fbpx
วิกิพีเดีย

เพกทิน

เพกทิน (อังกฤษ: pectin) เป็นพอลิเมอร์ชีวภาพ (biopolymer) หรือพอลิเมอร์ธรรมชาติ ที่มีการใช้กันอย่างกว้างขวางในอุตสาหกรรมอาหารและเครื่องดื่มมาช้านานโดยใช้เป็นสารเพิ่มความข้นหนืด สารก่อเจล ในผลิตภัณฑ์แยม เจลลี่ และสารเพิ่มความคงตัวของระบบคอลลอยด์ในเครื่องดื่มน้ำผลไม้และผลิตภัณฑ์ที่มีลักษณะเนื้อคล้ายเยลลี่ และจัดเป็นคาร์โบไฮเดรตประเภทไฟเบอร์หรือเส้นใยอาหารที่ไม่ถูกย่อยโดยเอนไซม์ในระบบการย่อยของร่างกายมนุษย์ ซึ่งได้รับความสนใจจากนักโภชนาการมากขึ้น เพราะจากการวิจัยให้ผลออกมาว่าอาหารที่มีไฟเบอร์สูงจะช่วยป้องกันการเกิดโรคต่างๆ หรือในทางกลับกันคนที่กินอาหารที่มีไฟเบอร์น้อยก็มีความเสี่ยงที่จะเกิดโรคต่างๆ ได้ง่ายขึ้น

โครงสร้างทางเคมีของเพกทิน

เพกทินเป็นโพลีแซคคาไรด์ที่เป็นโครงสร้างของผนังเซลล์ของพืชชั้นสูงเกือบทุกชนิด จัดเป็นสารประกอบคาร์โบไฮเดรตเช่นเดียวกับแป้งและเซลลูโลส ค้นพบในศตวรรษที่ 18 ทำหน้าที่เป็นสารที่ทำให้เกิดเจล โดยในปี ค.ศ.1825 Henri Braconnot (เภสัชกรและนักพฤกษเคมีชาวฝรั่งเศส) ได้ตั้งชื่อและริเริ่มศึกษากรรมวิธีการสกัดเพกทิน เพกทินมาจากภาษากรีกว่า “pektikos” ซึ่งแปลว่าทำให้ข้นแข็ง (to congeal) หรือทำให้กลายเป็นของแข็ง (to solidify). Kertesz ได้ให้คำจำกัดความของเพกทินว่าเป็นกรดเพกตินิก (pectinic acid) ชนิดละลายน้ำได้ซึ่งมีปริมาณหมู่เมทิลเอสเทอร์หลากหลาย สามารถเกิดเป็นเจลในสภาวะที่มีน้ำตาลและความเป็นกรดที่เหมาะสมหรือสภาวะที่มีเกลือแคลเซียมร่วมอยู่ด้วย

สารประกอบเพกทินทำหน้าที่เป็นโครงสร้างของเซลล์และเป็นสารที่สำคัญในบริเวณชั้นผนังเชื่อมยึดระหว่างเซลล์หรือมิดเดิลลาเมลลา (middle lamella) ที่ยึดเหนี่ยวเซลล์เข้าด้วยกัน โดยจับกับเซลลูโลส เฮมิเซลลูโลส และไกลโคโปรตีนของผนังเซลล์พืช เพกทินช่วยเสริมผนังเซลล์ให้หนา แข็งแรง และยืดหยุ่นได้เล็กน้อย โดยเฉพาะบริเวณที่มีเนื้อเยื่ออ่อนนุ่ม เช่น ต้นอ่อน ใบ และผลไม้

คุณสมบัติทางเคมี

สารกลุ่มเพกทินเป็นโพลีแซกคาไรด์เชิงซ้อนในพืช พบในพืชชั้นสูงโดยปรากฏในชั้นระหว่างเซลล์หรือจุดเชื่อมต่อระหว่างผนังเซลล์ ทำให้เกิดช่องสำหรับอาหารและน้ำผ่าน ในผนังเซลล์ สารกลุ่มเพกทินเป็นสารเคลือบเส้นใยเซลลูโลสที่สำคัญและอาจจะเชื่อมต่อกับพันธะโควาเลนต์กับโพลีเมอร์อื่นๆ สารกลุ่มเพกทินจัดจำแนกได้เป็น โปรโตเพกทิน เพกทิน (เพกทินมีหมู่ methoxyl สูง – เพกทินจัดตัวเร็วและเพกทินจัดตัวช้า- และเพกทินมีหมู่ methoxyl ต่ำ) และกรดเพกติก เพกทินมีอิทธิพลต่อการเจริญ พัฒนาการและการแก่ชรา และมีผลต่อลักษณะเนื้อสัมผัสของเนื้อเยื่อพืชและผลไม้ มีการใช้เพกทินอย่างแพร่หลายในอุตสาหกรรมอาหารด้วยคุณสมบัติในการก่อรูปเป็นเจล โดยใช้เป็นสารก่อเจและความคงตัวในแยม เยลลี่ และผลิตภัณฑ์นมเปรี้ยว ผิวของผลพืชตระกูลส้ม กากผลแอปเปิล และลำต้นของซูการ์ บีต เป็นแหล่งที่ดีของเพกทิน

เพกทินเป็นเฮเทอโรโพลีแซกคาไรด์ที่ซับซ้อน ประกอบด้วย homogalactoronan, rhamnogalactoronan I, และ rhamnogalactoronan II เป็นโครงสร้างหลัก homogalactoronan ประกอบด้วย (1→4) -linked α-D-galacturonic acid หมู่คาร์บอกซิล หมู่เอสเทอร์ที่เติมเมทิลและหมู่ไฮดรอกซิล บางกลุ่มถูกเติมหมู่อะซีติลเชื่อมติดกับออกซิเจนตัวที่ 2 หรือ 3 ซึ่งมีผลต่อคุณสมบัติของเพกทิน rhamnogalactoronan I ประกอบด้วย (1→4) -linked α-D-galacturonic acid และ (1→2) -linked α-L-rhamnose ซึ่งจะรวมตัวซึ่งกันและกันในส่วนที่เป็นสายหลัก และบางส่วนของ rhamnose มีการแตกกิ่งเป็นสายย่อยด้านข้าง ซึ่งมี arabinose, galactan, และ arabinogalactan ที่ออกซิเจนตำแหน่งที่ 4 ของ rhamnose rhamnogalactoronan II มีโครงสร้างที่ซับซ้อนมาก ประกอบด้วย (1→4) -linked α-D-galacturonic acid ในส่วนสายหลัก และมีน้ำตาลแปลกๆ เช่น D-apiose, 2-keto-3-deoxy-D-manno-2-octulosonic acid (Rdo) , 3-deoxy-D-lyxo-2-heptolosaric acid (Dha) และอื่นๆซึ่งอยู่ในสายย่อยเชื่อมติดกับออกซิเจนตัวที่ 2 หรือ 3 ของ galacturonic acid ที่สายหลัก

ปริมาณของเพกทินที่มีอยู่ในพืชผักผลไม้

ชนิดพืช ปริมาณเพกทิน
ถั่วลิสง 5.88%
ส้มเช้ง 3.90%
ถั่วเหลือง 3.45%
มะนาว 2.90%
ส้ม 2.36%
แครอท 2.00%
ฟักทอง 1.24%
กระเทียม 1.11%
กล้วย 0.94%
มัน 0.83%
แอปเปิล 0.78%
สตรอเบอร์รี่ 0.75%
ถั่วเขียว 0.70%
หัวหอม 0.35%
มะเขือเทศ 0.20%
องุ่น 0.19%
แตงโม 0.18%
แตงกวา 0.16%
สับปะรด 0.09%
พริกเขียว 0.09%

บทบาทในเชิงสุขภาพ

ในปัจจุบันการใช้เส้นใยอาหาร (dietary fiber) เป็นอาหารเสริมสุขภาพมีมากขึ้นเรื่อยๆ เนื่องจากผู้บริโภคได้รับข้อมูลข่าวสารทั้งแง่วิชาการและสื่อโฆษณาเกี่ยวกับประโยชน์ในเชิงสุขภาพและการแพทย์ของเส้นใยอาหารเพิ่มมากขึ้น นอกจากเส้นใยอาหารจำพวกรำข้าวและเซลลูโลสแล้ว เพกทินก็จัดว่าเป็นเส้นใยอาหารชนิดที่ละลายน้ำได้แต่ไม่ถูกย่อยโดยเอนไซม์ในทางเดินอาหาร เพกทินเป็นส่วนประกอบหลักในเส้นใยอาหารที่ได้จากพืชและผลไม้ส่วนใหญ่

พืชสกุลส้มเป็นแหล่งที่มีเพกทินปริมาณมากซึ่งพบได้ทั้งในส่วนที่รับประทานได้และส่วนที่รับประทานไม่ได้ เช่น เปลือก กาก และแกน ในการศึกษาเกี่ยวกับเส้นใยอาหารที่ได้จากพืชสกุลส้มส่วนใหญ่มักใช้เพกทินบริสุทธิ์มากกว่าการใช้เปลือกหรือกากผลแห้ง อย่างไรก็ตามการบริโภคผลไม้จำพวกส้มช่วยเพิ่มปริมาณเพกทินในอาหารอย่างมีนัยสำคัญ แม้ว่าในปัจจุบันจะมีการผลิตเพกทินสกัดชนิดเข้มข้นที่ได้จากเปลือกส้มซึ่งเป็นผลพลอยได้จากอุตสาหกรรมผลิตน้ำผลไม้ก็ตาม

การนำเอาเพกทินผสมร่วมในสูตรอาหารมีผลต่อกระบวนการเมแทบอลิซึมและการย่อย เช่น ผลต่อการดูดซึมกลูโคส ผลต่อระดับคอเลสเตอรอล มีการศึกษาจำนวนมากทั้งในสัตว์ทดลองและในมนุษย์ที่แสดงถึงประสิทธิภาพของเพกทินที่รับประทานในการลดอัตราการใช้น้ำตาลและการผลิตอินซูลินในผู้ป่วยเบาหวานชนิดไม่พึ่งอินซูลิน (เบาหวานชนิดที่ 2) ซึ่งโดยปกติจะทำการรักษาโดยการควบคุมอาหารเป็นอันดับแรก นอกจากนั้นการนำเอาเพกทินผสมร่วมในสูตรอาหารยังสามารถลดระดับคอเลสเตอรอลได้ ทั้งนี้ขึ้นกับระดับคอเลสเตอรอลในเลือดที่เป็นอยู่เดิมและอาหารที่รับประทานเป็นประจำ นอกจากนั้นเพกทินยังมีผลยับยั้งการแพร่กระจายของเซลล์มะเร็งและมีผลต่อการควบคุมน้ำหนักตัวแต่ไม่มีผลรบกวนการดูดซึมแร่ธาตุในร่างกาย

การใช้เพกทินในขนาดสูงอาจทำให้เกิดอาการไม่พึงประสงค์ซึ่งต้องให้ความสำคัญและศึกษาเพิ่มเติมต่อไป การใช้เพกทินเป็นสารสำคัญในตำรับยาเพื่อรักษาอาการท้องเสียโดยเพกทินช่วยกระตุ้นการเจริญของเนื้อเยื่อบุผิวในลำไส้ใหญ่หรือไปลดการยึดติดเยื่อบุผิวในลำไส้ใหญ่ของเชื้อจุลินทรีย์ก่อโรค การใช้เพกทินร่วมกับยาอื่นต้องระมัดระวังเนื่องจากเพกทินสามารถเกิดอันตรกิริยากับตัวยาโดยเฉพาะอย่างยิ่งยาที่มีประจุบวกหรือเพกทินอาจดูดซับตัวยาไว้ทำให้ตัวยาออกฤทธิ์ได้ไม่เต็มประสิทธิภาพ

การวิจัยเพกทินทางด้านเทคโนโลยีเภสัชกรรม

สำหรับการวิจัยเพกทินทางด้านเทคโนโลยีเภสัชกรรม สามารถใช้เพกทินในรูปแบบยาน้ำโดยใช้เพกทินผสมกับเกลือแคลเซียมรูปเชิงซ้อนซึ่งสามารถเกิดเป็นเจลของเพกทินกับเกลือแคลเซียมเมื่อตำรับยาอยู่ในทางเดินอาหาร (in-situ gelation) เพกทินสามารถใช้เป็นสารที่ทำให้อนุภาคจับกลุ่มกันอย่างหลวมๆ หรือเป็นสารช่วยแขวนตะกอนในตำรับยาน้ำแขวนตะกอนและเป็นสารก่ออิมัลชันโดยป้องกันการจับกลุ่มกันของวัฏภาคภายในของอิมัลชันได้ ส่วนการประยุกต์ใช้เพกทินในรูปแบบยาของแข็งอาจเตรียมเป็นรูปแบบที่ออกฤทธิ์ทันทีหรือออกฤทธิ์นาน การวิจัยและพัฒนารูปแบบยาที่ออกฤทธิ์ได้ทันทีโดยการใช้เพกทินเป็นสารเพิ่มปริมาณ สารช่วยแตกตัว สารยึดเกาะในเม็ดยา หรือสารก่อเพลเลต ส่วนในรูปแบบยาชนิดออกฤทธิ์นานสามารถใช้เพกทินเป็นสารก่อเมทริกซ์เพื่อควบคุมการปลดปล่อยให้ช้าลง หรือโดยการเตรียมเป็นเจลบีดโดยอาศัยการเกิดพันธะระหว่างเพกทินกับเกลือแคลเซียม หรือการเตรียมอนุภาคขนาดไมโครเมตรโดยใช้เพกทินร่วมกับพอลิเมอร์อื่นโดยวิธีการพ่นแห้งหรือวิธีโคแอเซอร์เวชันเชิงซ้อน การเตรียมเพลเลตเคลือบฟิล์มเพกทินโดยใช้เทคนิคการเกิดปฏิกิริยาเคมีที่ผิวของเพลเลตช่วยให้ได้ชั้นเคลือบที่มีความหนาสม่ำเสมอและมีสมบัติเชิงกลที่ดีขึ้น รวมถึงสามารถชะลอการปลดปล่อยตัวยาได้ดี สามารถประยุกต์ใช้ได้กับตัวยาที่มีขีดการละลายแตกต่างกันได้

เพกทินสามารถใช้ในระบบนำส่งยาชนิดติดอยู่ในกระเพาะอาหารเพื่อให้ระบบนำส่งยาลอยตัวได้ในกระเพาะอาหาร ระบบนำส่งนี้สามารถใช้ในกรณียาที่มีช่วงการดูดซึมในทางเดินอาหารแคบ ยาที่มีปัญหาเรื่องความคงตัวในลำไส้เล็ก หรือใช้เพื่อต้องการให้ยาออกฤทธิ์เฉพาะที่ในกระเพาะอาหาร เช่น กรณีต้องการกำจัดเชื้อ Helicobacter pylori ส่วนการนำส่งยาไปสู่ลำไส้ใหญ่สามารถใช้ได้ในกรณีที่ยาไม่คงตัวหรือไม่ถูกดูดซึมในทางเดินอาหารส่วนต้น ยาที่ใช้ในการรักษาพยาธิสภาพในลำไส้ใหญ่ หรือยาที่ต้องการให้ดูดซึมหรือออกฤทธิ์ช้า ระบบนำส่งยาสู่ลำไส้ใหญ่ต้องไม่ปลดปล่อยตัวยาออกมาในกระเพาะอาหารและลำไส้เล็ก และยอมให้ตัวยาปลดปล่อยออกมาเมื่อระบบนำส่งยาไปถึงบริเวณลำไส้ใหญ่ ซึ่งมีการนำเพกทินมาใช้ในการวิจัยและพัฒนาระบบนำส่งยาสู่ลำไส้ใหญ่ในรูปยาเม็ดเมทริกซ์ เจลบีด ยาเม็ดชนิดตอกเคลือบและยาเม็ดเคลือบฟิล์ม รวมถึงการใช้เพกทินเพื่อเตรียมเป็นบรรพเภสัชโดยต่อเชื่อมกับตัวยาเพื่อนำส่งยาไปสู่ลำไส้ใหญ่

ระบบนำส่งยาชนิดยึดติดเยื่อเมือกในทางเดินอาหารได้รับการพัฒนาเพื่อให้ยาอยู่ในทางเดินอาหารยาวขึ้นเพื่อเพิ่มความเข้มข้นของยาในบริเวณเฉพาะที่หรือเพิ่มการดูดซึมยาเข้าสู่กระแสเลือด โดยเพิ่มระยะเวลาการสัมผัสของระบบนำส่งยากับเนื้อเยื่อในทางเดินอาหารซึ่งต้องอาศัยสารที่มีสมบัติยึดติดเยื่อเมือก โดยเพกทินได้รับการวิจัยยืนยันว่ามีสมบัติการยึดติดเยื่อเมือกที่ดี มีการใช้เพกทินในระบบนำส่งยาชนิดยึดติดในช่องปากโดยทำในรูปยาเม็ดหรือแผ่นแปะหรือยึดติดในทางเดินอาหารเพื่อเพิ่มระดับยาในกระแสเลือด การศึกษาสมบัติการยึดติดเยื่อเมือกแบบภายนอกร่างกายพบว่าเพกทินมีสมบัติยึดติดเยื่อเมือกในลำไส้ใหญ่ได้ดีที่สุด ส่วนการยึดติดในกระพุ้งแก้มจะมีค่ามากเมื่อเพกทินอยู่ในสภาวะแห้ง รูปแบบยาที่เป็นสารประกอบเชิงซ้อนของเพกทินและลิโพโซมสามารถยึดติดเยื่อเมือกในลำไส้เล็กของหนูทดลองได้ดีที่สุด การศึกษาทางเภสัชวิทยาพบว่าระดับแคลเซียมในกระแสเลือดลดลงเมื่อให้สารประกอบเชิงซ้อนที่มียาแคลซิโทนินในหนูเมื่อเปรียบเทียบกับการให้แคลซิโทนินในรูปสารละลาย การเลือกชนิดของเพกทินที่เหมาะสมอาจช่วยให้รูปแบบยาสามารถยึดติดเยื่อเมือกในบริเวณที่ต้องการให้มีการดูดซึมยาได้

อ้างอิง

  1. Nussinovitch, A. Pectins. In: Nussinovitch A, ed. Hydrocolloid Application: Gum Technology in the Food and Other Industries. London: Blackie Academic and Professional, 1997; pp. 83-104.
  2. Rolin, C. Pectin. In: Whistler RL, Bemiller JN, eds. Industrial Gums: Polysaccharides and Their Derivatives. New York: Academic Press, 1993; pp. 257-293.
  3. Sriamornsak, P. Chemistry of pectin and its pharmaceutical uses: A review. Silpakorn University International Journal 2003; 3: 206-228. (http://www.journal.su.ac.th/index.php/suij/article/viewFile/48/48)
  4. Endress, H.U. Nonfood uses of pectin. In: Walter RH, ed. The chemistry and technology of pectin. New York: Academic Press, 1991; pp. 251-268.
  5. Sriamornsak, P. Pectin: The role in health. Silpakorn University Journal 2001-2002; 21-22: 60-77.
  6. Tamaki, Y. et al. Isolation and structural characterization of pectin from endocarp of Citrus depressa. Food Chemistry, (2007) Doi:10.1016/j.foodchem.2007.08.027
  7. พรศักดิ์ ศรีอมรศักดิ์. เพกทิน: พอลิเมอร์ชีวภาพทางเภสัชกรรม. 2551; นครปฐม: โรงพิมพ์มหาวิทยาลัยศิลปากร. 188 หน้า.] (ISBN 978-974-641-217-9).

แหล่งข้อมูลอื่น

  • โครงสร้างทางเคมีของเพกทิน (อังกฤษ)

เพกท, งกฤษ, pectin, เป, นพอล, เมอร, วภาพ, biopolymer, หร, อพอล, เมอร, ธรรมชาต, การใช, นอย, างกว, างขวางในอ, ตสาหกรรมอาหารและเคร, องด, มมาช, านานโดยใช, เป, นสารเพ, มความข, นหน, สารก, อเจล, ในผล, ตภ, ณฑ, แยม, เจลล, และสารเพ, มความคงต, วของระบบคอลลอยด, ในเคร, องด. ephkthin xngkvs pectin epnphxliemxrchiwphaph biopolymer hruxphxliemxrthrrmchati thimikarichknxyangkwangkhwanginxutsahkrrmxaharaelaekhruxngdummachananodyichepnsarephimkhwamkhnhnud sarkxecl inphlitphnthaeym eclli aelasarephimkhwamkhngtwkhxngrabbkhxllxydinekhruxngdumnaphlimaelaphlitphnththimilksnaenuxkhlayeylli aelacdepnkharobihedrtpraephthifebxrhruxesniyxaharthiimthukyxyodyexnisminrabbkaryxykhxngrangkaymnusy sungidrbkhwamsniccaknkophchnakarmakkhun ephraacakkarwicyihphlxxkmawaxaharthimiifebxrsungcachwypxngknkarekidorkhtang hruxinthangklbknkhnthikinxaharthimiifebxrnxykmikhwamesiyngthicaekidorkhtang idngaykhunokhrngsrangthangekhmikhxngephkthin ephkthinepnophliaeskhkhairdthiepnokhrngsrangkhxngphnngesllkhxngphuchchnsungekuxbthukchnid cdepnsarprakxbkharobihedrtechnediywkbaepngaelaeslluols khnphbinstwrrsthi 18 thahnathiepnsarthithaihekidecl odyinpi kh s 1825 Henri Braconnot ephschkraelankphvksekhmichawfrngess idtngchuxaelarierimsuksakrrmwithikarskdephkthin 1 2 ephkthinmacakphasakrikwa pektikos sungaeplwathaihkhnaekhng to congeal hruxthaihklayepnkhxngaekhng to solidify 3 Kertesz 4 idihkhacakdkhwamkhxngephkthinwaepnkrdephktinik pectinic acid chnidlalaynaidsungmiprimanhmuemthilexsethxrhlakhlay samarthekidepneclinsphawathiminatalaelakhwamepnkrdthiehmaasmhruxsphawathimiekluxaekhlesiymrwmxyudwysarprakxbephkthinthahnathiepnokhrngsrangkhxngesllaelaepnsarthisakhyinbriewnchnphnngechuxmyudrahwangesllhruxmidedillaemlla middle lamella thiyudehniywesllekhadwykn odycbkbeslluols ehmieslluols aelaiklokhoprtinkhxngphnngesllphuch 5 ephkthinchwyesrimphnngesllihhna aekhngaerng aelayudhyunidelknxy odyechphaabriewnthimienuxeyuxxxnnum echn tnxxn ib aelaphlim enuxha 1 khunsmbtithangekhmi 2 primankhxngephkthinthimixyuinphuchphkphlim 3 bthbathinechingsukhphaph 4 karwicyephkthinthangdanethkhonolyiephschkrrm 5 xangxing 6 aehlngkhxmulxunkhunsmbtithangekhmi aekikhsarklumephkthinepnophliaeskkhairdechingsxninphuch phbinphuchchnsungodypraktinchnrahwangesllhruxcudechuxmtxrahwangphnngesll thaihekidchxngsahrbxaharaelanaphan inphnngesll 6 sarklumephkthinepnsarekhluxbesniyeslluolsthisakhyaelaxaccaechuxmtxkbphnthaokhwaelntkbophliemxrxun sarklumephkthincdcaaenkidepn oprotephkthin ephkthin ephkthinmihmu methoxyl sung ephkthincdtwerwaelaephkthincdtwcha aelaephkthinmihmu methoxyl ta aelakrdephktik ephkthinmixiththiphltxkarecriy phthnakaraelakaraekchra aelamiphltxlksnaenuxsmphskhxngenuxeyuxphuchaelaphlim mikarichephkthinxyangaephrhlayinxutsahkrrmxahardwykhunsmbtiinkarkxrupepnecl odyichepnsarkxecaelakhwamkhngtwinaeym eylli aelaphlitphnthnmepriyw phiwkhxngphlphuchtrakulsm kakphlaexpepil aelalatnkhxngsukar bit epnaehlngthidikhxngephkthinephkthinepnehethxorophliaeskkhairdthisbsxn prakxbdwy homogalactoronan rhamnogalactoronan I aela rhamnogalactoronan II epnokhrngsranghlk homogalactoronan prakxbdwy 1 4 linked a D galacturonic acid hmukharbxksil hmuexsethxrthietimemthilaelahmuihdrxksil bangklumthuketimhmuxasitilechuxmtidkbxxksiecntwthi 2 hrux 3 sungmiphltxkhunsmbtikhxngephkthin rhamnogalactoronan I prakxbdwy 1 4 linked a D galacturonic acid aela 1 2 linked a L rhamnose sungcarwmtwsungknaelakninswnthiepnsayhlk aelabangswnkhxng rhamnose mikaraetkkingepnsayyxydankhang sungmi arabinose galactan aela arabinogalactan thixxksiecntaaehnngthi 4 khxng rhamnose rhamnogalactoronan II miokhrngsrangthisbsxnmak prakxbdwy 1 4 linked a D galacturonic acid inswnsayhlk aelaminatalaeplk echn D apiose 2 keto 3 deoxy D manno 2 octulosonic acid Rdo 3 deoxy D lyxo 2 heptolosaric acid Dha aelaxunsungxyuinsayyxyechuxmtidkbxxksiecntwthi 2 hrux 3 khxng galacturonic acid thisayhlkprimankhxngephkthinthimixyuinphuchphkphlim aekikhchnidphuch primanephkthinthwlisng 5 88 smechng 3 90 thwehluxng 3 45 manaw 2 90 sm 2 36 aekhrxth 2 00 fkthxng 1 24 kraethiym 1 11 klwy 0 94 mn 0 83 aexpepil 0 78 strxebxrri 0 75 thwekhiyw 0 70 hwhxm 0 35 maekhuxeths 0 20 xngun 0 19 aetngom 0 18 aetngkwa 0 16 sbpard 0 09 phrikekhiyw 0 09 bthbathinechingsukhphaph aekikhinpccubnkarichesniyxahar dietary fiber epnxaharesrimsukhphaphmimakkhuneruxy enuxngcakphubriophkhidrbkhxmulkhawsarthngaengwichakaraelasuxokhsnaekiywkbpraoychninechingsukhphaphaelakaraephthykhxngesniyxaharephimmakkhun nxkcakesniyxaharcaphwkrakhawaelaeslluolsaelw ephkthinkcdwaepnesniyxaharchnidthilalaynaidaetimthukyxyodyexnisminthangedinxahar ephkthinepnswnprakxbhlkinesniyxaharthiidcakphuchaelaphlimswnihy 7 phuchskulsmepnaehlngthimiephkthinprimanmaksungphbidthnginswnthirbprathanidaelaswnthirbprathanimid echn epluxk kak aelaaekn inkarsuksaekiywkbesniyxaharthiidcakphuchskulsmswnihymkichephkthinbrisuththimakkwakarichepluxkhruxkakphlaehng xyangirktamkarbriophkhphlimcaphwksmchwyephimprimanephkthininxaharxyangminysakhy aemwainpccubncamikarphlitephkthinskdchnidekhmkhnthiidcakepluxksmsungepnphlphlxyidcakxutsahkrrmphlitnaphlimktamkarnaexaephkthinphsmrwminsutrxaharmiphltxkrabwnkaremaethbxlisumaelakaryxy echn phltxkardudsumkluokhs phltxradbkhxelsetxrxl 4 5 mikarsuksacanwnmakthnginstwthdlxngaelainmnusythiaesdngthungprasiththiphaphkhxngephkthinthirbprathaninkarldxtrakarichnatalaelakarphlitxinsulininphupwyebahwanchnidimphungxinsulin ebahwanchnidthi 2 sungodypkticathakarrksaodykarkhwbkhumxaharepnxndbaerk nxkcaknnkarnaexaephkthinphsmrwminsutrxaharyngsamarthldradbkhxelsetxrxlid thngnikhunkbradbkhxelsetxrxlineluxdthiepnxyuedimaelaxaharthirbprathanepnpraca nxkcaknnephkthinyngmiphlybyngkaraephrkracaykhxngesllmaerngaelamiphltxkarkhwbkhumnahnktwaetimmiphlrbkwnkardudsumaerthatuinrangkay 5 karichephkthininkhnadsungxacthaihekidxakarimphungprasngkhsungtxngihkhwamsakhyaelasuksaephimetimtxip karichephkthinepnsarsakhyintarbyaephuxrksaxakarthxngesiyodyephkthinchwykratunkarecriykhxngenuxeyuxbuphiwinlaisihyhruxipldkaryudtideyuxbuphiwinlaisihykhxngechuxculinthriykxorkh karichephkthinrwmkbyaxuntxngramdrawngenuxngcakephkthinsamarthekidxntrkiriyakbtwyaodyechphaaxyangyingyathimipracubwkhruxephkthinxacdudsbtwyaiwthaihtwyaxxkvththiidimetmprasiththiphaphkarwicyephkthinthangdanethkhonolyiephschkrrm aekikhsahrbkarwicyephkthinthangdanethkhonolyiephschkrrm samarthichephkthininrupaebbyanaodyichephkthinphsmkbekluxaekhlesiymrupechingsxnsungsamarthekidepneclkhxngephkthinkbekluxaekhlesiymemuxtarbyaxyuinthangedinxahar in situ gelation ephkthinsamarthichepnsarthithaihxnuphakhcbklumknxyanghlwm hruxepnsarchwyaekhwntakxnintarbyanaaekhwntakxnaelaepnsarkxximlchnodypxngknkarcbklumknkhxngwtphakhphayinkhxngximlchnid swnkarprayuktichephkthininrupaebbyakhxngaekhngxacetriymepnrupaebbthixxkvththithnthihruxxxkvththinan karwicyaelaphthnarupaebbyathixxkvththiidthnthiodykarichephkthinepnsarephimpriman sarchwyaetktw saryudekaainemdya hruxsarkxephlelt swninrupaebbyachnidxxkvththinansamarthichephkthinepnsarkxemthriksephuxkhwbkhumkarpldplxyihchalng hruxodykaretriymepneclbidodyxasykarekidphntharahwangephkthinkbekluxaekhlesiym hruxkaretriymxnuphakhkhnadimokhremtrodyichephkthinrwmkbphxliemxrxunodywithikarphnaehnghruxwithiokhaexesxrewchnechingsxn karetriymephleltekhluxbfilmephkthinodyichethkhnikhkarekidptikiriyaekhmithiphiwkhxngephleltchwyihidchnekhluxbthimikhwamhnasmaesmxaelamismbtiechingklthidikhun rwmthungsamarthchalxkarpldplxytwyaiddi samarthprayuktichidkbtwyathimikhidkarlalayaetktangknidephkthinsamarthichinrabbnasngyachnidtidxyuinkraephaaxaharephuxihrabbnasngyalxytwidinkraephaaxahar rabbnasngnisamarthichinkrniyathimichwngkardudsuminthangedinxaharaekhb yathimipyhaeruxngkhwamkhngtwinlaiselk hruxichephuxtxngkarihyaxxkvththiechphaathiinkraephaaxahar echn krnitxngkarkacdechux Helicobacter pylori swnkarnasngyaipsulaisihysamarthichidinkrnithiyaimkhngtwhruximthukdudsuminthangedinxaharswntn yathiichinkarrksaphyathisphaphinlaisihy hruxyathitxngkarihdudsumhruxxxkvththicha rabbnasngyasulaisihytxngimpldplxytwyaxxkmainkraephaaxaharaelalaiselk aelayxmihtwyapldplxyxxkmaemuxrabbnasngyaipthungbriewnlaisihy sungmikarnaephkthinmaichinkarwicyaelaphthnarabbnasngyasulaisihyinrupyaemdemthriks eclbid yaemdchnidtxkekhluxbaelayaemdekhluxbfilm rwmthungkarichephkthinephuxetriymepnbrrphephschodytxechuxmkbtwyaephuxnasngyaipsulaisihyrabbnasngyachnidyudtideyuxemuxkinthangedinxaharidrbkarphthnaephuxihyaxyuinthangedinxaharyawkhunephuxephimkhwamekhmkhnkhxngyainbriewnechphaathihruxephimkardudsumyaekhasukraaeseluxd odyephimrayaewlakarsmphskhxngrabbnasngyakbenuxeyuxinthangedinxaharsungtxngxasysarthimismbtiyudtideyuxemuxk odyephkthinidrbkarwicyyunynwamismbtikaryudtideyuxemuxkthidi mikarichephkthininrabbnasngyachnidyudtidinchxngpakodythainrupyaemdhruxaephnaepahruxyudtidinthangedinxaharephuxephimradbyainkraaeseluxd karsuksasmbtikaryudtideyuxemuxkaebbphaynxkrangkayphbwaephkthinmismbtiyudtideyuxemuxkinlaisihyiddithisud swnkaryudtidinkraphungaekmcamikhamakemuxephkthinxyuinsphawaaehng rupaebbyathiepnsarprakxbechingsxnkhxngephkthinaelaliophosmsamarthyudtideyuxemuxkinlaiselkkhxnghnuthdlxngiddithisud karsuksathangephschwithyaphbwaradbaekhlesiyminkraaeseluxdldlngemuxihsarprakxbechingsxnthimiyaaekhlsiothnininhnuemuxepriybethiybkbkarihaekhlsiothnininrupsarlalay kareluxkchnidkhxngephkthinthiehmaasmxacchwyihrupaebbyasamarthyudtideyuxemuxkinbriewnthitxngkarihmikardudsumyaid 7 xangxing aekikh Nussinovitch A Pectins In Nussinovitch A ed Hydrocolloid Application Gum Technology in the Food and Other Industries London Blackie Academic and Professional 1997 pp 83 104 Rolin C Pectin In Whistler RL Bemiller JN eds Industrial Gums Polysaccharides and Their Derivatives New York Academic Press 1993 pp 257 293 Sriamornsak P Chemistry of pectin and its pharmaceutical uses A review Silpakorn University International Journal 2003 3 206 228 http www journal su ac th index php suij article viewFile 48 48 4 0 4 1 Endress H U Nonfood uses of pectin In Walter RH ed The chemistry and technology of pectin New York Academic Press 1991 pp 251 268 5 0 5 1 5 2 Sriamornsak P Pectin The role in health Silpakorn University Journal 2001 2002 21 22 60 77 Tamaki Y et al Isolation and structural characterization of pectin from endocarp of Citrus depressa Food Chemistry 2007 Doi 10 1016 j foodchem 2007 08 027 7 0 7 1 phrskdi srixmrskdi ephkthin phxliemxrchiwphaphthangephschkrrm 2551 nkhrpthm orngphimphmhawithyalysilpakr 188 hna ISBN 978 974 641 217 9 aehlngkhxmulxun aekikhokhrngsrangthangekhmikhxngephkthin xngkvs ekhathungcak https th wikipedia org w index php title ephkthin amp oldid 8893371, wikipedia, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด,

บทความ

, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม