnhnngsux madinatulxil khxngechkhsxduk thithanidekhiynkhunexngaelaxthibayexaiw hakhnngsuxelmnixyuinmuxkhxngera erakimtxngphungpha kutubxrbaxah inchwngchiwitkhxngmrxachiy nayafiy thanidekhiynhnngsuxkwa 148 elm sungkhawinicchybthkhwamekhyidrbkarnaesnxaetodyswnmakyngimidtiphimphcnthungpccubn mrxachiy nayafiy esiychiwitimnanhlngcakphithiwangsilavkskhxngxakharhxngsmudhlngihminpi ph s 2532 3 4 prawtikhwamepnmaaelakarbriharcdkar aekikhsyyid mahmud mrxakhiy butrchaykhxngmrxachiy nayafiy phubriharhxngsmudklawwa inaengkhunphaphkhxnghnngsuxchbbtang thibnthukdwykhwampranitaelamikhwamekaaekxyangmak nbidwaepnhxsmudthiihythisudinxihran aelaepnhxsmudthiihyepnxndbsamkhxngolkxislam aelathukruckinnamsunyklangwthnthrmmnanachatiolk hxsmudnitngxyuinemuxngokm Qom hangcakharmthanhyingfatimah maxsumah Fatima Masomeh 100 emtr sungsusankhxngphukxtngkxyuikl kn hxsmudkxtngkhunemuxpi ph s 2506 aelaidrbkarphthnain ph s 2522 aela 2531 nkwichakarthiidichpraoychncakhxngsmudniidaek xbbas xikbal xxchtiyaniy Abbas Iqbal Ashtiani badixussaman furusanfr Badi al Zaman Foruzanfar aelaxxkx obosr etharaniy Aqa Taherani hxsmudniidrbthunsrangodymrxachiy nayafiy aelathayath rwmthngcakxngkhkarkarkuslxun cnaelwesrcinpi ph s 2540 tngaetpidngklawhxsmudklayepnkhxngxngkhkrexkchnodyimekiywkhxngkbrth sungidrbngbpramanpracapithukpi hxsmudnixyuphayitkdhmaylikhsiththi aelasxdkhlxngkbmtithi 205 khxngsphasungsudaehngkarptiwtithangwthnthrrm krathrwngwthnthrrmaelaaenwthangxislam sunghakmikarcdphimphhnngsuxinpraethsxihran thangphucdcahnaycaepntxngmxbsaenahnngsuxhruxsingphimphthiephyaephrdngklawipynghxsmuddwy karbriharcdkarhxsmudepniptamkhwamprasngkhkhxngmrxachiy nayafiy khuxihkhninkhrxbkhrwepnphuduaelcdkar ximamokhmyniyidklawthunghxsmudaehngniwa hxsmudxayatullxh nayafiy mrxachiy epnhxsmudthiimehmuxnkbhxngsmudxun aelasamarthklawidwainxihran mixyuthiediywethann 5 inhnngsuxeriynphasaepxresiy m 2 btheriynthi 28 idklawthungrayngankareyiymchmhxsmuddngklaw ephuxihnkeriynidsuksathakhwamruck phuxanwykarhxsmudidklawthungkareyiymchmkhxngbrrdankphrtchawyiwemuxehnhnngsuxthiekhiyndwyphasahibruwa idmikhxkhxm phrayiw cakshrth 3 khn aelaxngkvs 2 khn idmaeyuxnxihran odyphwkekhamiewlaeyiymchmemuxngokm 3 chwomng ladbaerkphwkekhaidmaynghxsmudaehngni emuxphwkekhamxngehntarachbblaymux odyechphaachbbthiekhiyndwyphasahibruintuochw thaihphwkekhatktalukepnxyangmak nkaeplkhxngphwkekhaklawwa phwkekha khxkhxm klawwaemuxngokmkhuxsunyklangkarptiwti phwkekha khxkhxm khidwahnngsuxtang khxngeraodnephaipkxnhnakarptiwtiesiyaelw aeteraklbehnwahlkthantarakhxngphwkerathukekbiwintuochw odywangiklkbhnngsuxtang khxngphwkekha hnngsuxxislam sungphwkekhaidihekiyrti aelaechuxipyngtarakhxngphwkekhaexngaelaechuxyngtarakhxngeradwy brrnarksklawaekphwkekhawa eraechuxwathansasdamusa x khuxsasdathanhnungcakphraecakhxngera eraimmipyhakbchawyiw kareyiymchmhxsmuddungdudphwkekhaepnxyangmak cnphwkekhabxkwa 3 chwomngkhxngera khuxthiaehngni 6 thrphyakrtaratang aekikhepnkhlngtarachbblaymux chbbphaphphimphhin sungphbidnxymak ph s 2546 mixyu 60 000 eruxng aela 31 000 elm epntarachbblaymuxekiywkberuxng fikhaelaxusul sakhanitisastr kalamaelaxakxxid sakhaethwwithya mntikaelaflsafah sakhatrrksastraelaprchya xirfanaelataesawuf sakharhsya hadis sakhawcnasasda sungepnphasaxahrbpramanrxyla 65 aelathiehluxepnphasaepxresiy turki xurdu aelaphasaxun xikthngtaratang ehlanikmitnchbbthibnthukodyecakhxngtaraexng sungepnradbkhnacarythiepnthiruckinolkxislamxikdwy chbbekaaekthisudsungimidbnthukwnewlaiw thimikarekbrksakhuxkhmphirxlkurxan chbbxksrkufiy cakplaythswrrsthisxngaelasamkhxngpihiceraah aelachbbekaaekthisudthimikarbnthukwnewlaiwkhuxsxngswnkhxngkhmphirxlkurxan chbbxksrkufiyody xali bin hilal thukruckinnam xibni ebawab aelaxabulhasn xali binhilal aelatarasxngelmcaktfsir xttibyan nayulbalaekhaa odycharif rxdiy exiyarxbulkurxan furrxh bthwiwrcakkhmphirxilyil phrawrsar epnhnngsuxhmwdaerkinkhmphiribebil dwyxksrlatin aelakhmphirxewsta dwyxksrphalawiy xksrepxresiyklang hxsmudmisaenaphaphekhiynmakkwa 4 000 chbb thimixyuinhxngsmudtang thnginpraethsaelatangpraeths sungmikarekbrksaiwxyangdi ody 12 000 chbb idthaepnimokhrfilmaelw aelamichudrwbrwmsarbykhxnghnngsux thitiphimphaelwkhxngolkepnphasatang aelainhxngsmudnimichbbtwxyangkarphimphthiekaaekaelasmburn epnphasaxahrb epxresiy turki latin aelaxarmieniycakkhriststwrrsthi 10 aela 11 sungekbrksaiwepnthrphyakrinrupaebbkarphimpheka nxkcakniyngmikarekbrksaphaphphimphhinmakkwa 30 000 aephnsunghaidyakinphasaepxresiy xahrb turki xurdu xusebk aelatatar khlnghnngsux mihnngsuxthitiphimphcanwnkwa 1 500 000 elm epnphasaepxresiy xahrb turki xurdu 7 aelaxun thiimichxksrlatin nxkcakniyngmithiekbcdhmayehtucakhnngsuxkhxngphrrkhkhxmmiwnistaelaklumtxtansasnaaelahnngsuxtxtansasnaxislamxyudwy khlngwarsar minitysaraelahnngsuxphimphmakkwa 2 500 chbb epnphasaepxresiy xahrb turki xurdu aelaphasaxun nxkcakniyngminitysaraelahnngsuxphimphtang cakkarphimphhincanwnmakcakyukhkxyar aelasamarthkhnkhwanitysarekaaekepnphasaxahrbidinswnniechnkn khlngexksarthiepnlaylksnxksr miexksarthiekhiyndwylaymuxmakkwa 100 000 chbbcakhastwrrskxncnthungpccubn thnghmdnirwmthungkhasngkhxngkstriy kdhmaykarpkkhrxng snthisyya aelaxun khlngexksarthiimepnlaylksnxksr prakxbdwywtthutang echnehriyy aestmpeka xlbmphaphsieka ethpesiyng widioxdiskkhxmphiwetxr aelaphaphkhaw da khlngthangphumisastr aephnphng aelaaephnthithangphumisastrthngekaaelaihm aelaaephnthikhxngpraethstang thwolk sungichepnkhxmulxangxingthiepnphasatang thukekbrksaiwinthiswnni khlngphlnganphukxtnghxsmud inswnnicacdekbphlngankarekhiynkhxngmrxachiy nayafiyaephnktang aekikhsunybrikarsatharna prakxbdwy hxngothngihyxibnisina hxngothngechphaatarawichakarsasna hxngothngkhxeya nasiruddin tusiy hxngothngechkhmufid aelarankhayhnngsux sunywithybrikarphiess sunywicy prakxbdwy karwicyaelatrwcsxbtnchbblayxksrxislam sarbytnchbbkhxngtarathiekhiyndwymux karladbwngstrakul aelaxun sunyekbrksathrphyakrhxngsmud sunyniprakxbdwyhnwyngantang xathi hnwypxngknaelaekbrksa hnwysxmaesmaelaburnahnngsuxlayxksr aelaexksarthiekhiyndwylaymux hnwywsduyxswn aelahnwycdthaelmhnngsux sunybrikardanethkhnikh prakxbdwyfaykhdeluxkaelasngsux faythaebiynaelaokhsna faytrwcsxbhnngsux faysthiti faywangaephnngan faycdrupkradas faywicy aelafaykhxmphiwetxr sunysarsneths inpi ph s 2539 idmikarcdtharabbsarsnethsephuxepnsunyrabbrwbrwmkhxmul snbsnundanethkhnikh karcdthadchnimatrthan aelarabbkarcdkarekhruxkhayephuxkarphthnarabbsarsnethsaebbrwmsuny nxkcakniyngmifaysahrbcdthadchnikhxngtnchbbekhiyndwymuxxikdwy sungfayniminkbrrnanukrm naodykhux syyidmahmud mrxachiy inkarcdthadchnitnchbbthiekhiyndwylaymux sunyemuxngokmwithya epnsunyrwbrwmhnngsuxaelabthkhwamthiekhiynepnphasatang ekiywkbemuxngokm Qom nxkcakniyngepnaehlngxangxingthungkarsubladbwngstrakulthiepnphasatang sungeriykwa sunyklangladbwngstrakul kthukekbrksaiwthinidwy sunysaranukrmhxngsmudolk sunynikxtngemux ph s 2534 odypccyhlkephuxcdthasaranukrmechphaakic ekiywkbhxngsmudthimithrphyakrekiywkbsarbbphasasastrxislamraebiyngphaph aekikh khxkhwamswnhnungcakphinykrrmkhxngxayatullxh mrxachiy nayafiy thithangekhahxsmud hxnglahmadkhxnghxsmud nkwichakarphuaeswngbuythithangekhakhxnghxsmudxangxing aekikh کتابخانه آیت الله مرعشی نجفی در قم سومین کتابخانه بزرگ جهان اسلام Ayatollah Marashi Najafi Library in Qom the third largest library in the Islamic world subkhnemux 2011 04 05 Ayatullah al Uzma Marashi Najafi R A amp his Library Islamic Laws subkhnemux 25 December 2014 The Library of Ayatollah Marashi Najafi PDF Iran s Manuscript Libraries The Parliament s Library 1 96 100 August September 2013 subkhnemux 2 January 2015 Ayatollah Sayyid Shihab al Din Marashi Najafi Oxford University Press 2014 subkhnemux 25 December 2014 Ayatollah al Ozma Marashi Najafi phasaepxresiy subkhnemux 2010 04 05 مروری بر فعالیتهای کتابخانه آیت الله مرعشی نجفی مجله اخبار شیعیان آذر ۱۳۸۵ بازبینی شده در ۱۶ فروردین ۱۳۹۰ مروری بر فعالیتهای کتابخانه آیت الله مرعشی نجفی Review of Ayatollah Marashi Najafi Library Activities مجله اخبار شیعیان December 2006 subkhnemux April 6 2011 Grand Ayatollah Mar ashi Najafi Public Library Tebyan 19 January 2011 subkhnemux 25 December 2014 brrnanukrm aekikh Anthony Lo Bello Hrsg Gerard of Cremona s Translation of the Commentary of Al Nayrizi on Book I of Euclid s Elements of Geometry Brill Academic Publishers Danvers 2003 ISBN 0 391 04197 5 S xxviii Qom Library of Ayatollah Marashi Najafi aehlngkhxmulxun aekikhewbistxyangepnthangkar inphasaxngkvs hxsmudxayatullxhmrxachiynayafiy inphasaepxresiy ekhathungcak https th wikipedia org w index php title hxsmudxayatullxhmrxachiynayafiy amp oldid 9308385, wikipedia, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด,

บทความ

, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม