fbpx
วิกิพีเดีย

อาการพูดน้อย

ในสาขาจิตวิทยา อาการพูดน้อย (อังกฤษ: alogia จากคำกรีกว่า ἀ- แปลว่า ไร้ และ λόγος แปลว่า การพูด หรือ poverty of speech) เป็นการไม่พูดถึงสิ่งที่ไม่ได้ถามหรือไม่ได้เตือนให้พูด ซึ่งทั่วไปต่างกับการพูดปกติ เป็นอาการที่พบในคนไข้โรคจิตเภทและความผิดปกติทางบุคลิกภาพคือ schizotypal personality disorder อย่างสามัญ โดยจัดเป็นอาการเชิงลบ (negative symptom) ซึ่งอาจทำจิตบำบัดเพื่อรักษาโรคให้ยุ่งยากเพราะสนทนาด้วยลำบาก

การพูดน้อยบ่อยครั้งจัดว่าเป็นรูปแบบหนึ่งของภาวะเสียการสื่อความ (aphasia) ซึ่งเป็นความพิการทั่วไปของสมรรถภาพทางภาษา ซึ่งมักเกิดกับความพิการทางเชาวน์ปัญญาและภาวะสมองเสื่อมโดยเป็นผลของความเสียหายต่อสมองซีกซ้าย

ลักษณะ

ภาวะนี้มีลักษณะเป็นการพูดน้อย บ่อยครั้งเพราะกระบวนการทางความคิดถูกขัดขวาง ปกติแล้ว การบาดเจ็บที่สมองซีกซ้ายอาจเป็นเหตุให้อาการปรากฏในคนหนึ่ง ๆ เมื่อคุยกัน คนไข้อาการนี้จะตอบน้อยและคำตอบที่ให้จะไร้สิ่งที่พูดเอง และบางครั้ง อาจไม่ตอบคำถามเลย คำตอบที่ให้จะสั้น ๆ โดยทั่วไปเป็นการตอบคำถามหรือตอบสนองต่อการเตือนให้พูด

นอกจากสิ่งที่ไม่พูดแล้ว กิริยาท่าทางที่กล่าวคำตอบก็จะได้รับผลด้วย คนไข้มักตอบไม่ชัด ไม่ออกเสียงพยัญชนะให้ชัดเจนเหมือนปกติ คำพูดไม่กี่คำที่พูดปกติจะค่อย ๆ เบาลงจนเหลือแต่เสียงกระซิบ หรือจบอย่างดื้อ ๆ ในพยางค์ที่สอง งานศึกษาได้แสดงสหสัมพันธ์ระหว่างค่าวัดการไม่พูดกับจำนวนและระยะการหยุดชั่วขณะเมื่อพูดตอบคำถามเป็นลำดับที่นักวิจัยถาม

ความไม่สามารถพูดมาจากปัญหาทางใจอันเป็นมูลฐานที่ทำให้คนไข้มีความขัดข้องหาคำที่สมควรในใจ และความขัดข้องทางความคิด งานศึกษาที่สำรวจคนไข้โดยให้ทำงานแบบ category fluency task แสดงว่า คนไข้โรคจิตเภทที่มีอาการนี้ปรากฏว่ามีความจำอาศัยความหมาย (semantic memory) ที่สับสนกว่าคนในกลุ่มควบคุม แม้ทั้งสองกลุ่มจะสร้างคำจำนวนเท่า ๆ กัน แต่คำที่คนไข้โรคจิตเภทสร้างจะไม่เป็นระเบียบ การวิเคราะห์แบบกลุ่ม (cluster analysis) พบว่าคนไข้มีการเกาะเกี่ยวความ (coherence) ที่แปลกประหลาด

ตัวอย่าง

การพูดน้อย คำพูดปกติ

ถ: คุณมีลูกไหม
ต: มี
ถ: มีกี่คน
ต: สองคน
ถ: ลูกอายุเท่าไหร่แล้ว
ต: 6 ขวบและ 16 ปี
ถ: เป็นหญิงหรือชาย
ต: อย่างละคน
ถ: ใครที่มีอายุ 16 ปี
ต: ผู้ชาย
ถ: เขาชื่ออะไร
ต: เอ็ดมอนด์
ถ: แล้วผู้หญิงล่ะ
ต: อะลิซ

ถ: คุณมีลูกไหม
ต: มี ผู้หญิงคนผู้ชายคน
ถ: อายุเท่าไหร่
ต: เอ็ดมอนด์อายุ 16 ปีและอะลิซ 6 ขวบ

เหตุ

การพูดน้อยอาจเกิดจากการทำงานผิดปกติของวงจรประสาท คือ frontostriatal circuit ซึ่งมีผลให้หน่วยเก็บความหมาย (semantic store) เสื่อม เป็นศูนย์ที่อยู่ในสมองกลีบขมับและแปลผลทางความหมายของภาษา ในงานทดลองสร้างคำ คนไข้โรคจิตเภทเรื้อรังกลุ่มย่อยกลุ่มหนึ่งสร้างคำน้อยกว่าคนปกติและมีคลังศัพท์ที่จำกัดกว่า ซึ่งเป็นหลักฐานว่าหน่วยเก็บเชิงความหมายมีประสิทธิภาพน้อยลง ส่วนงานอีกงานหนึ่งพบว่า เมื่อต้องระบุชื่อในหมวด ๆ หนึ่ง คนไข้โรคจิตเภทมีปัญหามากแต่จะทำได้ดีขึ้นเมื่อผู้ทำการทดลองใช้สิ่งเร้าอีกอย่างหนึ่งเพื่อช่วยแนะแนวพฤติกรรมแบบไม่รู้ตัว ข้อสรุปนี้เหมือนกับที่ได้จากคนไข้โรคฮันติงตันและโรคพาร์คินสัน ซึ่งก็เป็นโรคที่เกี่ยวข้องกับวงจรประสาท frontostriatal circuit เช่นกัน

การรักษา

งานศึกษาทางการแพทย์ได้สรุปว่า ยาที่ให้เพิ่ม (adjunct) บางอย่างช่วยบรรเทาอาการเชิงลบ (negative symptom) ของโรคจิตเภท โดยหลักคือภาวะพูดน้อย ในงานศึกษาหนึ่ง ยาแก้ซึมเศร้าประเภท tetracyclic antidepressant คือ maprotiline สามารถลดภาวะนี้ได้มากที่สุดโดยลดระดับความรุนแรงได้ถึง 50% ในบรรดาอาการเชิงลบของโรคจิตเภท ภาวะพูดน้อยตอบสนองต่อยาได้ดีเป็นอันดับสอง ส่วนอันดับแรกคือการไม่มีสมาธิ/การใส่ใจไม่เพียงพอ (attention deficiency) ยากระตุ้นระบบประสาทกลางคือ dextroamphetamine เป็นยาอีกอย่างที่ได้ทดลองในคนไข้โรคจิตเภทแล้วพบว่า มีประสิทธิผลลดอาการเชิงลบ แต่วิธีการนี้ไม่ได้พัฒนาต่อเพราะมีผลไม่พึงประสงค์ต่ออาการอื่น ๆ ของโรคจิตเภท เช่น เพิ่มความรุนแรงของอาการเชิงบวก (positive symptom)

ความสัมพันธ์กับโรคจิตเภท

แม้อาการนี้จะพบในโรคต่าง ๆ แต่ก็พบอย่างสามัญโดยเป็นอาการเชิงลบ (negative symptom) ของโรคจิตเภท ซึ่งก่อนนี้เคยพิจารณาว่าเกี่ยวกับโรคสมองกลีบหน้า (frontal lobe disorder หรือ dysexecutive syndrome) ในรูปแบบที่เป็นโรคทางจิตเวช อย่างไรก็ดี งานศึกษาก็ได้แสดงว่า อาการโรคจิตเภทมีสหสัมพันธ์กับโรคสมองกลีบหน้าจริง ๆ

งานศึกษาและงานวิเคราะห์ที่ได้ทำแล้วสรุปว่า ต้องมีปัจจัยอย่างน้อยสามอย่างเพื่อครอบคลุมทั้งอาการเชิงบวกและอาการเชิงลบของโรคจิตเภท ปัจจัยทั้งสามคือ อาการโรคจิต (psychotic factor) อาการสับสนวุ่นวาย (disorganization factor) และอาการเชิงลบ (negative symptom factor) งานศึกษาได้แสดงว่า การแสดงอารมณ์ผิดปกติสัมพันธ์อย่างมีกำลังกับพฤติกรรมแปลกประหลากและความผิดปกติทางความคิด (formal thought disorder) ที่เป็นอาการเชิงบวกโดยเป็นส่วนของปัจจัยคือความสับสนวุ่นวาย ส่วนความพิการทางการใส่ใจสัมพันธ์อย่างสำคัญกับอาการโรคจิต ความสับสนวุ่นวาย และอาการเชิงลบ อาการพูดน้อยมีทั้งอาการเชิงบวกและเชิงลบของโรคจิตเภท โดยการมีเรื่องพูดน้อย (poverty of content) เป็นปัจจัยคือความสับสนวุ่นวาย และการพูดน้อย (poverty of speech) ใช้เวลาตอบนาน และความคิดชะงัก เป็นปัจจัยคืออาการเชิงลบ

เชิงอรรถและอ้างอิง

  1. . คลังข้อมูลเก่า เก็บจาก แหล่งเดิม เมื่อ 2006-10-22. สืบค้นเมื่อ 2006-09-30. Unknown parameter |deadurl= ignored (help)
  2. American Psychiatric Association (2000). Diagnostic and Statistical Manual of Mental Disorders, Fourth Edition: DSM-IV-TR®. American Psychiatric Pub. p. 301. ISBN 978-0-89042-025-6. สืบค้นเมื่อ 2012-04-29.
  3. . คลังข้อมูลเก่า เก็บจาก แหล่งเดิม เมื่อ 2012-04-02. Unknown parameter |deadurl= ignored (help)
  4. Alpert, M; Kotsaftis, A; Pouget, ER (1997). "Speech fluency and schizophrenic negative signs". Schizophrenia Bulletin. 23: 171–177.
  5. Alpert, M; Clark, A; Pouget, ER (1994). "The syntactic role of pauses in the speech patients with schizophrenia and alogia". Journal of Abnormal Psychology. 103: 750–757.
  6. Sumiyoshi, C.; Sumiyoshi, T.; Nohara, S.; Yamashita, I.; Matsui, M.; Kurachi, M.; Niwa, S. (Apr 2005). "Disorganization of semantic memory underlies alogia in schizophrenia: an analysis of verbal fluency performance in Japanese subjects". Schizophr Res. 74 (1): 91–100. doi:10.1016/j.schres.2004.05.011. PMID 15694758.
  7. Chen, RY; Chen, EY; Chan, CK; Lam, LC; Lieh-Mak, E (2000). "Verbal fluency in schizophrenia: reduction in semantic store". Australian and New Zealand Journal of Psychiatry. 34: 43–48.
  8. Shafti, S.S.; Rey, S.; Abad, A. (2005). . International Journal of Psychosocial Rehabilitation. pp. 10 (1), 43-51. คลังข้อมูลเก่า เก็บจาก แหล่งเดิม เมื่อ 2012-07-12. Unknown parameter |deadurl= ignored (help)
  9. Desai, N; Gangadhar, BN; Pradhan, N; Channabasavanna, SM (1984). "Treatment of negative schizophrenia with d-amphetamine". The American Journal of Psychiatry (141): 723–724.
  10. Barch, D.M; Berenbaum, H. (1996). "Language production and thought disorder in schizophrenia". Journal of Abnormal Psychology. 105: 81–88.
  11. Miller, D; Arndt, S; Andreasen, N (2004). "Alogia, attentional impairment, and inappropriate affect: Their status in the dimensions of schizophrenia". Comprehensive Psychiatry. 34: 221–226.

อาการพ, ดน, อย, ในสาขาจ, ตว, ทยา, งกฤษ, alogia, จากคำกร, กว, แปลว, ไร, และ, λόγος, แปลว, การพ, หร, poverty, speech, เป, นการไม, ดถ, งส, งท, ไม, ได, ถามหร, อไม, ได, เต, อนให, งท, วไปต, างก, บการพ, ดปกต, เป, นอาการท, พบในคนไข, โรคจ, ตเภทและความผ, ดปกต, ทางบ, คล,. insakhacitwithya xakarphudnxy xngkvs alogia cakkhakrikwa ἀ aeplwa ir aela logos aeplwa karphud 1 hrux poverty of speech 2 epnkarimphudthungsingthiimidthamhruximidetuxnihphud sungthwiptangkbkarphudpkti epnxakarthiphbinkhnikhorkhcitephthaelakhwamphidpktithangbukhlikphaphkhux schizotypal personality disorder xyangsamy odycdepnxakarechinglb negative symptom sungxacthacitbabdephuxrksaorkhihyungyakephraasnthnadwylabakkarphudnxybxykhrngcdwaepnrupaebbhnungkhxngphawaesiykarsuxkhwam aphasia sungepnkhwamphikarthwipkhxngsmrrthphaphthangphasa sungmkekidkbkhwamphikarthangechawnpyyaaelaphawasmxngesuxmodyepnphlkhxngkhwamesiyhaytxsmxngsiksay enuxha 1 lksna 2 twxyang 3 ehtu 4 karrksa 5 khwamsmphnthkborkhcitephth 6 echingxrrthaelaxangxinglksna aekikhphawanimilksnaepnkarphudnxy bxykhrngephraakrabwnkarthangkhwamkhidthukkhdkhwang pktiaelw karbadecbthismxngsiksayxacepnehtuihxakarpraktinkhnhnung emuxkhuykn khnikhxakarnicatxbnxyaelakhatxbthiihcairsingthiphudexng aelabangkhrng xacimtxbkhathamely 3 khatxbthiihcasn odythwipepnkartxbkhathamhruxtxbsnxngtxkaretuxnihphud 4 nxkcaksingthiimphudaelw kiriyathathangthiklawkhatxbkcaidrbphldwy khnikhmktxbimchd imxxkesiyngphyychnaihchdecnehmuxnpkti khaphudimkikhathiphudpkticakhxy ebalngcnehluxaetesiyngkrasib hruxcbxyangdux inphyangkhthisxng ngansuksaidaesdngshsmphnthrahwangkhawdkarimphudkbcanwnaelarayakarhyudchwkhnaemuxphudtxbkhathamepnladbthinkwicytham 1 5 khwamimsamarthphudmacakpyhathangicxnepnmulthanthithaihkhnikhmikhwamkhdkhxnghakhathismkhwrinic aelakhwamkhdkhxngthangkhwamkhid ngansuksathisarwckhnikhodyihthanganaebb category fluency task aesdngwa khnikhorkhcitephththimixakarnipraktwamikhwamcaxasykhwamhmay semantic memory thisbsnkwakhninklumkhwbkhum aemthngsxngklumcasrangkhacanwnetha kn aetkhathikhnikhorkhcitephthsrangcaimepnraebiyb karwiekhraahaebbklum cluster analysis phbwakhnikhmikarekaaekiywkhwam coherence thiaeplkprahlad 6 twxyang aekikhswnniimmikarxangxingcakexksarxangxinghruxaehlngkhxmul oprdchwyphthnaswnniodyephimaehlngkhxmulnaechuxthux enuxhathiimmikarxangxingxacthukkhdkhanhruxnaxxkkarphudnxy khaphudpktith khunmilukihm t mi th mikikhn t sxngkhn th lukxayuethaihraelw t 6 khwbaela 16 pi th epnhyinghruxchay t xyanglakhn th ikhrthimixayu 16 pi t phuchay th ekhachuxxair t exdmxnd th aelwphuhyingla t xalis th khunmilukihm t mi phuhyingkhnphuchaykhn th xayuethaihr t exdmxndxayu 16 piaelaxalis 6 khwbehtu aekikhkarphudnxyxacekidcakkarthanganphidpktikhxngwngcrprasath khux frontostriatal circuit sungmiphlihhnwyekbkhwamhmay semantic store esuxm epnsunythixyuinsmxngklibkhmbaelaaeplphlthangkhwamhmaykhxngphasa innganthdlxngsrangkha khnikhorkhcitephtheruxrngklumyxyklumhnungsrangkhanxykwakhnpktiaelamikhlngsphththicakdkwa sungepnhlkthanwahnwyekbechingkhwamhmaymiprasiththiphaphnxylng swnnganxiknganhnungphbwa emuxtxngrabuchuxinhmwd hnung khnikhorkhcitephthmipyhamakaetcathaiddikhunemuxphuthakarthdlxngichsingeraxikxyanghnungephuxchwyaenaaenwphvtikrrmaebbimrutw khxsrupniehmuxnkbthiidcakkhnikhorkhhntingtnaelaorkhpharkhinsn sungkepnorkhthiekiywkhxngkbwngcrprasath frontostriatal circuit echnkn 7 karrksa aekikhngansuksathangkaraephthyidsrupwa yathiihephim adjunct bangxyangchwybrrethaxakarechinglb negative symptom khxngorkhcitephth odyhlkkhuxphawaphudnxy inngansuksahnung yaaeksumesrapraephth tetracyclic antidepressant khux maprotiline samarthldphawaniidmakthisudodyldradbkhwamrunaerngidthung 50 8 inbrrdaxakarechinglbkhxngorkhcitephth phawaphudnxytxbsnxngtxyaiddiepnxndbsxng swnxndbaerkkhuxkarimmismathi karisicimephiyngphx attention deficiency yakratunrabbprasathklangkhux dextroamphetamine epnyaxikxyangthiidthdlxnginkhnikhorkhcitephthaelwphbwa miprasiththiphlldxakarechinglb aetwithikarniimidphthnatxephraamiphlimphungprasngkhtxxakarxun khxngorkhcitephth echn ephimkhwamrunaerngkhxngxakarechingbwk positive symptom 9 khwamsmphnthkborkhcitephth aekikhaemxakarnicaphbinorkhtang aetkphbxyangsamyodyepnxakarechinglb negative symptom khxngorkhcitephth sungkxnniekhyphicarnawaekiywkborkhsmxngklibhna frontal lobe disorder hrux dysexecutive syndrome inrupaebbthiepnorkhthangcitewch xyangirkdi ngansuksakidaesdngwa xakarorkhcitephthmishsmphnthkborkhsmxngklibhnacring 10 ngansuksaaelanganwiekhraahthiidthaaelwsrupwa txngmipccyxyangnxysamxyangephuxkhrxbkhlumthngxakarechingbwkaelaxakarechinglbkhxngorkhcitephth pccythngsamkhux xakarorkhcit psychotic factor xakarsbsnwunway disorganization factor aelaxakarechinglb negative symptom factor ngansuksaidaesdngwa karaesdngxarmnphidpktismphnthxyangmikalngkbphvtikrrmaeplkprahlakaelakhwamphidpktithangkhwamkhid formal thought disorder thiepnxakarechingbwkodyepnswnkhxngpccykhuxkhwamsbsnwunway swnkhwamphikarthangkarisicsmphnthxyangsakhykbxakarorkhcit khwamsbsnwunway aelaxakarechinglb xakarphudnxymithngxakarechingbwkaelaechinglbkhxngorkhcitephth odykarmieruxngphudnxy poverty of content epnpccykhuxkhwamsbsnwunway aelakarphudnxy poverty of speech ichewlatxbnan aelakhwamkhidchangk epnpccykhuxxakarechinglb 11 echingxrrthaelaxangxing aekikh 1 0 1 1 MedTerms medical dictionary Alogia definition khlngkhxmuleka ekbcak aehlngedim emux 2006 10 22 subkhnemux 2006 09 30 Unknown parameter deadurl ignored help American Psychiatric Association 2000 Diagnostic and Statistical Manual of Mental Disorders Fourth Edition DSM IV TR American Psychiatric Pub p 301 ISBN 978 0 89042 025 6 subkhnemux 2012 04 29 Alogia Definition khlngkhxmuleka ekbcak aehlngedim emux 2012 04 02 Unknown parameter deadurl ignored help Alpert M Kotsaftis A Pouget ER 1997 Speech fluency and schizophrenic negative signs Schizophrenia Bulletin 23 171 177 Alpert M Clark A Pouget ER 1994 The syntactic role of pauses in the speech patients with schizophrenia and alogia Journal of Abnormal Psychology 103 750 757 Sumiyoshi C Sumiyoshi T Nohara S Yamashita I Matsui M Kurachi M Niwa S Apr 2005 Disorganization of semantic memory underlies alogia in schizophrenia an analysis of verbal fluency performance in Japanese subjects Schizophr Res 74 1 91 100 doi 10 1016 j schres 2004 05 011 PMID 15694758 Chen RY Chen EY Chan CK Lam LC Lieh Mak E 2000 Verbal fluency in schizophrenia reduction in semantic store Australian and New Zealand Journal of Psychiatry 34 43 48 Shafti S S Rey S Abad A 2005 Drug Specific Responsiveness of Negative Symptoms International Journal of Psychosocial Rehabilitation pp 10 1 43 51 khlngkhxmuleka ekbcak aehlngedim emux 2012 07 12 Unknown parameter deadurl ignored help Desai N Gangadhar BN Pradhan N Channabasavanna SM 1984 Treatment of negative schizophrenia with d amphetamine The American Journal of Psychiatry 141 723 724 Barch D M Berenbaum H 1996 Language production and thought disorder in schizophrenia Journal of Abnormal Psychology 105 81 88 Miller D Arndt S Andreasen N 2004 Alogia attentional impairment and inappropriate affect Their status in the dimensions of schizophrenia Comprehensive Psychiatry 34 221 226 ekhathungcak https th wikipedia org w index php title xakarphudnxy amp oldid 8634265, wikipedia, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด,

บทความ

, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม