fbpx
วิกิพีเดีย

เสาอโศก

สำหรับเสาโลหะในเดลีที่รู้จักในชื่อเสาอโศกเช่นกัน ดู โลหะสตมภ์

เสาอโศก หรือ อโศกสตมภ์ เป็นหมู่เสามอนอลิธิกที่พบกระจัดกระจายอยู่ทั่วอนุทวีปอินเดีย ปรากฏจารึกพระบรมราชโองการของจักรพรรดิอโศกแห่งเมารยะ ผู้ครองราชย์ระหว่าง 268 ถึง 232 ปีก่อนคริสตกาล จักรพรรดิอโศกทรงใช้คำว่า Dhaṃma thaṃbhā (ธมฺมถมฺภา มาจาก ธรรมสตมภ์) อันแปลว่า "เสาแห่งธรรม" ในการเรียกเสาเหล่านี้ เสาเหล่านี้เป็นอนุสรณ์อันสำคัญของสถาปัตยกรรมอินเดีย และเสาส่วนใหญ่เป็นหลักฐานแสดงถึงเทคโนโลยีการขัดเงาแบบเมารยะ ในปัจจุบันมีการค้นพบเสาจำนวน 20 เสาที่ยังหลงเหลือถึงปัจจุบัน ในจำนวนนี้มีบางเสาที่ยังปรากฏจารึกพระบรมราชโองการอยู่ ในขณะที่มีเพียงไม่กี่เสาเท่านั้นที่ยังปรากฏหัวเสารูปสัตว์ และพบหัวเสาในสภาพสมบูรณ์เพียงเจ็ดชิ้นที่หลงเหลือมาถึงปัจจุบันเท่านั้น มีเสาอโศกจำนวนสองเสาที่ถูกขนย้ายภายใต้พระราชดำริของตุฆลักฟีรูซ ชาห์ไปไว้ที่ราชธานีของรัฐสุลต่านเดลี และอีกหลายเสาที่ถูกขนย้ายโดยจักรพรรดิของจักรวรรดิโมกุล และมีการรื้อถอนหัวเสาที่เป็นรูปสัตว์ออก ในบรรดาเสาที่ค้นพบนั้น ค่าเฉลี่ยของความสูงอยู่ที่ 12 ถึง 15 เมตร และแต่ละเสาอาจมีน้ำหนักมากถึง 50 ตัน บางเสาปรากฏร่องรอยว่าถูกลากมาไว้จุดที่ตั้งเสาในปัจจุบันเป็นระยะทางหลายไมล์

บรรดาเสาอโศก
หนึ่งในบรรดาเสาอโศกที่ไวศาลี
วัสดุหินทราย
ช่วงเวลา/วัฒนธรรม300 ปีก่อนคริสตกาล
สาญจี
รามปุรวะ
สันกิสสะ
นันทานครห์
มีรุต เดลี
โตปรกลัน
อรราช
อลาหาบาด
รุมมินเทอี
นิคาลี
ตำแหน่งของบรรดาเสาอโศกที่ค้นพบ

เสาอโศกเป็นหนึ่งในบรรดาประติมากรรมเก่าแก่ที่สุดของอินเดียที่หลงเหลือมาจนปัจจุบัน มีเพียงซากของเสาที่เป็นไปได้ว่าเก่าแก่กว่า คือปาฏลีปุตรสตมภศีรษะ สันนิษฐานในกว่าในยุคสามร้อยปีก่อนคริสตกาลนั้น งานก่อสร้างของอินเดียนิยมใช้ไม้เป็นหลัก ส่วนการใช้หินเริ่มเข้ามาในภายหลังการติดต่อกับชาวกรีกและเปอร์เซียเท่านั้น ภาพกราฟิกของส่วนหัวของเสาอโศกนำมาใช้เป็นตราแผ่นดินของอินเดียนับตั้งแต่ปี 1950 จนถึงปัจจุบัน

เสาอโศกทั้งหมดสร้างขึ้นในอารามของศาสนาพุทธ หรือในสถานที่สำคัญในพระประวัติของพระโคตมพุทธเจ้ารวมถึงแหล่งจาริกแสวงบุญ บางจารึกบนเสาปรากฏการระบุว่าเสานั้นส่งมอบให้กับสงฆ์หรือชี บางเสาสร้างขึ้นเพื่อระลึกการเสด็จพระราชดำเนินของจักรพรรดิอโศก เสาส่วนใหญ่พบในพื้นที่ที่ปัจจุบันคือรัฐพิหาร, รัฐอุตตรประเทศ, รัฐมัธยประเทศ และบางส่วนของรัฐหรยาณา

รายชื่อเสาทั้งหมด

เสาอโศกห้าเสา สองเสาที่รามปูรวะ, หนึ่งเสาที่ไวศาลี, อรราช และ นันทานครห์ เป็นไปได้ว่าสร้างขึ้นเพื่อเป็นตำแหน่งปักของเส้นทางพระราชดำเนินโบราณจากปาฏลีบุตรไปยังเนปาล เสาอีกจำนวนมากถูกเคบื่อนย้ายโดยจักรวรรดิโมกุลและรื้อถอนหัวเสาออก

รายชื่อของเสาที่ปรากฏพบในปัจจุบัน มีดังต่อไปนี้

รายชื่อเสาที่ยังคงตั้งอยู่หรือปรากฏจารึกของพระเจ้าอโศก

 
ข้อมูลทางภูมิศาสตร์ของเสา
  • เดลี-โตปรา, เฟโรซ ชาห์ โกตลา, เดลี (พระบรมราชโองการที่ I, II, III, IV, V, VI, VII; ย้ายในปี ค.ศ. 1356 จากโตปรากาลานในอำเภอยุมนานคา รัฐหรยาณา ไปเดลี โดยตุฆลุกฟีรูซ ชาห์
  • เดลี-มีรูต, ขอบเดลี, เดลี (พระบรมราชโองการที่ I, II, III, IV, V, VI; ย้ายจากมีรูต ไปเดลี โดยตุฆลุกฟีรูซ ชาห์ ในปี 1356
  • นิคาลีสาคร ใกล้กับลุมพินี, ประเทศเนปาล หัวเสาสูญหาย ปรากฏพระบรมราชโองการอันเดียว ตั้งขึ้นในปีที่ 20 ของการครองราชย์ของจักรพรรดิอโศก (ราว 249 ปีก่อนคริสตกาล)
  • รุมมินเทอี ใกล้กับลุมพินี, ประเทศเนปาล ตั้งขึ้นในปีเดียวกับเสาที่นิคาลีสาคร เพื่อระบึกการเสด็จพระราชดำเนินเยือนลุมพินี หัวเสาสูญหาย แต่เป็นไปไดส่าเป็นรูปม้า
  • เสาอลาหาบาด, รัฐอุตตรประเทศ (เดิมที่ตั้งอยู่ที่กาวสัมพี เป็นไปได้ว่าถูกย้ายไปอลาหาบาดโดยจักรพรรดิชฮันคีร์; พระบรมราชโองการที่ I-VI, พระราชโองการของพระราชินี, พระบรมราชโองการส่วนที่แตกออกมา)
  • รามปูรวะ, จามปาราน, รัฐพิหาร มีสองเสา: เสาที่มีหัวเสารูปสิงโต มีพระบรมราชโองการที่ I, II, III, IV, V, VI; เสาที่มีหัวเสารูปกระทิง ไม่ปรากฏพระบรมราชโองการ ส่วนอะบาคัสของหัวเสารูปกระทิงปรากฏลวดลายต้นสายน้ำผึ้งกับลายปาล์มเมทซึ่งได้มาจากงานศิลปะกรีก
  • สาญจี, ใกล้กับโภปาล, รัฐมัธยประเทศ, พบสิงโตสี่ตัว, พระบรมราชโองการแตกออก
  • สารนาถ, ใกล้กับวาราณสี, รัฐอุตตรประเทศ, พบสิงโตสี่ตัว, พระบรมราชโองการและพระบรมราชโองการที่แตกออก ตราประจำประเทศอินเดีย "สิงหสตมภศีรษะ" ได้มาจากหัวเสาของเสานี้
  • ลาวริยะ-นันทานครห์, จามปาราน, รัฐพิหาร, พบสิงโตตัวเดียว, พระบรมราชโองการหมายเลข I, II, III, IV, V, VI
  • ลาวริยะ อรราช, จามปาราน, รัฐพิหาร (พระบรมราชโองการหมายเลข I, II, III, IV, V, VI)
  • ไวศาลี, รัฐพิหาร, พบสิงโตตัวเดียว, ไม่ปรากฏจารึก

ซากเสาที่พบที่อมราวตียังเป็นที่ถกเถียงกันอยู่ จารึกของเสาปรากฏอักษรพราหมี 6 บรรทัดที่ยากต่อการแปล มีเพียงคำว่า วิชย (ชัยชนะ) ที่แปลออกมาได้ เป็นไปได้ว่าอาจเป็นเสาอโศกเช่นกัน ซีร์คาร์ นักวิชาการผู้ศึกษาเสานี้อย่างละเอียดเชื่อว่าเป็นส่วนหนึ่งของบรรดาเสาอโศก

เสาที่ยังคงตั้งอยู่ที่เสาที่มีจารึกปรากฏ

เสาที่ไม่ปรากฏจารึก

ในปัจจุบันมีการค้นพบซากเสาจำนวนมาก และหลายเสาที่ไม่ปรากฏจารึกพระเจ้าอโศก เช่น เสาอโศกที่โพธคยา, กาวสัมพี, โคติหว, ปรหลัทปุระ (ปัจจุบันตั้งอยู่ที่ วิทยาลัยสันสกฤตวาราณสี), ฟาเตฮาบาด, โภปาล, สาทครลี, อุทัยคีรี, กุสินคร, อารราห์, พัสตี, ภิขณปหรี, พุลันฑีบาฆ (ปาฏลีบุตร), สันทัลปู และ ไภโรน which was destroyed to a stump during riots in 1908. เป็นต้น

Fragments of Pillars of Ashoka, without Ashokan inscriptions

อ้างอิง

  1. Buddhist Architecture, Huu Phuoc Le, Grafikol, 2010 p.36-40
  2. Bisschop, Peter C.; Cecil, Elizabeth A. (May 2019). Copp, Paul; Wedemeyer, Christian K. (บ.ก.). "Columns in Context: Venerable Monuments and Landscapes of Memory in Early India". History of Religions. University of Chicago Press for the University of Chicago Divinity School. 58 (4): 355–403. doi:10.1086/702256. ISSN 0018-2710. JSTOR 00182710. LCCN 64001081. OCLC 299661763.
  3. Inscriptions of Asoka. New Edition by E. Hultzsch (ภาษาสันสกฤต). 1925. p. 132, Edict No 7 line 23.
  4. Skilling, Peter (1998). Mahasutras (ภาษาอังกฤษ). Pali Text Society. p. 453. ISBN 9780860133209.
  5. Himanshu Prabha Ray (7 August 2014). The Return of the Buddha: Ancient Symbols for a New Nation. Routledge. p. 123. ISBN 9781317560067.
  6. India: The Ancient Past: A History of the Indian Subcontinent from c. 7000 BCE to CE 1200, Burjor Avari Routledge, 2016 p.139
  7. Krishnaswamy, 697-698
  8. "KING ASHOKA: His Edicts and His Times". www.cs.colostate.edu. สืบค้นเมื่อ 29 October 2017.
  9. India: The Ancient Past: A History of the Indian Subcontinent from c. 7000 BCE to CE 1200, Burjor Avari, Routledge, 2016 p.149
  10. State Emblem, Know India india.gov.in
  11. Companion, 430
  12. Mahajan V.D. (1960, reprint 2007). Ancient India, S.Chand & Company, New Delhi, ISBN 81-219-0887-6, pp.350-3
  13. Singh, Upinder (2008). A History of Ancient and Early Medieval India: From the Stone Age to the 12th Century. New Delhi: Pearson Education. p. 358. ISBN 978-81-317-1677-9.
  14. Buddshit Architecture, Le Huu Phuoc, Grafikol 2009, p.169
  15. Sircar, D. C. (1979). Asokan studies. pp. 118–122.
  16. Sircar, D. C. (1979). Asokan studies. p. 118.
  17. Mapio
  18. Asoka by Radhakumud Mookerji p.85
  19. Buddhist Architecture, Le Huu Phuoc, Grafikol 2009, p.40
  20. Geary, David (2017). The Rebirth of Bodh Gaya: Buddhism and the Making of a World Heritage Site (ภาษาอังกฤษ). University of Washington Press. p. 209 Note 1. ISBN 9780295742380.

เสาอโศก, สำหร, บเสาโลหะในเดล, กในช, อเช, นก, โลหะสตมภ, หร, อโศกสตมภ, เป, นหม, เสามอนอล, กท, พบกระจ, ดกระจายอย, วอน, ทว, ปอ, นเด, ปรากฏจาร, กพระบรมราชโองการของจ, กรพรรด, อโศกแห, งเมารยะ, ครองราชย, ระหว, าง, อนคร, สตกาล, กรพรรด, อโศกทรงใช, คำว, dhaṃma, thaṃbhā, . sahrbesaolhainedlithiruckinchuxesaxoskechnkn du olhastmph esaxosk hrux xoskstmph epnhmuesamxnxlithikthiphbkracdkracayxyuthwxnuthwipxinediy praktcarukphrabrmrachoxngkarkhxngckrphrrdixoskaehngemarya phukhrxngrachyrahwang 268 thung 232 pikxnkhristkal 2 ckrphrrdixoskthrngichkhawa Dhaṃma thaṃbha thm mthm pha macak thrrmstmph xnaeplwa esaaehngthrrm inkareriykesaehlani 3 4 esaehlaniepnxnusrnxnsakhykhxngsthaptykrrmxinediy aelaesaswnihyepnhlkthanaesdngthungethkhonolyikarkhdengaaebbemarya inpccubnmikarkhnphbesacanwn 20 esathiynghlngehluxthungpccubn incanwnnimibangesathiyngpraktcarukphrabrmrachoxngkarxyu inkhnathimiephiyngimkiesaethannthiyngprakthwesarupstw aelaphbhwesainsphaphsmburnephiyngecdchinthihlngehluxmathungpccubnethann 5 miesaxoskcanwnsxngesathithukkhnyayphayitphrarachdarikhxngtukhlkfirus chahipiwthirachthanikhxngrthsultanedli 6 aelaxikhlayesathithukkhnyayodyckrphrrdikhxngckrwrrdiomkul aelamikarruxthxnhwesathiepnrupstwxxk 7 inbrrdaesathikhnphbnn khaechliykhxngkhwamsungxyuthi 12 thung 15 emtr aelaaetlaesaxacminahnkmakthung 50 tn bangesapraktrxngrxywathuklakmaiwcudthitngesainpccubnepnrayathanghlayiml 8 brrdaesaxoskhnunginbrrdaesaxoskthiiwsaliwsduhinthraychwngewla wthnthrrm300 pikxnkhristkalsarnathsaycirampurwaiwsalisnkissannthankhrhmirut edliotprklnxrrachxlahabadrumminethxinikhalitaaehnngkhxngbrrdaesaxoskthikhnphb 1 esaxoskepnhnunginbrrdapratimakrrmekaaekthisudkhxngxinediythihlngehluxmacnpccubn miephiyngsakkhxngesathiepnipidwaekaaekkwa khuxpatliputrstmphsirsa snnisthaninkwainyukhsamrxypikxnkhristkalnn ngankxsrangkhxngxinediyniymichimepnhlk swnkarichhinerimekhamainphayhlngkartidtxkbchawkrikaelaepxresiyethann 9 phaphkrafikkhxngswnhwkhxngesaxosknamaichepntraaephndinkhxngxinediynbtngaetpi 1950 cnthungpccubn 10 esaxoskthnghmdsrangkhuninxaramkhxngsasnaphuthth hruxinsthanthisakhyinphraprawtikhxngphraokhtmphuththecarwmthungaehlngcarikaeswngbuy bangcarukbnesapraktkarrabuwaesannsngmxbihkbsngkhhruxchi 11 bangesasrangkhunephuxralukkaresdcphrarachdaeninkhxngckrphrrdixosk esaswnihyphbinphunthithipccubnkhuxrthphihar rthxuttrpraeths rthmthypraeths aelabangswnkhxngrthhryana enuxha 1 raychuxesathnghmd 1 1 raychuxesathiyngkhngtngxyuhruxpraktcarukkhxngphraecaxosk 1 2 esathiimpraktcaruk 2 xangxingraychuxesathnghmd aekikhesaxoskhaesa sxngesathirampurwa hnungesathiiwsali xrrach aela nnthankhrh epnipidwasrangkhunephuxepntaaehnngpkkhxngesnthangphrarachdaeninobrancakpatlibutripyngenpal esaxikcanwnmakthukekhbuxnyayodyckrwrrdiomkulaelaruxthxnhwesaxxk 7 raychuxkhxngesathipraktphbinpccubn midngtxipni 12 13 raychuxesathiyngkhngtngxyuhruxpraktcarukkhxngphraecaxosk aekikh khxmulthangphumisastrkhxngesa edli otpra efors chah oktla edli phrabrmrachoxngkarthi I II III IV V VI VII yayinpi kh s 1356 cakotprakalaninxaephxyumnankha rthhryana ipedli odytukhlukfirus chah 1 edli mirut khxbedli edli phrabrmrachoxngkarthi I II III IV V VI yaycakmirut ipedli odytukhlukfirus chah inpi 1356 1 nikhalisakhr iklkblumphini praethsenpal hwesasuyhay praktphrabrmrachoxngkarxnediyw tngkhuninpithi 20 khxngkarkhrxngrachykhxngckrphrrdixosk raw 249 pikxnkhristkal 1 rumminethxi iklkblumphini praethsenpal tngkhuninpiediywkbesathinikhalisakhr ephuxrabukkaresdcphrarachdaenineyuxnlumphini hwesasuyhay aetepnipidsaepnrupma 1 esaxlahabad rthxuttrpraeths edimthitngxyuthikawsmphi epnipidwathukyayipxlahabadodyckrphrrdichhnkhir phrabrmrachoxngkarthi I VI phrarachoxngkarkhxngphrarachini phrabrmrachoxngkarswnthiaetkxxkma 1 rampurwa camparan rthphihar misxngesa esathimihwesarupsingot miphrabrmrachoxngkarthi I II III IV V VI esathimihwesarupkrathing impraktphrabrmrachoxngkar swnxabakhskhxnghwesarupkrathingpraktlwdlaytnsaynaphungkblaypalmemthsungidmacakngansilpakrik 1 sayci iklkbophpal rthmthypraeths phbsingotsitw phrabrmrachoxngkaraetkxxk 1 sarnath iklkbwaransi rthxuttrpraeths phbsingotsitw phrabrmrachoxngkaraelaphrabrmrachoxngkarthiaetkxxk 1 trapracapraethsxinediy singhstmphsirsa idmacakhwesakhxngesani lawriya nnthankhrh camparan rthphihar phbsingottwediyw phrabrmrachoxngkarhmayelkh I II III IV V VI 1 lawriya xrrach camparan rthphihar phrabrmrachoxngkarhmayelkh I II III IV V VI 1 iwsali rthphihar phbsingottwediyw impraktcaruk 1 sakesathiphbthixmrawtiyngepnthithkethiyngknxyu carukkhxngesapraktxksrphrahmi 6 brrthdthiyaktxkaraepl miephiyngkhawa wichy chychna thiaeplxxkmaid epnipidwaxacepnesaxoskechnkn 14 sirkhar nkwichakarphusuksaesanixyanglaexiydechuxwaepnswnhnungkhxngbrrdaesaxosk 15 esathiyngkhngtngxyuthiesathimicarukprakt iwsali lawriya nnthankhrh lawriya xrrach edli mirut edli otpra xlahabad lumphini sarnath sayci rampurwa nikhalisakhr xmrawti 16 esathiimpraktcaruk aekikh inpccubnmikarkhnphbsakesacanwnmak aelahlayesathiimpraktcarukphraecaxosk echn esaxoskthiophthkhya kawsmphi okhtihw prhlthpura pccubntngxyuthi withyalysnskvtwaransi 17 faethabad ophpal sathkhrli xuthykhiri kusinkhr xarrah phsti phikhnphri phulnthibakh patlibutr snthlpu aela iphorn 18 which was destroyed to a stump during riots in 1908 19 epntn Fragments of Pillars of Ashoka without Ashokan inscriptions kawsmphi okhtihw ophthkhya namacaksthupxun 20 patlibutr ethwthhaxangxing aekikh 1 00 1 01 1 02 1 03 1 04 1 05 1 06 1 07 1 08 1 09 1 10 1 11 Buddhist Architecture Huu Phuoc Le Grafikol 2010 p 36 40 Bisschop Peter C Cecil Elizabeth A May 2019 Copp Paul Wedemeyer Christian K b k Columns in Context Venerable Monuments and Landscapes of Memory in Early India History of Religions University of Chicago Press for the University of Chicago Divinity School 58 4 355 403 doi 10 1086 702256 ISSN 0018 2710 JSTOR 00182710 LCCN 64001081 OCLC 299661763 Inscriptions of Asoka New Edition by E Hultzsch phasasnskvt 1925 p 132 Edict No 7 line 23 Skilling Peter 1998 Mahasutras phasaxngkvs Pali Text Society p 453 ISBN 9780860133209 Himanshu Prabha Ray 7 August 2014 The Return of the Buddha Ancient Symbols for a New Nation Routledge p 123 ISBN 9781317560067 India The Ancient Past A History of the Indian Subcontinent from c 7000 BCE to CE 1200 Burjor Avari Routledge 2016 p 139 7 0 7 1 Krishnaswamy 697 698 KING ASHOKA His Edicts and His Times www cs colostate edu subkhnemux 29 October 2017 India The Ancient Past A History of the Indian Subcontinent from c 7000 BCE to CE 1200 Burjor Avari Routledge 2016 p 149 State Emblem Know India india gov in Companion 430 Mahajan V D 1960 reprint 2007 Ancient India S Chand amp Company New Delhi ISBN 81 219 0887 6 pp 350 3 Singh Upinder 2008 A History of Ancient and Early Medieval India From the Stone Age to the 12th Century New Delhi Pearson Education p 358 ISBN 978 81 317 1677 9 Buddshit Architecture Le Huu Phuoc Grafikol 2009 p 169 Sircar D C 1979 Asokan studies pp 118 122 Sircar D C 1979 Asokan studies p 118 Mapio Asoka by Radhakumud Mookerji p 85 Buddhist Architecture Le Huu Phuoc Grafikol 2009 p 40 Geary David 2017 The Rebirth of Bodh Gaya Buddhism and the Making of a World Heritage Site phasaxngkvs University of Washington Press p 209 Note 1 ISBN 9780295742380 ekhathungcak https th wikipedia org w index php title esaxosk amp oldid 9407352, wikipedia, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด,

บทความ

, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม