fbpx
วิกิพีเดีย

อหิงสาในศาสนาเชน

ในศาสนาเชน อหิงสา (สันสกฤต: अहिंसा) เป็นหลักการหลักสำคัญพื้นฐานของศาสนา คำว่า "อหิงสา" แปลว่า "การไม่รุนแรง" (nonviolence) การไม่ทำร้าย และปราศจากความคิดที่จะทำร้ายสิ่งมีชีวิตอื่นใด การปฏิบัติต่าง ๆ ในศาสนาเชน โดยเฉพาะการทานมังสวิรัติ ล้วนแล้วแต่มาจากหลักพื้นฐานของอหิงสาทั้งนั้น หลักอหิงสาในศาสนาเชนต่างจากในปรัชญาอินเดียอื่น ๆ มาก ความรุนแรง (หิงสา violence) ในศาสนาเชนไม่ได้หมายถึงแค่การทำร้ายผู้อื่น แต่หมายถึงการทำร้ายตนเองด้วย อันทำให้ออกห่างจากการเข้าถึงโมกษะ (การหลุดพ้นจากสังสารวัฒ). นอกจากนี้ยังต้องถือหลักอหิงสาต่อสิ่งมีชีวิตทั้งปวง ไม่เพียงแต่มนุษย์ สัตว์ แต่รวมถึงพืช ต้นไม้ จุลินทรีย์ แบคทีเรีย สิ่งมีชีวิตขนาดเล็กกว่าตาเปล่ามองเห็น และสิ่งที่มีความเป็นไปได้ว่าจะมีชีวิต ทุกชีวิตล้วนได้รับการเคารพและล้วนมีสิทธิ์ที่จะได้ดำรงชีวิตอยู่โดยปราศจากความกลัว สิ่งมีชีวิตทั้งปวงจะไม่ต้องกลัวผู้ที่ถือหลักอหิงสา การปกป้องชีวิตอื่นนั้นเรียกว่า "อภัยธานัม" (abhayadānam) ถือเป็นการทำบุญที่สูงสุดที่มนุษย์คนหนึ่งจะกระทำได้

สัญลักษณ์ฝ่ามือและธรรมจักร สัญลักษณ์ของอหิงสาในศาสนาเชน

อหิงสา นอกจากจะหมายถึงการไม่รุนแรงในเชิงกายภาพและการกระทำแล้ว ยังหมายถึงความคิดที่ปราศจากความอยากที่จะสร้างความรุนแรงใด ๆ ด้วย ดังนั้นศาสนาเชนจึงยึดหลักการทานมังสวิรัติมาเป็นเวลาช้านานแล้ว

อ้างอิง

  1. Rune E. A. Johansson (6 December 2012). Pali Buddhist Texts: An Introductory Reader and Grammar. Routledge. p. 143. ISBN 978-1-136-11106-8.
  2. Jaini 1998, p. 167
  3. Varni 1993, p. 335 "Giving protection always to living beings who are in fear of death is known as abhayadana"
  4. Varni 1993, p. 154 "Even an intention of killing is the cause of the bondage of Karma, whether you actually kill or not; from the real point of view, this is the nature of the bondage of Karma."
  5. Dundas 2002

อห, งสาในศาสนาเชน, ในศาสนาเชน, อห, งสา, นสกฤต, अह, เป, นหล, กการหล, กสำค, ญพ, นฐานของศาสนา, คำว, อห, งสา, แปลว, การไม, นแรง, nonviolence, การไม, ทำร, าย, และปราศจากความค, ดท, จะทำร, ายส, งม, ตอ, นใด, การปฏ, าง, ในศาสนาเชน, โดยเฉพาะการทานม, งสว, วนแล, วแต, มาจา. insasnaechn xhingsa snskvt अह स 1 epnhlkkarhlksakhyphunthankhxngsasna khawa xhingsa aeplwa karimrunaerng nonviolence karimtharay aelaprascakkhwamkhidthicatharaysingmichiwitxunid karptibtitang insasnaechn odyechphaakarthanmngswirti lwnaelwaetmacakhlkphunthankhxngxhingsathngnn hlkxhingsainsasnaechntangcakinprchyaxinediyxun mak khwamrunaerng hingsa violence insasnaechnimidhmaythungaekhkartharayphuxun aethmaythungkartharaytnexngdwy xnthaihxxkhangcakkarekhathungomksa karhludphncaksngsarwth 2 nxkcakniyngtxngthuxhlkxhingsatxsingmichiwitthngpwng imephiyngaetmnusy stw aetrwmthungphuch tnim culinthriy aebkhthieriy singmichiwitkhnadelkkwataeplamxngehn aelasingthimikhwamepnipidwacamichiwit thukchiwitlwnidrbkarekharphaelalwnmisiththithicaiddarngchiwitxyuodyprascakkhwamklw singmichiwitthngpwngcaimtxngklwphuthithuxhlkxhingsa karpkpxngchiwitxunnneriykwa xphythanm abhayadanam thuxepnkarthabuythisungsudthimnusykhnhnungcakrathaid 3 sylksnfamuxaelathrrmckr sylksnkhxngxhingsainsasnaechn xhingsa nxkcakcahmaythungkarimrunaernginechingkayphaphaelakarkrathaaelw ynghmaythungkhwamkhidthiprascakkhwamxyakthicasrangkhwamrunaerngid dwy 4 dngnnsasnaechncungyudhlkkarthanmngswirtimaepnewlachananaelw 5 xangxing aekikh Rune E A Johansson 6 December 2012 Pali Buddhist Texts An Introductory Reader and Grammar Routledge p 143 ISBN 978 1 136 11106 8 Jaini 1998 p 167 Varni 1993 p 335 Giving protection always to living beings who are in fear of death is known as abhayadana Varni 1993 p 154 Even an intention of killing is the cause of the bondage of Karma whether you actually kill or not from the real point of view this is the nature of the bondage of Karma Dundas 2002ekhathungcak https th wikipedia org w index php title xhingsainsasnaechn amp oldid 8356818, wikipedia, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด,

บทความ

, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม