fbpx
วิกิพีเดีย

นิติศาสตร์

นิติศาสตร์ เป็นวิชาที่ว่าด้วยกฎหมายและกระบวนการยุติธรรม

การศึกษานิติศาสตร์

วิชานิติศาสตร์สามารถแบ่งออกเป็นหลายแขนงได้ตามแง่มุมที่ศึกษา ซึ่งอาจสามารถแบ่งออกได้เป็น

  • วิชานิติศาสตร์โดยแท้ (legal science proper) ได้แก่ การศึกษาตัวบทกฎหมายซึ่งเป็นเนื้อหากฎหมาย และนิติวิธีหรือวิธีการใช้กฎหมายเพื่อนำไปใช้ปรับใช้แก่คดีและประกอบวิชาชีพนักกฎหมาย
  • นิติศาสตร์ทางข้อเท็จจริง (legal science of facts) เป็นการศึกษากฎหมายในฐานะที่เป็นข้อเท็จจริงที่มีอยู่ในประวัติศาสตร์หรือในสังคม โดยไม่ประเมินคุณค่าว่าถูกหรือผิด เช่น วิชาประวัติศาสตร์กฎหมาย และวิชาสังคมวิทยากฎหมาย
  • นิติศาสตร์เชิงคุณค่า (legal science of values) เป็นการศึกษากฎหมายในเชิงวิจารณ์เปรียบเทียบและประเมินคุณค่า เช่น วิชากฎหมายเปรียบเทียบ และวิชานิติบัญญัติ

การศึกษากฎหมายในระดับที่มีความสัมพันธ์กับปรัชญา จะถูกเรียกว่าวิชา นิติปรัชญา หรือ philosophy of law

นิติศาสตร์

นิติศาสตร์ (Jurisprudence) คำดังกล่าวในภาษาอังกฤษ เป็นคำเก่าที่ใช้ตั้งแต่สมัยโรมัน โดยมาจากภาษาลาตินว่า jurisprudentium มีรากศัพท์จาก "juris" แปลว่า กฎหมาย และ "prudentium" แปลว่า ความฉลาด ซึ่งรวมแล้วแปลว่า "ความรู้กฎหมายหรือวิชากฎหมาย" โดยในประมวลกฎหมายของพระเจ้าจัสติเนียน จะกล่าวไว้ในมูลบทนิติศาสตร์ฉบับที่แปลเป็นภาษาอังกฤษแล้วว่า "jurisprudence is the knowledge of things devine and human; the science of the just and the unjust".

อย่างไรก็ตาม jurisprudence ยังคงมีการใช้ในความหมายพิเศษอีก ได้แก่

การเรียนการสอนนิติศาสตร์ในประเทศไทย

ในปี พ.ศ. 2440 พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้ารพีพัฒนศักดิ์ กรมหลวงราชบุรีดิเรกฤทธิ์ ได้ทรงก่อตั้ง "โรงเรียนกฎหมาย" ขึ้นในกระทรวงยุติธรรม ซึ่งเปิดการเรียนการสอนโดยคณาจารย์ส่วนใหญ่เป็นตุลาการ ต่อมาได้มีการยุบโรงเรียนกฎหมายไปจัดตั้งเป็น "คณะนิติศาสตร์และรัฐศาสตร์" ขึ้นที่จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยเป็นครั้งแรก ในปี พ.ศ. 2476 หลังจากนั้นเพียง 8 เดือน นักเรียนโรงเรียนกฎหมาย กระทรวงยุติธรรมเดิม ไม่พอใจที่โรงเรียนข้าราชการพลเรือน (ปัจจุบันคือ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย) ได้ยกฐานะเป็นมหาวิทยาลัย แต่โรงเรียนกฎหมายไม่ได้ยกฐานะ ดร.ปรีดี พนมยงค์ จึงรับปากว่าจะช่วย

ในที่สุดจึงมีการออก "พระราชบัญญัติมหาวิทยาลัยวิชาธรรมศาสตร์และการเมือง" ให้โอนคณะนิติศาสตร์และรัฐศาสตร์ แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยไปสังกัดมหาวิทยาลัยวิชาธรรมศาสตร์และการเมืองซึ่งจัดตั้งขึ้นใหม่ ซึ่งปัจจุบัน คือ คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ จึงอาจกล่าวได้ว่าการโอนโรงเรียนกฎหมายไปสังกัดคณะนีติศาสตร์และรัฐศาสตร์ที่จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย เป็นการโอนไปเพียงชั่วคราวเท่านั้น ทำให้คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ เป็นคณะนิติศาสตร์แห่งแรกของประเทศไทย อันสืบทอดโดยตรงจากโรงเรียนกฎหมายเดิม

กระทั่งปี พ.ศ. 2494 จึงได้มีการจัดการเรียนการสอนนิติศาสตร์ขึ้นอีกครั้งในจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ในนามแผนกวิชานิติศาสตร์สังกัดคณะรัฐศาสตร์ ก่อนที่จะได้มีการแยกการเรียนการสอนออกจากคณะรัฐศาสตร์อย่างสิ้นเชิงในปี พ.ศ. 2501 และยกฐานะขึ้นเป็นคณะนิติศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ในปี พ.ศ. 2515

ต่อมาในปีพ.ศ. 2514 ก็ได้มีการก่อตั้งคณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยรามคำแหงขึ้น จวบจนปัจจุบันมีสถาบันอุดมศึกษาได้เปิดการเรียนการสอนในสาขาวิชานิติศาสตร์ในหลายสถาบันทั้งในภาครัฐและเอกชน

ต่อมาในปีพ.ศ. 2547ได้มีมาเปิดคณะนิติศาสตร์ที่มหาวิทยาลัยเอกชน เช่น มหาวิทยาลัยเฉลิมกาญจนา[ลิงก์เสีย] ซึ่งเปิดได้ 6 วิทยาเขตด้วยกัน ศรีสะเกษ สุรินทร์ บุรีรัมย์ เพชรบูรณ์ นครศรีธรรมราช

นิติศาสตรบัณฑิต

นิติศาสตรบัณฑิต (น.บ.) เป็นปริญญาหรือวุฒิทางการศึกษา ซึ่งผู้ที่ต้องการประกอบวิชาชีพทางด้านกฎหมาย เช่น ทนายความ ผู้พิพากษา อัยการ นิติกร จะต้องได้รับก่อนที่จะสามารถเริ่มเข้าสู่วิชาชีพด้านกฎหมาย โดยเป็นคุณสมบัติพื้นฐานที่ใช้เพื่อเข้ารับการอบรมและสอบเพื่อเป็นทนายความหรือสอบเนติบัณฑิตไทย เพื่อที่จะมีสิทธิสอบคัดเลือกเพื่อเป็นผู้พิพากษาหรืออัยการต่อไป

โดยทั่วไปหลักสูตรจะใช้เวลาศึกษา 4 ปี วิชาที่ศึกษาจะเน้นกฎหมายแพ่ง กฎหมายอาญา กฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง กฎหมายวิธิพิจารณาความอาญา กฎหมายปกครอง รัฐธรรมนูญ และกฎหมายวิชาเลือกอีกจำนวนหนึ่ง ทั้งนี้จุดเน้นของหลักสูตรอาจแตกต่างตามสถาบันการศึกษา

อ้างอิง

  • นิติปรัชญา โดย ปรีดี เกษมทรัพย์
  • ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับกฎหมายทั่วไป โดย หยุด แสงอุทัย
  • กฎหมายมหาชน โดย บวรศักดิ์ อุวรรณโณ

ดูเพิ่ม

ศาสตร, บทความน, ไม, การอ, างอ, งจากแหล, งท, มาใดกร, ณาช, วยปร, บปร, งบทความน, โดยเพ, มการอ, างอ, งแหล, งท, มาท, าเช, อถ, เน, อความท, ไม, แหล, งท, มาอาจถ, กค, ดค, านหร, อลบออก, เร, ยนร, าจะนำสารแม, แบบน, ออกได, อย, างไรและเม, อไร, มมองและกรณ, วอย, างในบทความน, . bthkhwamniimmikarxangxingcakaehlngthimaidkrunachwyprbprungbthkhwamni odyephimkarxangxingaehlngthimathinaechuxthux enuxkhwamthiimmiaehlngthimaxacthukkhdkhanhruxlbxxk eriynruwacanasaraemaebbnixxkidxyangiraelaemuxir mummxngaelakrnitwxyanginbthkhwamnixacimidaesdngthungmummxngthiepnsaklkhxngeruxngkhunsamarthchwyaekikhbthkhwamni odyephimmummxngsaklihmakkhun hruxaeykpraednyxyipsrangepnbthkhwamihm eriynruwacanasaraemaebbnixxkidxyangiraelaemuxir nitisastr epnwichathiwadwykdhmayaelakrabwnkaryutithrrm enuxha 1 karsuksanitisastr 2 nitisastr 3 kareriynkarsxnnitisastrinpraethsithy 3 1 nitisastrbnthit 4 xangxing 5 duephimkarsuksanitisastr aekikhwichanitisastrsamarthaebngxxkepnhlayaekhnngidtamaengmumthisuksa sungxacsamarthaebngxxkidepn wichanitisastrodyaeth legal science proper idaek karsuksatwbthkdhmaysungepnenuxhakdhmay aelanitiwithihruxwithikarichkdhmayephuxnaipichprbichaekkhdiaelaprakxbwichachiphnkkdhmay nitisastrthangkhxethccring legal science of facts epnkarsuksakdhmayinthanathiepnkhxethccringthimixyuinprawtisastrhruxinsngkhm odyimpraeminkhunkhawathukhruxphid echn wichaprawtisastrkdhmay aelawichasngkhmwithyakdhmay nitisastrechingkhunkha legal science of values epnkarsuksakdhmayinechingwicarnepriybethiybaelapraeminkhunkha echn wichakdhmayepriybethiyb aelawichanitibyytikarsuksakdhmayinradbthimikhwamsmphnthkbprchya cathukeriykwawicha nitiprchya hrux philosophy of lawnitisastr aekikhnitisastr Jurisprudence khadngklawinphasaxngkvs epnkhaekathiichtngaetsmyormn odymacakphasalatinwa jurisprudentium miraksphthcak juris aeplwa kdhmay aela prudentium aeplwa khwamchlad sungrwmaelwaeplwa khwamrukdhmayhruxwichakdhmay odyinpramwlkdhmaykhxngphraecacstieniyn caklawiwinmulbthnitisastrchbbthiaeplepnphasaxngkvsaelwwa jurisprudence is the knowledge of things devine and human the science of the just and the unjust xyangirktam jurisprudence yngkhngmikarichinkhwamhmayphiessxik idaek Jurisprudence inphasafrngess yxmacakkhawa jurisprudence constant hmaythung khwamrukdhmaythiekidcakaenwkhaphiphaksakhxngsal epnkhatrngkhamkb doctrine sunghmaythung kdhmaythisxnintarakdhmay Jurisprudence epnchuxwichaechphaathisxninorngeriynkdhmayinxngkvs sungerimkxtngody John Austin emux kh s 1828 1832 inmhawithyalylxndxn sungmikhasxnwakdhmay khux khasngkhxngrthathipty aelathuknaekhamainpraethsithyodyesdcinkrmhlwngrachburidierkvththikareriynkarsxnnitisastrinpraethsithy aekikhduephimetimthi raychuxkhnanitisastrinpraethsithy inpi ph s 2440 phraecabrmwngsethx phraxngkhecarphiphthnskdi krmhlwngrachburidierkvththi idthrngkxtng orngeriynkdhmay khuninkrathrwngyutithrrm sungepidkareriynkarsxnodykhnacaryswnihyepntulakar txmaidmikaryuborngeriynkdhmayipcdtngepn khnanitisastraelarthsastr khunthiculalngkrnmhawithyalyepnkhrngaerk inpi ph s 2476 hlngcaknnephiyng 8 eduxn nkeriynorngeriynkdhmay krathrwngyutithrrmedim imphxicthiorngeriynkharachkarphleruxn pccubnkhux culalngkrnmhawithyaly idykthanaepnmhawithyaly aetorngeriynkdhmayimidykthana dr pridi phnmyngkh cungrbpakwacachwyinthisudcungmikarxxk phrarachbyytimhawithyalywichathrrmsastraelakaremuxng ihoxnkhnanitisastraelarthsastr aehngculalngkrnmhawithyalyipsngkdmhawithyalywichathrrmsastraelakaremuxngsungcdtngkhunihm sungpccubn khux khnanitisastr mhawithyalythrrmsastr cungxacklawidwakaroxnorngeriynkdhmayipsngkdkhnanitisastraelarthsastrthiculalngkrnmhawithyaly epnkaroxnipephiyngchwkhrawethann thaihkhnanitisastr mhawithyalythrrmsastr epnkhnanitisastraehngaerkkhxngpraethsithy xnsubthxdodytrngcakorngeriynkdhmayedimkrathngpi ph s 2494 cungidmikarcdkareriynkarsxnnitisastrkhunxikkhrnginculalngkrnmhawithyaly innamaephnkwichanitisastrsngkdkhnarthsastr kxnthicaidmikaraeykkareriynkarsxnxxkcakkhnarthsastrxyangsinechinginpi ph s 2501 aelaykthanakhunepnkhnanitisastr culalngkrnmhawithyaly inpi ph s 2515txmainpiph s 2514 kidmikarkxtngkhnanitisastr mhawithyalyramkhaaehngkhun cwbcnpccubnmisthabnxudmsuksaidepidkareriynkarsxninsakhawichanitisastrinhlaysthabnthnginphakhrthaelaexkchntxmainpiph s 2547idmimaepidkhnanitisastrthimhawithyalyexkchn echn mhawithyalyechlimkaycna lingkesiy sungepidid 6 withyaekhtdwykn srisaeks surinthr burirmy ephchrburn nkhrsrithrrmrach nitisastrbnthit aekikh nitisastrbnthit n b epnpriyyahruxwuthithangkarsuksa sungphuthitxngkarprakxbwichachiphthangdankdhmay echn thnaykhwam phuphiphaksa xykar nitikr catxngidrbkxnthicasamartherimekhasuwichachiphdankdhmay odyepnkhunsmbtiphunthanthiichephuxekharbkarxbrmaelasxbephuxepnthnaykhwamhruxsxbentibnthitithy ephuxthicamisiththisxbkhdeluxkephuxepnphuphiphaksahruxxykartxipodythwiphlksutrcaichewlasuksa 4 pi wichathisuksacaennkdhmayaephng kdhmayxaya kdhmaywithiphicarnakhwamaephng kdhmaywithiphicarnakhwamxaya kdhmaypkkhrxng rththrrmnuy aelakdhmaywichaeluxkxikcanwnhnung thngnicudennkhxnghlksutrxacaetktangtamsthabnkarsuksaxangxing aekikhnitiprchya ody pridi eksmthrphy khwamruebuxngtnekiywkbkdhmaythwip ody hyud aesngxuthy kdhmaymhachn ody bwrskdi xuwrrnonduephim aekikhkdhmayekhathungcak https th wikipedia org w index php title nitisastr amp oldid 9570484, wikipedia, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด,

บทความ

, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม