fbpx
วิกิพีเดีย

เภสัชกรรมไทย

เภสัชกรรมไทย

ประวัติ

สมัยสุโขทัยและอยุธยา

การเยียวยารักษาโรคนั้นเกิดควบคู่กับชนชาติไทยมานานแล้ว ในสมัยสุโขทัย มีจารึกในสมัยพ่อขุนรามคำแหงหลักหนึ่งที่จารึกถึงการบำบัดรักษาโรคของคนไทยว่าใช้ยาสมุนไพร มีการปลูกสมุนไพรที่เขาหลวงและเรียกชื่อแพทย์ตามความชำนาญ อาทิ เนครแพทย์ โอสถแพทย์ โรคแพทย์ เป็นต้น

ครั้นต่อมาในสมัยอยุธยา อิทธิพลความคิดและวิวัฒนาการของชาวตะวันตกเริ่มเผยแพร่สู่ไทยมากขึ้น เคยมีบันทึกของลาลูแบร์ในจดหมายเหตุลาลูแบร์ไว้ว่า "การแพทย์ของชาวสยามไม่นับว่าเป็นวิทยาศาสตร์ หมอสยามไม่มีหลักการปรุงโอสถ ปรุงไปตามตำรับเท่านั้น และชาวสยามไม่รู้จักการศัลยกรรมและกายวิภาคศาสตร์ หมอสยามไม่มีหลักในการปรุงยา ได้แต่ปรุงไปตามตำราเท่านั้น หมอสยามไม่พยายามศึกษาสรรพคุณยาแต่ละชนิด นอกจากจะถือเอาตามตำราที่ปู่ยาตายายสอนต่อๆ กันมา โดยไม่มีการปรับปรุงอะไร"

การรวมรวมองค์ความรู้ทางยาครั้งแรกเกิดขึ้นในรัชสมัยพระนารายณ์มหาราชในตำรับพระโอสถพระนารายณ์ ถือเป็นตำรายาไทยเล่มแรกและเป็นเภสัชตำรับฉบับแรกของประเทศไทย มีมาตราตวงยาเรียกว่า "ทะนาน" ตัวยาส่วนมากได้จากธรรมชาติ ทั้งนี้ การบำบัดรักษายังคงความเชื่อเรื่องบุญกรรมของพระพุทธศาสนา ในสมัยอยุธยาได้มีหลักฐานว่ามีคลังยาหรือโรงพระโอสถในราชสำนักเกิดขึ้นแล้ว ส่วนประชาชนนิยมซื้อยาสมุนไพรบริเวณ "ย่านป่ายา" ในเขตริมกำแพงเมือง แม้ขณะนั้นมียาฝรั่งเข้ามาในประเทศไทยแล้ว แต่คนไทยก็ยังนิยมการใช้ยาสมุนไพรมากกว่า

สมัยรัตนโกสินทร์

การแพทย์ของไทยในช่วงต้นของสมัยรัตนโกสินทร์ลลยังคงรูปแบบเดิมจากสมัยอยุธยาคือ การใช้สมุนไพรเป็นหลักและใช้ยาที่ถ่ายทอดองค์ความรู้จากปู่ยาตายาย ในสมัยบบพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย ได้มีการแยกเภสัชกรรมออกจากเวชกรรมเป็นครั้งแรก โดยมีกรมหมอแยกกับกรมพระเครื่องต้น ซึ่งทำหน้าที่ปรุงยาตามฎีกา

ในสมัยพระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าจ้าอยู่หัว มิชชันนารีชาวตะวันตกเริ่มเข้ามาเผยแพร่บทบาทในประเทศไทยมากขึ้น และได้นำความรู้ทางการแพทย์สมัยใหม่เข้ามาพร้อมๆกันด้วย หมอบลัดเลซึ่งเขามาในสมัยนั้น ได้เปิดร้านยาฝรั่งร้านแรกเมื่อวันที่ 5 สิงหาคม พ.ศ. 2378 ที่ตำบลวัดเกาะ เริ่มมีการผ่าตัดพระสงฆ์เป็นครั้งแรกในกรุงสยามและการปลูกฝีป้องกันไข้ทรพิษ

ต่อมาในสมัยพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวได้มีการชำระคัมภีร์แพทย์และเรียบเรียงเป็นตำราแพทยศาสตร์สงเคราะห์ฉบับหลวง 10 คัมภีร์ นับเป็นตำรายาไทยเล่มที่ 4 หลังจากตำรับพระโอสถพระนารายณ์ จารึกยาวัดราชโอรส และจารึกยาวัดพระเชตุพนวิมลมังคลารามราชวรมหาวิหาร ซึ่งตำรายาดังกล่าวยังใช้เป็นเกณฑ์ในการสอบใบประกอบวิชาชีพเวชกรรม แพทย์แผนไทย มาจนถึงปัจจุบัน

ในสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว มีการจัดตั้งโรงพยาบาลศิริราชใน พ.ศ. 2431 และจัดตั้งโรงเรียนแพทยากรในปี พ.ศ. 2432 ต่อมาเปลี่ยนชื่อเป็นโรงเรียนราชแพทยาลัย โดยนักเรียนแพทย์ต้องเรียนทั้งการบำบัดรักษาและการปรุงยาไปพร้อมๆกัน ต่อมาในปี พ.ศ. 2439 มีการจัดตั้งกองโอสถศาลาขึ้น สังกัดกระทรวงธรรมการ และผลิตยาโอสถศาลาหรือยาตำรับหลวงขึ้น ในปี พ.ศ. 2445 ซึ่งปัจจุบันพัฒนาไปเป็นยาสามัญประจำบ้านแล้ว ซึ่งตำรับยาดังกล่าวได้กระจายไปยังหัวเมืองต่างๆ เพื่อให้หัวเมืองมีทางเลือกในการบำบัดรักษาโรคมากขึ้น อย่างไรก็ตาม ยาโอสถศาลานับว่าเป็นายาสมัยใหม่ที่คนไทยไม่นิยมใช้ จึงยังคงผลิตยาแผนไทยโบราณโดยให้โอสถศาลาผลิต "ยาโอสถสภาแผนโบราณ" ออกจำหน่ายทั้งสิ้น 10 ขนาน

เภสัชกรรมในแบบตะวันตก

การศึกษาเภสัชกรรมแบบตะวันตกหรือเภสัชกรรมแผนปัจจุบันในประเทศไทยนั้น สถาปนาขึ้นอย่างเป็นทางการในฐานะโรงเรียนแพทย์ปรุงยาในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว ด้วยดำริของสมเด็จเจ้าฟ้ากรมหลวงพิษณุโลกประชานารถต่อสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอกรมพระยาชัยนาทนเรนทร ผู้บัญชาการโรงเรียนราชแพทยาลัยในสมัยนั้น จนมีคำสั่งกระทรวงธรรมการเรื่องระเบียบการจัดนักเรียนแพทย์ผสมยา เมื่อวันที่ 8 ธันวาคม พ.ศ. 2456 จึงถือว่าวันดังกล่าวเป็นวันสถาปนาวิชาชีพเภสัชกรรมในประเทศไทยและสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอกรมพระยาชัยนาทนเรนทรเป็น "พระบิดาแห่งวิชาชีพเภสัชกรรมไทย"สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอกรมพระยาชัยนาทนเรนทร ทรงเห็นความสำคัญของวิชาชีพเภสัชกรรม ดังที่ปรากฏตามพระดำรัสที่ประทานแก่นักศึกษารุ่นแรกดังใจความว่าว่า

ผู้ที่จะออกไปมีอาชีพแพทย์นั้นจะปรุงยาขายด้วยไม่ได้ แพทย์มีหน้าที่เฉพาะการตรวจรักษาพยาบาลคนไข้เท่านั้น ส่วนผู้ที่สำเร็จวิชาปรุงยาก็ออกไปประกอบอาชีพปรุงยาและขายยา จะไปตรวจรักษาคนไข้ไม่ได้อาชีพทั้งสองนี้เป็นอาชีพที่ใกล้ชิดกัน แบ่งกันรับผิดชอบตามแบบอย่างในประเทศตะวันตกเขา...

คำสั่งของกระทรวงธรรมการให้เภสัชกรรมเป็นแผนกแพทย์ปรุงยาในโรงเรียนราชแพทยาลัย (ปัจจุบันคือคณะเภสัชศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย) จัดหลักสูตรการศึกษา 3 ปี เมื่อจบการศึกษาจะได้รับประกาศนียบัตรจากกระทรวงธรรมการ มีศักดิ์และสิทธิ์ในการปรุงยา และเปิดรับนักเรียนครั้งแรกในวันที่ 2 มิถุนายน พ.ศ. 2457 แต่อย่างไรก็ดี การศึกษาเภสัชศาสตร์ไม่เป็นที่สนใจของประชาชนนัก เนื่องจากประชาชนส่วนมากยังใช้ยาแผนโบราณและยังไม่มีกฎหมายควบคุมเรื่องการจำหน่ายยาในขณะนั้น ต่อมาได้มีการควบคุมการประกอบโรคศิลปะทางด้านเภสัชกรรมครั้งแรกเกิดขึ้นในพระราชบัญญัติการแพทย์ พ.ศ. 2466 ซึ่งควบคุมเฉพาะการปรุงยา ไม่ครอบคลุมถึงการโฆษณา การจำหน่าย อันก่อให้เกิดปัญหาในสังคมตามมาอีกมาก

ในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว ได้มีการก่อตั้งเภสัชกรรมสมาคมแห่งกรุงสยาม เมื่อวันที่ 5 มีนาคม พ.ศ. 2472 โดยเป็นที่พบปะของเภสัชกรในสมัยนั้น ณ บ้านชุมแสง บ้านของพระมนตรีพจนกิจ (หม่อมราชวงศ์ชาย ชุมแสง) อาจารย์ประจำวิชาเภสัชพฤกษศาสตร์ ต่อมาในปี พ.ศ. 2477 พระราชบัญญัติจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย พ.ศ. 2477 กำหนดให้การศึกษาเภสัชศาสตร์อยู่ภายใต้การดำเนินการของแผนกอิสระเภสัชกรรมศาสตร์

ในปี พ.ศ. 2479 ได้มีการประกาศพระราชบัญญิตควบคุมการขายยา พ.ศ. 2479 ซึ่งมอบอำนาจและหน้าที่การบริการเรื่องยาแก่เภสัชกร และมีการประกาศพระราชบัญญัติควบคุมการประกอบโรคศิลปะ พ.ศ. 2479 ซึ่งกำหนดบทบาทของเภสัชกรด้านการปรุงยา ครั้นในปีต่อมา เภสัชกร ดร. ตั้ว ลพานุกรม อธิบดีกรมวิทยาศาสตร์ในขณะนั้น ได้ริเริ่มการก่อตั้งโรงงานเภสัชกรรม (ต่อมาคือองค์การเภสัชกรรม) และจัดหลักสูตรการเรียนการสอนเภสัชศาสตร์สู่ระดับปริญญาบัณฑิต

ในปี พ.ศ. 2502 อุตสาหกรรมยาในประเทศไทยพัฒนาขึ้น เมื่อแผนพัฒนาเศรษฐกิจฉบับที่ 1 มีการประกาศพระราชบัญญัติส่งเสริมการลงทุน รวบรวมไว้ซึ่งการสนับสนุนลงทุนอุตสาหกรรมยาทดแทนการนำเข้า และส่งเสริมบรรษัทข้ามชาติมาตั้งโรงงานผลิตยาอีกด้วย

อย่างไรก็ดี การศึกษาทางด้านเภสัชศาสตร์ก็ยังไม่เป็นที่รู้จักของประชาชนมากนัก จนกระทั่งในสมัยสงครามโลกครั้งที่ 2 เกิดการขาดแคลนยาในประเทศเนื่องจากไม่สามารถนำเข้ายาจากต่างประเทศได้ และโรงงานเภสัชกรรมในขณะนั้นก็ยังไม่มีความเชี่ยวชาญมากนัก อีกทั้งเภสัชกรทั้งประเทศมีจำนวนไม่มาก จึงทำให้ศาสตร์ด้านนี้ได้รับความสนใจจากประชาชนมากขึ้น และมีการจัดตั้งคณะเภสัชศาสตร์เพิ่มเติม ณ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่และมหาวิทยาลัยมหิดลขึ้นตามลำดับ

ในปี พ.ศ. 2555 มีผู้ขึ้นทะเบียนใบอนุญาตผู้ประกอบวิชาชีพเภสัชกรรมเกินเลขที่ 30,000

ดูเพิ่ม

แหล่งค้นคว้าเพิ่มเติม

  • โกมาตร จึงเสถียรทรัพย์, ประวัติศาสตร์การแพทย์และสาธารณสุขไทย (กรุงเทพฯ: สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุขไทย, 2545).
  • ชาติชาย มุกสง, "การแพทย์ในประวัติศาสตร์: พัฒนาการของการศึกษาประวัติศาสตร์การแพทย์ในสังคมตะวันตกโดยสังเขป", วารสารประวัติศาสตร์ (2555), หน้า 1-14.
  • ทวีศักดิ์ เผือกสม, เชื้อโรค ร่างกาย และรัฐเวชกรรม: ประวัติศาสตร์การแพทย์สมัยใหม่ในสังคมไทย (กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2550)
  • ทวีศักดิ์ เผือกสม, "รัฐเวชกรรม (Medicalized State): จากโรงพยาบาลสู่โครงการสาธารณสุขมูลฐาน", รัฐศาสตร์สาร ปีที่ 24 ฉบับที่ 1 (2546), หน้า 204-245.
  • สุกิจ ด่านยุทธศิลป์, "การสาธารณสุขแบบสมัยใหม่ในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว (พ.ศ. 2543-2468)" (ปริญญานิพนธ์ปริญญาการศึกษามหาบัณฑิต วิชาเอกประวัติศาสตร์ บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ประสานมิตร, 2534).
  • อดิศร หมวกพิมาย, น้ำเพื่อชีวิต ธุรกิจเอื้อสังคม (กรุงเทพฯ: เยเนรัล ฮอลปิตัล โปรดักส์, 2552).

อ้างอิง

  1. เพื่อนสนิท จดหมายเหตุลาลูแบร์ เรียกข้อมูลวันที่ 8 สิงหาคม พ.ศ. 2552
  2. สถาบันอยุธยาศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนครศรีอยุธยา ตำรับยาโบราณชาวกรุงเก่า เรียกข้อมูลวันที่ 8 สิงหาคม พ.ศ. 2552
  3. สำลี ใจดี. เภสัชศาสตร์สัมพันธ์. กรุงเทพมหานคร : คณะเภสัชศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2545. ISBN 974-13-2124-4
  4. วิวัฒนาการการพิมพ์และหนังสือเล่มแรกของไทย เรียกข้อมูลวันที่ 8 สิงหาคม พ.ศ. 2552
  5. กูเกิลกูรู อยากทราบประวัติเกี่ยวกับยาสามัญประจำบ้าน เรียกข้อมูลวันที่ 8 สิงหาคม พ.ศ. 2552
  6. คณะเภสัชศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 2011-03-19 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน ประวัติคณะ เรียกข้อมูลวันที่ 8 สิงหาคม พ.ศ. 2552
  7. สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้ารังสิตประยูรศักดิ์ กรมพระยาชัยนาทนเรนทร เรียกข้อมูลวันที่ 8 สิงหาคม พ.ศ. 2552
  8. . คลังข้อมูลเก่า เก็บจาก แหล่งเดิม เมื่อ 2018-12-30. สืบค้นเมื่อ 2019-01-03.
  9. http://161.200.184.9/new_from.htm/%E0%B8%9B%E0%B8%A3%E0%B8%B0%E0%B8%A7%E0%B8%B1%E0%B8%95%E0%B8%B4%E0%B8%9A%E0%B8%B8%E0%B8%84%E0%B8%84%E0%B8%A5%E0%B8%AA%E0%B8%B3%E0%B8%84%E0%B8%B1%E0%B8%8D2475-2535.pdf[ลิงก์เสีย]
  10. เด็กดีดอตคอม ตอนที่ 1: กำเนิดเภสัชจุฬา เรียกข้อมูลวันที่ 8 สิงหาคม พ.ศ. 2552
  11. เภสัชกรรมสมาคมแห่งประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ์ ประวัติสมาคม เรียกข้อมูลวันที่ 8 สิงหาคม พ.ศ. 2552
  12. ราชกิจจานุเบกษา พระราชบัญญิตควบคุมการขายยา พ.ศ. ๒๔๗๙ เรียกข้อมูลวันที่ 8 สิงหาคม พ.ศ. 2552
  13. ราชกิจจานุเบกษา พระราชบัญญัติควบคุมการประกอบโรคศิลปะ พ.ศ. ๒๔๗๙ เรียกข้อมูลวันที่ 8 สิงหาคม พ.ศ. 2552
  14. ประวัติคณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล เรียกข้อมูลวันที่ 8 สิงหาคม พ.ศ. 2552
  15. [1] เรียกข้อมูลวันที่ 9 กันยายน พ.ศ. 2552

เภส, ชกรรมไทย, เน, อหา, ประว, สม, ยส, โขท, ยและอย, ธยา, สม, ยร, ตนโกส, นทร, เภส, ชกรรมในแบบตะว, นตก, เพ, แหล, งค, นคว, าเพ, มเต, างอ, งประว, แก, ไขสม, ยส, โขท, ยและอย, ธยา, แก, ไข, การเย, ยวยาร, กษาโรคน, นเก, ดควบค, บชนชาต, ไทยมานานแล, ในสม, ยส, โขท, จาร, กในส. ephschkrrmithy enuxha 1 prawti 1 1 smysuokhthyaelaxyuthya 1 2 smyrtnoksinthr 1 3 ephschkrrminaebbtawntk 2 duephim 3 aehlngkhnkhwaephimetim 4 xangxingprawti aekikhsmysuokhthyaelaxyuthya aekikh kareyiywyarksaorkhnnekidkhwbkhukbchnchatiithymananaelw insmysuokhthy micarukinsmyphxkhunramkhaaehnghlkhnungthicarukthungkarbabdrksaorkhkhxngkhnithywaichyasmuniphr mikarpluksmuniphrthiekhahlwngaelaeriykchuxaephthytamkhwamchanay xathi enkhraephthy oxsthaephthy orkhaephthy epntnkhrntxmainsmyxyuthya xiththiphlkhwamkhidaelawiwthnakarkhxngchawtawntkerimephyaephrsuithymakkhun ekhymibnthukkhxnglaluaebrincdhmayehtulaluaebriwwa karaephthykhxngchawsyamimnbwaepnwithyasastr hmxsyamimmihlkkarprungoxsth prungiptamtarbethann aelachawsyamimruckkarslykrrmaelakaywiphakhsastr hmxsyamimmihlkinkarprungya idaetprungiptamtaraethann hmxsyamimphyayamsuksasrrphkhunyaaetlachnid nxkcakcathuxexatamtarathipuyatayaysxntx knma odyimmikarprbprungxair 1 karrwmrwmxngkhkhwamruthangyakhrngaerkekidkhuninrchsmyphranaraynmharachintarbphraoxsthphranarayn thuxepntarayaithyelmaerkaelaepnephschtarbchbbaerkkhxngpraethsithy mimatratwngyaeriykwa thanan twyaswnmakidcakthrrmchati thngni karbabdrksayngkhngkhwamechuxeruxngbuykrrmkhxngphraphuththsasna 2 insmyxyuthyaidmihlkthanwamikhlngyahruxorngphraoxsthinrachsankekidkhunaelw swnprachachnniymsuxyasmuniphrbriewn yanpaya inekhtrimkaaephngemuxng aemkhnannmiyafrngekhamainpraethsithyaelw aetkhnithykyngniymkarichyasmuniphrmakkwa 3 smyrtnoksinthr aekikh karaephthykhxngithyinchwngtnkhxngsmyrtnoksinthrllyngkhngrupaebbedimcaksmyxyuthyakhux karichsmuniphrepnhlkaelaichyathithaythxdxngkhkhwamrucakpuyatayay insmybbphrabathsmedcphraphuththelishlanphaly idmikaraeykephschkrrmxxkcakewchkrrmepnkhrngaerk odymikrmhmxaeykkbkrmphraekhruxngtn sungthahnathiprungyatamdikainsmyphrabathsmedcphranngeklacaxyuhw michchnnarichawtawntkerimekhamaephyaephrbthbathinpraethsithymakkhun aelaidnakhwamruthangkaraephthysmyihmekhamaphrxmkndwy hmxbldelsungekhamainsmynn idepidranyafrngranaerkemuxwnthi 5 singhakhm ph s 2378 thitablwdekaa 4 erimmikarphatdphrasngkhepnkhrngaerkinkrungsyamaelakarplukfipxngknikhthrphistxmainsmyphrabathsmedcphracxmeklaecaxyuhwidmikarcharakhmphiraephthyaelaeriyberiyngepntaraaephthysastrsngekhraahchbbhlwng 10 khmphir nbepntarayaithyelmthi 4 hlngcaktarbphraoxsthphranarayn carukyawdrachoxrs aelacarukyawdphraechtuphnwimlmngkhlaramrachwrmhawihar sungtarayadngklawyngichepneknthinkarsxbibprakxbwichachiphewchkrrm aephthyaephnithy macnthungpccubninsmyphrabathsmedcphraculcxmeklaecaxyuhw mikarcdtngorngphyabalsirirachin ph s 2431 aelacdtngorngeriynaephthyakrinpi ph s 2432 txmaepliynchuxepnorngeriynrachaephthyaly odynkeriynaephthytxngeriynthngkarbabdrksaaelakarprungyaipphrxmkn txmainpi ph s 2439 mikarcdtngkxngoxsthsalakhun sngkdkrathrwngthrrmkar aelaphlityaoxsthsalahruxyatarbhlwngkhun inpi ph s 2445 sungpccubnphthnaipepnyasamypracabanaelw sungtarbyadngklawidkracayipynghwemuxngtang ephuxihhwemuxngmithangeluxkinkarbabdrksaorkhmakkhun xyangirktam yaoxsthsalanbwaepnayasmyihmthikhnithyimniymich cungyngkhngphlityaaephnithyobranodyihoxsthsalaphlit yaoxsthsphaaephnobran xxkcahnaythngsin 10 khnan 5 ephschkrrminaebbtawntk aekikh smedcphraecabrmwngsethx phraxngkhecarngsitprayurskdi krmphrayachynathnernthr phrabidaaehngwichachiphephschkrrmithy karsuksaephschkrrmaebbtawntkhruxephschkrrmaephnpccubninpraethsithynn sthapnakhunxyangepnthangkarinthanaorngeriynaephthyprungyainrchsmyphrabathsmedcphramngkudeklaecaxyuhw dwydarikhxngsmedcecafakrmhlwngphisnuolkprachanarthtxsmedcphraecabrmwngsethxkrmphrayachynathnernthr phubychakarorngeriynrachaephthyalyinsmynn cnmikhasngkrathrwngthrrmkareruxngraebiybkarcdnkeriynaephthyphsmya emuxwnthi 8 thnwakhm ph s 2456 6 cungthuxwawndngklawepnwnsthapnawichachiphephschkrrminpraethsithyaelasmedcphraecabrmwngsethxkrmphrayachynathnernthrepn phrabidaaehngwichachiphephschkrrmithy 7 8 smedcphraecabrmwngsethxkrmphrayachynathnernthr thrngehnkhwamsakhykhxngwichachiphephschkrrm dngthiprakttamphradarsthiprathanaeknksuksarunaerkdngickhwamwawa phuthicaxxkipmixachiphaephthynncaprungyakhaydwyimid aephthymihnathiechphaakartrwcrksaphyabalkhnikhethann swnphuthisaercwichaprungyakxxkipprakxbxachiphprungyaaelakhayya caiptrwcrksakhnikhimidxachiphthngsxngniepnxachiphthiiklchidkn aebngknrbphidchxbtamaebbxyanginpraethstawntkekha 9 khasngkhxngkrathrwngthrrmkarihephschkrrmepnaephnkaephthyprungyainorngeriynrachaephthyaly pccubnkhuxkhnaephschsastr culalngkrnmhawithyaly cdhlksutrkarsuksa 3 pi emuxcbkarsuksacaidrbprakasniybtrcakkrathrwngthrrmkar miskdiaelasiththiinkarprungya aelaepidrbnkeriynkhrngaerkinwnthi 2 mithunayn ph s 2457 10 aetxyangirkdi karsuksaephschsastrimepnthisnickhxngprachachnnk enuxngcakprachachnswnmakyngichyaaephnobranaelayngimmikdhmaykhwbkhumeruxngkarcahnayyainkhnann txmaidmikarkhwbkhumkarprakxborkhsilpathangdanephschkrrmkhrngaerkekidkhuninphrarachbyytikaraephthy ph s 2466 sungkhwbkhumechphaakarprungya imkhrxbkhlumthungkarokhsna karcahnay xnkxihekidpyhainsngkhmtammaxikmak 3 inrchsmyphrabathsmedcphrapkeklaecaxyuhw idmikarkxtngephschkrrmsmakhmaehngkrungsyam emuxwnthi 5 minakhm ph s 2472 odyepnthiphbpakhxngephschkrinsmynn n banchumaesng bankhxngphramntriphcnkic hmxmrachwngschay chumaesng xacarypracawichaephschphvkssastr 11 txmainpi ph s 2477 phrarachbyyticulalngkrnmhawithyaly ph s 2477 kahndihkarsuksaephschsastrxyuphayitkardaeninkarkhxngaephnkxisraephschkrrmsastr 3 inpi ph s 2479 idmikarprakasphrarachbyyitkhwbkhumkarkhayya ph s 2479 12 sungmxbxanacaelahnathikarbrikareruxngyaaekephschkr aelamikarprakasphrarachbyytikhwbkhumkarprakxborkhsilpa ph s 2479 sungkahndbthbathkhxngephschkrdankarprungya 13 khrninpitxma ephschkr dr tw lphanukrm xthibdikrmwithyasastrinkhnann idrierimkarkxtngorngnganephschkrrm txmakhuxxngkhkarephschkrrm aelacdhlksutrkareriynkarsxnephschsastrsuradbpriyyabnthit 3 inpi ph s 2502 xutsahkrrmyainpraethsithyphthnakhun emuxaephnphthnaesrsthkicchbbthi 1 mikarprakasphrarachbyytisngesrimkarlngthun rwbrwmiwsungkarsnbsnunlngthunxutsahkrrmyathdaethnkarnaekha aelasngesrimbrrsthkhamchatimatngorngnganphlityaxikdwyxyangirkdi karsuksathangdanephschsastrkyngimepnthiruckkhxngprachachnmaknk cnkrathnginsmysngkhramolkkhrngthi 2 ekidkarkhadaekhlnyainpraethsenuxngcakimsamarthnaekhayacaktangpraethsid aelaorngnganephschkrrminkhnannkyngimmikhwamechiywchaymaknk xikthngephschkrthngpraethsmicanwnimmak cungthaihsastrdanniidrbkhwamsniccakprachachnmakkhun aelamikarcdtngkhnaephschsastrephimetim n mhawithyalyechiyngihmaelamhawithyalymhidlkhuntamladb 14 inpi ph s 2555 miphukhunthaebiynibxnuyatphuprakxbwichachiphephschkrrmekinelkhthi 30 000 15 duephim aekikhephschkrrm prawtiephschkrrmaehlngkhnkhwaephimetim aekikhokmatr cungesthiyrthrphy prawtisastrkaraephthyaelasatharnsukhithy krungethph sthabnwicyrabbsatharnsukhithy 2545 chatichay muksng karaephthyinprawtisastr phthnakarkhxngkarsuksaprawtisastrkaraephthyinsngkhmtawntkodysngekhp warsarprawtisastr 2555 hna 1 14 thwiskdi ephuxksm echuxorkh rangkay aelarthewchkrrm prawtisastrkaraephthysmyihminsngkhmithy krungethph sankphimphculalngkrnmhawithyaly 2550 thwiskdi ephuxksm rthewchkrrm Medicalized State cakorngphyabalsuokhrngkarsatharnsukhmulthan rthsastrsar pithi 24 chbbthi 1 2546 hna 204 245 sukic danyuththsilp karsatharnsukhaebbsmyihminrchsmyphrabathsmedcphramngkudeklaecaxyuhw ph s 2543 2468 priyyaniphnthpriyyakarsuksamhabnthit wichaexkprawtisastr bnthitwithyaly mhawithyalysrinkhrinthrwiorth prasanmitr 2534 xdisr hmwkphimay naephuxchiwit thurkicexuxsngkhm krungethph eyenrl hxlpitl oprdks 2552 xangxing aekikh ephuxnsnith cdhmayehtulaluaebr eriykkhxmulwnthi 8 singhakhm ph s 2552 sthabnxyuthyasuksa mhawithyalyrachphtphrankhrsrixyuthya tarbyaobranchawkrungeka eriykkhxmulwnthi 8 singhakhm ph s 2552 3 0 3 1 3 2 3 3 sali icdi ephschsastrsmphnth krungethphmhankhr khnaephschsastr culalngkrnmhawithyaly 2545 ISBN 974 13 2124 4 wiwthnakarkarphimphaelahnngsuxelmaerkkhxngithy eriykkhxmulwnthi 8 singhakhm ph s 2552 kuekilkuru xyakthrabprawtiekiywkbyasamypracaban eriykkhxmulwnthi 8 singhakhm ph s 2552 khnaephschsastr culalngkrnmhawithyaly Archived 2011 03 19 thi ewyaebkaemchchin prawtikhna eriykkhxmulwnthi 8 singhakhm ph s 2552 smedcphraecabrmwngsethx phraxngkhecarngsitprayurskdi krmphrayachynathnernthr eriykkhxmulwnthi 8 singhakhm ph s 2552 saenathiekbthawr khlngkhxmuleka ekbcak aehlngedim emux 2018 12 30 subkhnemux 2019 01 03 http 161 200 184 9 new from htm E0 B8 9B E0 B8 A3 E0 B8 B0 E0 B8 A7 E0 B8 B1 E0 B8 95 E0 B8 B4 E0 B8 9A E0 B8 B8 E0 B8 84 E0 B8 84 E0 B8 A5 E0 B8 AA E0 B8 B3 E0 B8 84 E0 B8 B1 E0 B8 8D2475 2535 pdf lingkesiy edkdidxtkhxm txnthi 1 kaenidephschcula eriykkhxmulwnthi 8 singhakhm ph s 2552 ephschkrrmsmakhmaehngpraethsithy inphrabrmrachupthmph prawtismakhm eriykkhxmulwnthi 8 singhakhm ph s 2552 rachkiccanuebksa phrarachbyyitkhwbkhumkarkhayya ph s 2479 eriykkhxmulwnthi 8 singhakhm ph s 2552 rachkiccanuebksa phrarachbyytikhwbkhumkarprakxborkhsilpa ph s 2479 eriykkhxmulwnthi 8 singhakhm ph s 2552 prawtikhnaephschsastr mhawithyalymhidl eriykkhxmulwnthi 8 singhakhm ph s 2552 1 eriykkhxmulwnthi 9 knyayn ph s 2552ekhathungcak https th wikipedia org w index php title ephschkrrmithy amp oldid 9605696, wikipedia, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด,

บทความ

, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม