fbpx
วิกิพีเดีย

เจมส์ จอร์จ เฟรเซอร์

เซอร์ เจมส์ จอร์จ เฟรเซอร์ (อังกฤษ: James George Frazer; 1 มกราคม ค.ศ. 18547 พฤษภาคม ค.ศ. 1941) เป็นนักมานุษยวิทยาสังคมชาวสกอตแลนด์ เป็นหนึ่งในผู้ก่อตั้งวิชามานุษยวิทยา และริเริ่มการศึกษาปรัมปราวิทยาและศาสนาเปรียบเทียบ

เจมส์ จอร์จ เฟรเซอร์
เกิด1 มกราคม ค.ศ. 1854(1854-01-01)
กลาสโกว์, สกอตแลนด์, สหราชอาณาจักร
เสียชีวิต7 พฤษภาคม ค.ศ. 1941 (87 ปี)
เคมบริดจ์, อังกฤษ, สหราชอาณาจักร
สัญชาติสกอตแลนด์
ศิษย์เก่ามหาวิทยาลัยกลาสโกว์
มีชื่อเสียงจากการศึกษาปรัมปราวิทยาและศาสนาเปรียบเทียบ
รางวัลภาคีสมาชิกราชสมาคมแห่งลอนดอน
อาชีพทางวิทยาศาสตร์
สาขามานุษยวิทยาสังคม

ประวัติ

เจมส์ จอร์จ เฟรเซอร์ เกิดที่เมืองกลาสโกว์ เมื่อ ค.ศ. 1854 เป็นบุตรคนโตในบรรดาสี่คนของแดเนียล เอฟ. เฟรเซอร์ เภสัชกร และแคเทอรีน เฟรเซอร์ ผู้สืบเชื้อสายมาจากทูตคนแรกที่เดินทางไปเจริญสัมพันธไมตรีกับทิเบต เขาเข้าเรียนที่มหาวิทยาลัยกลาสโกว์ เมื่อ ค.ศ. 1869 ห้าปีต่อมา เฟรเซอร์ก็เรียนต่อที่วิทยาลัยทรินิที้ ในเคมบริดจ์ ในสาขาวิชาศิลปะคลาสสิก หลังจากเรียนจบ เขาได้รับตำแหน่งศาสตราจารย์ด้านมานุษยวิทยาสังคมที่ลิเวอร์พูล แต่ต่อมาก็ลาออกกลับมาอยู่ที่เคมบริดจ์จนกระทั่งเสียชีวิต

เฟรเซอร์มีผลงานที่เป็นที่รู้จักคือหนังสือ The Golden Bough (คาคบทองคำ) ซึ่งมีแนวคิดสำคัญถึงวิวัฒนาการสามขั้นของเวทมนตร์, ศาสนา และวิทยาศาสตร์ในสังคมมนุษย์ โดยขั้นแรก มนุษย์พยายามจะเอาชนะธรรมชาติโดยใช้ไสยศาสตร์ เวทมนตร์ พ่อมด หรือหมอผี โดยจะใช้วิธีการเซ่นสรวงบูชา การเต้นรำขับร้อง และการทำนาย, ขั้นที่สอง มนุษย์มีศาสนาจึงเกิดพวกนักบวชขึ้นมา ใช้วิธีการสวดมนต์ อ้อนวอน และทำพิธีกรรมต่าง ๆ เพื่อให้สิ่งศักดิ์สิทธิ์ที่นับถือเกิดความพอใจและขั้นสุดท้าย มนุษย์มีความเจริญในทางวิทยาศาสตร์ การอธิบายสิ่งต่าง ๆ โดยอาศัยหลักของเหตุผลจึงเกิดขึ้นอย่างกว้างขวาง ถึงแม้แนวคิดนี้จะมีนักวิชาการหลายท่านไม่เห็นด้วย แต่แนวคิดของเฟรเซอร์ก็มีส่วนสำคัญในการตีความ "ความเชื่อในเทวราชย์" (divine kingship) ซึ่งเป็นผลมาจากการสร้างความเชื่อและพิธีกรรมโบราณขึ้นมาใหม่ และก่อให้เกิดความคิดชาตินิยม ซึ่งสร้างความเข้มแข็งให้กับอัตลักษณ์ทางชาติพันธุ์ และแสดงให้เห็นความพยายามในการต่อสู้เพื่ออิสรภาพทางการเมือง

เฟรเซอร์ได้รับการแต่งตั้งให้เป็นอัศวินในปี ค.ศ. 1914 เขาเสียชีวิตเมื่อ ค.ศ. 1941 ขณะมีอายุได้ 87 ปี

อ้างอิง

  1. doi:10.1098/rsbm.1941.0041
    This citation will be automatically completed in the next few minutes. You can jump the queue or expand by hand
  2. Mary Beard, "Frazer, Leach, and Virgil: The Popularity (and Unpopularity) of the Golden Bough," Comparative Studies in Society and History, 34.2 (April 1992:203–224).
  3. Sir James George Frazer (1854-1941)
  4. Sir James Frazer -- NNDB
  5. คำว่า king (กษัตริย์) มาจากไหน -- บีบีซีไทย - BBC Thai
  6. ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับศาสนา...
  7. ประวัติศาสตร์ไทย
  8. คำสำคัญในระดับบัณฑิตศึกษาที่ควรรู้ โดย ปราโมทย์ ด่านประดิษฐ์
  9. Sir James George Frazer Sir James George Frazer, British anthropologist -- Encyclopædia Britannica

แหล่งข้อมูลอื่น

  •   วิกิมีเดียคอมมอนส์มีสื่อเกี่ยวกับ เจมส์ จอร์จ เฟรเซอร์

เจมส, จอร, เฟรเซอร, เซอร, งกฤษ, james, george, frazer, มกราคม, 1854, พฤษภาคม, 1941, เป, นน, กมาน, ษยว, ทยาส, งคมชาวสกอตแลนด, เป, นหน, งในผ, อต, งว, ชามาน, ษยว, ทยา, และร, เร, มการศ, กษาปร, มปราว, ทยาและศาสนาเปร, ยบเท, ยบ, เก, ด1, มกราคม, 1854, 1854, กลาสโกว, ส. esxr ecms cxrc efresxr xngkvs James George Frazer 1 mkrakhm kh s 1854 7 phvsphakhm kh s 1941 epnnkmanusywithyasngkhmchawskxtaelnd epnhnunginphukxtngwichamanusywithya aelarierimkarsuksaprmprawithyaaelasasnaepriybethiyb 2 ecms cxrc efresxrekid1 mkrakhm kh s 1854 1854 01 01 klasokw skxtaelnd shrachxanackresiychiwit7 phvsphakhm kh s 1941 87 pi ekhmbridc xngkvs shrachxanackrsychatiskxtaelndsisyekamhawithyalyklasokwmichuxesiyngcakkarsuksaprmprawithyaaelasasnaepriybethiybrangwlphakhismachikrachsmakhmaehnglxndxn 1 xachiphthangwithyasastrsakhamanusywithyasngkhmprawti aekikhecms cxrc efresxr ekidthiemuxngklasokw emux kh s 1854 epnbutrkhnotinbrrdasikhnkhxngaedeniyl exf efresxr ephschkr aelaaekhethxrin efresxr phusubechuxsaymacakthutkhnaerkthiedinthangipecriysmphnthimtrikbthiebt 3 4 ekhaekhaeriynthimhawithyalyklasokw emux kh s 1869 hapitxma efresxrkeriyntxthiwithyalythrinithi inekhmbridc insakhawichasilpakhlassik hlngcakeriyncb ekhaidrbtaaehnngsastracarydanmanusywithyasngkhmthiliewxrphul aettxmaklaxxkklbmaxyuthiekhmbridccnkrathngesiychiwitefresxrmiphlnganthiepnthiruckkhuxhnngsux The Golden Bough khakhbthxngkha 5 sungmiaenwkhidsakhythungwiwthnakarsamkhnkhxngewthmntr sasna aelawithyasastrinsngkhmmnusy odykhnaerk mnusyphyayamcaexachnathrrmchatiodyichisysastr ewthmntr phxmd hruxhmxphi odycaichwithikaresnsrwngbucha karetnrakhbrxng aelakarthanay khnthisxng mnusymisasnacungekidphwknkbwchkhunma ichwithikarswdmnt xxnwxn aelathaphithikrrmtang ephuxihsingskdisiththithinbthuxekidkhwamphxicaelakhnsudthay mnusymikhwamecriyinthangwithyasastr karxthibaysingtang odyxasyhlkkhxngehtuphlcungekidkhunxyangkwangkhwang 6 thungaemaenwkhidnicaminkwichakarhlaythanimehndwy aetaenwkhidkhxngefresxrkmiswnsakhyinkartikhwam khwamechuxinethwrachy divine kingship 7 sungepnphlmacakkarsrangkhwamechuxaelaphithikrrmobrankhunmaihm aelakxihekidkhwamkhidchatiniym sungsrangkhwamekhmaekhngihkbxtlksnthangchatiphnthu aelaaesdngihehnkhwamphyayaminkartxsuephuxxisrphaphthangkaremuxng 8 efresxridrbkaraetngtngihepnxswininpi kh s 1914 ekhaesiychiwitemux kh s 1941 khnamixayuid 87 pi 9 xangxing aekikh doi 10 1098 rsbm 1941 0041This citation will be automatically completed in the next few minutes You can jump the queue or expand by hand Mary Beard Frazer Leach and Virgil The Popularity and Unpopularity of the Golden Bough Comparative Studies in Society and History 34 2 April 1992 203 224 Sir James George Frazer 1854 1941 Sir James Frazer NNDB khawa king kstriy macakihn bibisiithy BBC Thai khwamruebuxngtnekiywkbsasna prawtisastrithy khasakhyinradbbnthitsuksathikhwrru ody praomthy danpradisth Sir James George Frazer Sir James George Frazer British anthropologist Encyclopaedia Britannicaaehlngkhxmulxun aekikh wikimiediykhxmmxnsmisuxekiywkb ecms cxrc efresxrekhathungcak https th wikipedia org w index php title ecms cxrc efresxr amp oldid 6003329, wikipedia, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด,

บทความ

, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม