fbpx
วิกิพีเดีย

อาร์เอพีดี

อาร์เอพีดี (อังกฤษ: random amplification of polymorphic DNA, ย่อได้ว่า RAPD อาจอ่านได้ว่า "เรปิด" (rapid)) เป็นวิธีตรวจลายพิมพ์ดีเอ็นเอโดยใช้เทคนิคพีซีอาร์ แบบหนึ่งที่ไม่จำเป็นต้องทราบข้อมูลเกี่ยวกับลำดับเบสของดีเอ็นเอเป้าหมาย เนื่องจากไพรเมอร์ที่ใช้ไม่จำเพาะเจาะจงกับดีเอ็นเอบริเวณใด (arbitrary primer) วิธีการนี้มีการเรียกชื่อแบบอื่นได้อีก เช่น arbitrarily primed PCR (AP-PCR), DNA amplification fingerprinting (DAF) หรือ multiple arbitrary amplicon profiling (MAAP) ซึ่งแต่ละวิธีที่เรียกนี้มีข้อแตกต่างกันบ้าง คือ ขนาดของไพรเมอร์ที่ใช้ แต่หลักการไม่แตกต่างกัน คือ ใช้ไพรเมอร์ที่มีขนาดสั้นเพียงชนิดเดียวเพื่อเพิ่มปริมาณดีเอ็นเอแบบสุ่ม มีนักวิจัยบางกลุ่มใช้ไพรเมอร์ 2 ชนิดพร้อมกัน ซึ่งก็ใช้ได้เช่นเดียวกัน แต่ที่นิยมคือ ใช้ไพรเมอร์เพียงชนิดเดียวและใช้วิธีแบบที่เรียกว่าอาร์เอพีดี คิดค้นขึ้นโดย วิลเลียมส์ และคณะในปี ค.ศ. 1990 โดยใช้ไพรเมอร์ขนาด 10 นิวคลีโอไทด์เพียงชนิดเดียวเพื่อเพิ่มปริมาณดีเอ็นเอ แล้วแยกขนาดของดีเอ็นเอที่ได้โดยการทำอิเล็กโทรโฟรีซิสในเจลอะกาโรส และย้อมแถวดีเอ็นเอด้วยเอธิเดียมโบรไมด์

การทดลองเทคนิคอาร์เอพีดี

DAF ใช้ครั้งแรกโดยคณะของ Caetano-Anolles ในปี ค.ศ. 1991 โดยใช้ไพรเมอร์ขนาดสั้นเพียง 5-8 นิวคลีโอไทด์ และใช้โปรแกรมการเพิ่มปริมาณโดยใช้อุณหภูมิ 2 ระดับเท่านั้น แทนที่จะใช้ 3 ระดับแบบที่ใช้กับ PCR ทั่วไป แล้วแยกชิ้นดีเอ็นเอที่ได้โดยทำอิเล็กโทรโฟรีซิในเจลพอลิอะครีลาไมด์ และย้อมด้วยซิลเวอร์ไนเตรท

AP-PCR ทำโดย Welsh และ McClelland ในปี ค.ศ. 1990 โดยใช้ไพรเมอร์ขนาด 20 หรือ มากกว่า 20 นิวคลีโอไทด์ ใช้โปรแกรมการเพิ่มปริมาณดีเอ็นเอ 2 โปรแกรม คือ ใช้อุณหภูมิสำหรับ annealing ต่ำในรอบแรกแล้วจึงเพิ่มให้สูงขึ้นอีก 30-40 รอบ ในการทำ PCR ช่วงหลังใส่นิวคลีโอไทด์ที่ติดฉลากด้วยสารกัมมันตรังสีลงไป แล้วจึงแยกขนาดดีเอ็นเอด้วยเจลพอลิอะคลีลาไมด์ตรวจสอบผลโดยทำออโตเรดิโอกราฟ ซึ่งนับเป็นวิธีที่ยุ่งยากที่สุด

หลักการทำ RAPD

วิธี RAPD ของ William และคณะ ใช้ไพรเมอร์ขนาด 10 นิวคลีโอไทด์ ซึ่งจะเข้าไปเกาะกับดีเอ็นเอเป้าหมายในบริเวณที่มีเบสเป็นคู่สมกัน โดยไม่จำเป็นต้องทราบว่าไพรเมอร์จะเข้าไปเกาะกับดีเอ็นเอส่วนใดบนโครโมโซมใด โอกาสที่จะพบลำดับเบสที่เป็นคู่สมกับไพรเมอร์คือ 1 ใน 410 โดยประมาณ ถ้าไพรเมอร์เข้าไปเกาะกับดีเอ็นเอโดยเกิดคู่สมได้ 100 เปอร์เซ็นต์ และนิวคลีโอไทด์แต่ละชนิดมีสัดส่วนเท่า ๆ กันในจีโนม สามารถประมาณค่าของจำนวนแถบดีเอ็นเอที่จะเกิดขึ้นจากไพรเมอร์ 1 ชนิดได้จากสมการ

b = (2,000 x 4-2n) x c

เมื่อ

b คือ จำนวนแถบดีเอ็นเอที่คาดหมายในหนึ่งไพรเมอร์
n คือ ความยาวของไพรเมอร์ คิดแป็นจำนวนนิวคลีโอไทด์
c คือ ค่าขนาดของจีโนมหรือค่า c value

ตัวอย่างเช่น ข้าวโพดมีจีโนมขนาด 6 x109 คู่เบส นำมาทำ RAPD โดยใช้ไพรเมอร์ขนาด 10 นิวคลีโอไทด์ (10-mer) จะได้แถบดีเอ็นเอประมาณ 10.9 แถบ

อย่างไรก็ตาม จากการทดลองของนักวิจัยหลายท่านพบว่าจำนวนแถบดีเอ็นที่เกิดขึ้นไม่ได้ขึ้นกับขนาดของจีโนม พืชที่มีจีโนมขนาดใหญ่อาจเกิดแถบดีเอ็นเอที่น้อยกว่าพืชที่มีจีโนมขนาดเล็กก็ได้ การเกิดแถบดีเอ็นเอเป็นผลมาจากไพรเมอร์เข้าไปเกาะได้หลายบริเวณ ถ้าไพรเมอร์ไปเกาะกับดีเอ็นเอ 2 บริเวณที่อยู่ไม่ไกลกันมาก โดยเกาะกับดีเอ็นเอคนละสายในทิศทางเข้าหากัน (5’ -> 3’) จะสามารถเพิ่มปริมาณดีเอ็นเอในช่วงดังกล่าวได้ แต่ถ้าไพรเมอร์เกาะกับดีเอ็นเอสายเดียวกันในทิศทางเดียวกัน หรือเกาะกับดีเอ็นเอคนละสายแต่ทิศทางแยกออกจากกันหรือเกาะได้ใน 2 สายที่ห่างไกลกันมาก แม้ทิศทางจะเข้าหากันก็ไม่สามารถจะเกิดผลผลิตได้ ความแตกต่างของแถบ RAPD หรือพอลิมอร์ฟิซึมที่เกิดขึ้นระหว่างแต่ละตัวอย่างอาจจะเกิดจาก

  1. มีชิ้นส่วนดีเอ็นเอขนาดใหญ่มาสอดแทรกในระหว่างตำแหน่ง 2 ตำแหน่งที่ไพรเมอร์เกาะ ทำให้ไพรเมอร์ทั้งสองโมเลกุลอยู่ห่างกันเกินกว่าที่จะเพิ่มปริมาณดีเอ็นเอได้ จึงไม่เกิดแถบดีเอ็นเอ
  2. ชิ้นส่วนดีเอ็นเอส่วนที่เป็นที่เกาะกับไพรเมอร์หายไปหนึ่งตำแหน่งหรือทั้ง 2 ตำแหน่งทำให้ไม่เกิดแถบดีเอ็นเอจากบริเวณดังกล่าว
  3. มีการแทนที่หรือเปลี่ยนแปลงเบสบริเวณที่เป็นที่เกาะของไพรเมอร์ทำให้ไพรเมอร์เกาะกับดีเอ็นเอเป้าหมายไม่ได้จึงไม่เกิดแถบดีเอ็นเอ
  4. มีชิ้นส่วนดีเอ็นเอขนาดเล็กสอดแทรกเข้ามาหรือหายไป ทำให้ขนาดของแถบดีเอ็นเอที่เกิดขึ้นเปลี่ยนแปลงไป

อย่างไรก็ดี พอลิมอร์ฟิซึมของ RAPD มักเกิดขึ้นในลักษณะการมีและไม่มีแถบดีเอ็นเอที่ตำแหน่งหนึ่ง ๆ มากกว่าการเปลี่ยนขนาดของแถบดีเอ็นเอ เนื่องจากดีเอ็นเอของพืชพบทั้งจากนิวเคลียส คลอโรพลาสต์ และไมโทคอนเดรีย ในการสกัดดีเอ็นเอจากเซลล์ทั้งหมดนำมาวิเคราะห์ RAPD พบว่าแถบดีเอ็นเอบางส่วนประมาณ 5 เปอร์เซ็นต์เกิดจากการเพิ่มปริมาณดีเอ็นเอในส่วนของไมโทคอนเดรีย และน้อยกว่า 5 เปอร์เซ็นต์มาจากดีเอ็นเอในคลอโรพลาสต์ ดังนั้นแถบดีเอ็นเอของเครื่องหมาย RAPD (RAPD marker) ส่วนใหญ่จึงมาจากดีเอ็นเอในนิวเคลียส ซึ่งมีการถ่ายทอดมาจากทั้งฝ่ายพ่อและฝ่ายแม่ แม้ว่าเทคนิค RAPD จะทำได้ง่าย รวดเร็ว และให้ข้อมูลได้มาก แต่ก็มีข้อเสียในเรื่องการทดลองซ้ำ บางครั้งได้ผลที่ต่างจากเดิมเนื่องจาก RAPD มีความไวต่อการเปลี่ยนสภาวะต่าง ๆ จึงต้องระมัดระวังและควบคุมสภาพการทดลองให้คงที่ นอกจากนี้แถบดีเอ็นเอที่เกิดจาก RAPD ยังแสดงการข่ม (dominance) ต่อการไม่เกิดแถบดีเอ็นเอ ซึ่งทำให้ไม่สามารถบอกความแตกต่างระหว่างโฮโมไซโกตและเฮเทอโรไซโกตได้

วิธีปฏิบัติ

เทคนิค RAPD ทำได้ง่ายและรวดเร็ว นับว่าเป็นพื้นฐานที่ดีสำหรับผู้ที่จะเริ่มงานทางด้านดีเอ็นเอ วิธีปฏิบัติเริ่มจากการเก็บตัวอย่างที่ต้องการศึกษา นำมาสกัดดีเอ็นเอ วัดปริมาณดีเอ็นเอที่ได้ ตรวจสอบคุณภาพ และนำมาทำ PCR โดยสุ่มเลือกไพรเมอร์หลายๆ ชนิด เมื่อเลือกได้ไพรเมอร์ที่เหมาะสมแล้ว จึงวิเคราะห์ RAPD จากตัวอย่างและวิเคราะห์ผลที่ได้

การวิเคราะห์ผลของ RAPD

จากแถบดีเอ็นเอที่ได้ สามารถใช้แยกความแตกต่างของสิ่งมีชีวิตแต่ละตัวอย่าง และบอกความสัมพันธ์ทางวิวัฒนาการระหว่างตัวอย่างได้ด้วย โดยการเปรียบเทียบความเหมือนและความแตกต่างของแถบดีเอ็นเอที่เกิดขึ้น โดยตัวอย่างที่พบแถบดีเอ็นเอที่ตำแหน่งหนึ่ง ๆ ให้สัญลักษณ์เป็น "+" หรือให้คะแนนเป็น "1" ส่วนตัวอย่างที่ไม่พบแถบดีเอ็นเอที่ตำแหน่งเดียวกันนั้นให้สัญลักษณ์เป็น "-" หรือให้คะแนนเป็น "0" ในการให้คะแนนแถบดีเอ็นเอเกิดปัญหาได้บ่อยๆ เช่น แถบดีเอ็นเอในบางแถวจางหรือไม่ชัดเจน หรือตำแหน่งอาจคลาดเคลื่อนจากกัน เนื่องจากเจลเกิด smile อันมีสาเหตุจากแถบดีเอ็นเอแถวที่อยู่ด้านนอกเคลื่อนที่ไปช้ากว่าแถบดีเอ็นเอที่อยู่แถวกลาง เป็นต้น ในกรณีดังกล่าวนี้ถ้าแถบดีเอ็นเอในแถวใดไม่ชัดเจน ไม่อาจบอกได้แน่ชัด ให้ตัดแถบดีเอ็นเอดังกล่าวออกไปไม่ต้องนำมาคิด การให้คะแนนหรือตรวจดูแถบดีเอ็นเอนี้อาจดูด้วยสายตาหรือใช้เครื่องอ่านก็ได้ เปรียบเทียบความเหมือนของแถบของดีเอ็นเอที่ได้จากแต่ละคู่โดยใช้ค่า similarity index (S) โดย S จะมีค่าตั้งแต่ 0 ถึง 1 โดย 0 คือ ทั้งสองตัวอย่างไม่มีแถบดีเอ็นเอที่เหมือนกันเลย และ S=1 หมายถึง ทั้งสองตัวอย่างมีแถบดีเอ็นเอเหมือนกันทั้งหมด

อ้างอิง

  • สุรินทร์ ปิยะโชคณากุล (2552). เครื่องหมายดีเอ็นเอ จากพื้นฐานสู่การประยุกต์. สำนักพิมพ์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์, กรุงเทพฯ.
  1. Williams, J.K.G et al. (1990): DNA polymorphisms amplified by arbitrary primers are useful as genetic markers. In: Nucleic Acids Res. Bd. 18, S. 6531-6535. PMID 1979162 บทความเต็ม

อาร, เอพ, งกฤษ, random, amplification, polymorphic, อได, rapd, อาจอ, านได, เรป, rapid, เป, นว, ตรวจลายพ, มพ, เอ, นเอโดยใช, เทคน, คพ, อาร, แบบหน, งท, ไม, จำเป, นต, องทราบข, อม, ลเก, ยวก, บลำด, บเบสของด, เอ, นเอเป, าหมาย, เน, องจากไพรเมอร, ใช, ไม, จำเพาะเจาะจงก,. xarexphidi xngkvs random amplification of polymorphic DNA yxidwa RAPD xacxanidwa erpid rapid epnwithitrwclayphimphdiexnexodyichethkhnikhphisixar aebbhnungthiimcaepntxngthrabkhxmulekiywkbladbebskhxngdiexnexepahmay enuxngcakiphremxrthiichimcaephaaecaacngkbdiexnexbriewnid arbitrary primer withikarnimikareriykchuxaebbxunidxik echn arbitrarily primed PCR AP PCR DNA amplification fingerprinting DAF hrux multiple arbitrary amplicon profiling MAAP sungaetlawithithieriyknimikhxaetktangknbang khux khnadkhxngiphremxrthiich aethlkkarimaetktangkn khux ichiphremxrthimikhnadsnephiyngchnidediywephuxephimprimandiexnexaebbsum minkwicybangklumichiphremxr 2 chnidphrxmkn sungkichidechnediywkn aetthiniymkhux ichiphremxrephiyngchnidediywaelaichwithiaebbthieriykwaxarexphidi khidkhnkhunody wileliyms aelakhnainpi kh s 1990 1 odyichiphremxrkhnad 10 niwkhlioxithdephiyngchnidediywephuxephimprimandiexnex aelwaeykkhnadkhxngdiexnexthiidodykarthaxielkothrofrisisineclxakaors aelayxmaethwdiexnexdwyexthiediymobrimdkarthdlxngethkhnikhxarexphidi DAF ichkhrngaerkodykhnakhxng Caetano Anolles inpi kh s 1991 odyichiphremxrkhnadsnephiyng 5 8 niwkhlioxithd aelaichopraekrmkarephimprimanodyichxunhphumi 2 radbethann aethnthicaich 3 radbaebbthiichkb PCR thwip aelwaeykchindiexnexthiidodythaxielkothrofrisiineclphxlixakhrilaimd aelayxmdwysilewxrinetrthAP PCR thaody Welsh aela McClelland inpi kh s 1990 odyichiphremxrkhnad 20 hrux makkwa 20 niwkhlioxithd ichopraekrmkarephimprimandiexnex 2 opraekrm khux ichxunhphumisahrb annealing tainrxbaerkaelwcungephimihsungkhunxik 30 40 rxb inkartha PCR chwnghlngisniwkhlioxithdthitidchlakdwysarkmmntrngsilngip aelwcungaeykkhnaddiexnexdwyeclphxlixakhlilaimdtrwcsxbphlodythaxxoterdioxkraf sungnbepnwithithiyungyakthisud enuxha 1 hlkkartha RAPD 2 withiptibti 3 karwiekhraahphlkhxng RAPD 4 xangxinghlkkartha RAPD aekikhwithi RAPD khxng William aelakhna ichiphremxrkhnad 10 niwkhlioxithd sungcaekhaipekaakbdiexnexepahmayinbriewnthimiebsepnkhusmkn odyimcaepntxngthrabwaiphremxrcaekhaipekaakbdiexnexswnidbnokhromosmid oxkasthicaphbladbebsthiepnkhusmkbiphremxrkhux 1 in 410 odypraman thaiphremxrekhaipekaakbdiexnexodyekidkhusmid 100 epxresnt aelaniwkhlioxithdaetlachnidmisdswnetha knincionm samarthpramankhakhxngcanwnaethbdiexnexthicaekidkhuncakiphremxr 1 chnididcaksmkarb 2 000 x 4 2n x cemux b khux canwnaethbdiexnexthikhadhmayinhnungiphremxr n khux khwamyawkhxngiphremxr khidaepncanwnniwkhlioxithd c khux khakhnadkhxngcionmhruxkha c value dd twxyangechn khawophdmicionmkhnad 6 x109 khuebs namatha RAPD odyichiphremxrkhnad 10 niwkhlioxithd 10 mer caidaethbdiexnexpraman 10 9 aethbxyangirktam cakkarthdlxngkhxngnkwicyhlaythanphbwacanwnaethbdiexnthiekidkhunimidkhunkbkhnadkhxngcionm phuchthimicionmkhnadihyxacekidaethbdiexnexthinxykwaphuchthimicionmkhnadelkkid karekidaethbdiexnexepnphlmacakiphremxrekhaipekaaidhlaybriewn thaiphremxripekaakbdiexnex 2 briewnthixyuimiklknmak odyekaakbdiexnexkhnlasayinthisthangekhahakn 5 gt 3 casamarthephimprimandiexnexinchwngdngklawid aetthaiphremxrekaakbdiexnexsayediywkninthisthangediywkn hruxekaakbdiexnexkhnlasayaetthisthangaeykxxkcakknhruxekaaidin 2 saythihangiklknmak aemthisthangcaekhahaknkimsamarthcaekidphlphlitid khwamaetktangkhxngaethb RAPD hruxphxlimxrfisumthiekidkhunrahwangaetlatwxyangxaccaekidcak michinswndiexnexkhnadihymasxdaethrkinrahwangtaaehnng 2 taaehnngthiiphremxrekaa thaihiphremxrthngsxngomelkulxyuhangknekinkwathicaephimprimandiexnexid cungimekidaethbdiexnex chinswndiexnexswnthiepnthiekaakbiphremxrhayiphnungtaaehnnghruxthng 2 taaehnngthaihimekidaethbdiexnexcakbriewndngklaw mikaraethnthihruxepliynaeplngebsbriewnthiepnthiekaakhxngiphremxrthaihiphremxrekaakbdiexnexepahmayimidcungimekidaethbdiexnex michinswndiexnexkhnadelksxdaethrkekhamahruxhayip thaihkhnadkhxngaethbdiexnexthiekidkhunepliynaeplngipxyangirkdi phxlimxrfisumkhxng RAPD mkekidkhuninlksnakarmiaelaimmiaethbdiexnexthitaaehnnghnung makkwakarepliynkhnadkhxngaethbdiexnex enuxngcakdiexnexkhxngphuchphbthngcakniwekhliys khlxorphlast aelaimothkhxnedriy inkarskddiexnexcakesllthnghmdnamawiekhraah RAPD phbwaaethbdiexnexbangswnpraman 5 epxresntekidcakkarephimprimandiexnexinswnkhxngimothkhxnedriy aelanxykwa 5 epxresntmacakdiexnexinkhlxorphlast dngnnaethbdiexnexkhxngekhruxnghmay RAPD RAPD marker swnihycungmacakdiexnexinniwekhliys sungmikarthaythxdmacakthngfayphxaelafayaem aemwaethkhnikh RAPD cathaidngay rwderw aelaihkhxmulidmak aetkmikhxesiyineruxngkarthdlxngsa bangkhrngidphlthitangcakedimenuxngcak RAPD mikhwamiwtxkarepliynsphawatang cungtxngramdrawngaelakhwbkhumsphaphkarthdlxngihkhngthi nxkcakniaethbdiexnexthiekidcak RAPD yngaesdngkarkhm dominance txkarimekidaethbdiexnex sungthaihimsamarthbxkkhwamaetktangrahwangohomisoktaelaehethxorisoktidwithiptibti aekikhethkhnikh RAPD thaidngayaelarwderw nbwaepnphunthanthidisahrbphuthicaerimnganthangdandiexnex withiptibtierimcakkarekbtwxyangthitxngkarsuksa namaskddiexnex wdprimandiexnexthiid trwcsxbkhunphaph aelanamatha PCR odysumeluxkiphremxrhlay chnid emuxeluxkidiphremxrthiehmaasmaelw cungwiekhraah RAPD caktwxyangaelawiekhraahphlthiidkarwiekhraahphlkhxng RAPD aekikhcakaethbdiexnexthiid samarthichaeykkhwamaetktangkhxngsingmichiwitaetlatwxyang aelabxkkhwamsmphnththangwiwthnakarrahwangtwxyangiddwy odykarepriybethiybkhwamehmuxnaelakhwamaetktangkhxngaethbdiexnexthiekidkhun odytwxyangthiphbaethbdiexnexthitaaehnnghnung ihsylksnepn hruxihkhaaennepn 1 swntwxyangthiimphbaethbdiexnexthitaaehnngediywknnnihsylksnepn hruxihkhaaennepn 0 inkarihkhaaennaethbdiexnexekidpyhaidbxy echn aethbdiexnexinbangaethwcanghruximchdecn hruxtaaehnngxackhladekhluxncakkn enuxngcakeclekid smile xnmisaehtucakaethbdiexnexaethwthixyudannxkekhluxnthiipchakwaaethbdiexnexthixyuaethwklang epntn inkrnidngklawnithaaethbdiexnexinaethwidimchdecn imxacbxkidaenchd ihtdaethbdiexnexdngklawxxkipimtxngnamakhid karihkhaaennhruxtrwcduaethbdiexnexnixacdudwysaytahruxichekhruxngxankid epriybethiybkhwamehmuxnkhxngaethbkhxngdiexnexthiidcakaetlakhuodyichkha similarity index S ody S camikhatngaet 0 thung 1 ody 0 khux thngsxngtwxyangimmiaethbdiexnexthiehmuxnknely aela S 1 hmaythung thngsxngtwxyangmiaethbdiexnexehmuxnknthnghmdxangxing aekikhsurinthr piyaochkhnakul 2552 ekhruxnghmaydiexnex cakphunthansukarprayukt sankphimph mhawithyalyekstrsastr krungethph Williams J K G et al 1990 DNA polymorphisms amplified by arbitrary primers are useful as genetic markers In Nucleic Acids Res Bd 18 S 6531 6535 PMID 1979162 bthkhwametmekhathungcak https th wikipedia org w index php title xarexphidi amp oldid 4746393, wikipedia, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด,

บทความ

, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม