fbpx
วิกิพีเดีย

เสียงความถี่มูลฐานที่ไม่มี

เสียงความถี่มูลฐานที่ไม่มี (อังกฤษ: missing fundamental, suppressed fundamental, phantom fundamental) เป็นเสียงฮาร์มอนิกที่ไม่มีจริง ๆ แต่จะได้ยินเมื่อเสียง overtone คือเสียงฮาร์มอนิกที่มีความถี่สูงกว่าความถี่มูลฐานนั้น แสดงนัยว่า มีเสียง เพราะสมองไม่ได้รับรู้เสียงว่าสูงต่ำเท่าไรโดยขึ้นกับความถี่มูลฐานของมันเท่านั้น แต่จะขึ้นกับภาวะเป็นคาบที่เสียงฮาร์มอนิกระดับที่สูงกว่าแสดงนัยด้วย เราจึงอาจได้ยินเสียงที่ความถี่มูลฐาน (โดยอาจมีน้ำเสียงต่างจากเสียงจริง) แม้เสียงที่ความถี่นั้นจะไม่มีจริง ๆ

คลื่นเสียงด้านล่างไม่มีความถี่มูลฐานที่ 100 เฮิรตซ์ และไม่มีฮาร์มอนิกที่สองคือ 200 เฮิรตซ์ แต่ภาวะเป็นคาบก็ยังเหมือนกับคลื่นด้านบนที่มีฮาร์มอนิกครบสมบูรณ์

ยกตัวอย่างเช่น ถ้าเสียงโน้ตดนตรีที่ไม่ใช้เสียงทุ้มแหลมบริสุทธิ์มีเสียงสูงต่ำที่ 100 เฮิรตซ์ มันก็จะมีองค์ประกอบความถี่ซึ่งเป็นพหุคูณของเสียงสูงต่ำนั้น ๆ เช่น 100, 200, 300, 400, 500.... เฮิรตซ์ แต่ลำโพงเล็ก ๆ อาจไม่สามารถสร้างเสียงความถี่ต่ำได้ ดังนั้น ในตัวอย่างของเรา เสียงที่ความถี่ 100 เฮิรตซ์อาจไม่มีจริง ๆ อย่างไรก็ดี เราก็ยังจะได้ยินเสียงที่ความถี่มูลฐาน 100 เฮิรตซ์อยู่ดี

คำอธิบาย

 
ความถี่ของฮาร์มอนิกทั้งหมด จะมีตัวหารร่วมมากเท่ากับความถี่มูลฐาน (เส้นประ)

เสียงทุ้มความถี่ต่ำ (low pitch) สามารถได้ยินเป็นบางครั้งแม้จะไม่มี ดังนั้น ในภาษาอังกฤษ จึงเรียกเสียงนี้ด้วยว่า pitch of the missing fundamental (เสียงทุ้มแหลมที่ความถี่มูลฐานซึ่งไม่มี) หรือ virtual pitch (เสียงทุ้มแหลมเสมือน) การรับรู้เสียงทุ้มที่ไม่มีมาจากการตีความรูปแบบซ้ำ ๆ ของเสียงที่มีอยู่ของสมอง

เคยเชื่อว่า ปรากฏการณ์นี้เกิดจากความเพี้ยนเสียงเนื่องจากลักษณะทางกายภาพของหู แต่การทดลองปี พ.ศ. 2497 กลับแสดงว่า เมื่อเพิ่มเสียงเพื่ออำพรางความเพี้ยนเสียงเช่นนี้ถ้ามี ผู้ฟังก็ยังได้ยินเสียงทุ้มแหลมที่ความถี่มูลฐานซึ่งไม่มี นักวิทยาศาสตร์ปัจจุบันจึงเชื่อว่า สมองแปลข้อมูลจากเสียง overtone ให้เป็นเสียงที่ความถี่มูลฐานซึ่งไม่มี

รายละเอียดว่าสมองทำอะไรยังเป็นเรื่องที่ยังไม่ยุติ แต่การประมวลผลดูเหมือนจะอาศัยการหาสหสัมพันธ์อัตโนมัติ ที่เกี่ยวกับช่วงเวลาระหว่างอิมพัลส์ประสาทในโสตประสาท แต่นักวิทยาศาสตร์ก็ได้ให้ข้อสังเกตมานานแล้วว่า กลไกทางประสาทที่สามารถหน่วงเวลา (ซึ่งจำเป็นในการหาสหสัมพันธ์อัตโนมัติ) ยังไม่เคยพบ มีแบบจำลองอย่างน้อยหนึ่งแบบที่แสดงว่า การหน่วงเวลาไม่จำเป็นในการหาสหสัมพันธ์อัตโนมัติเพื่อรับรู้ความทุ้มแหลมของเสียง โดยอ้าง การเปลี่ยนเฟสระหว่างตัวกรอง/ฟิลเตอร์ของคอเคลีย

อย่างไรก็ดี ยังมีงานก่อนหน้านั้นอีกที่แสดงว่า เสียงบางอย่างที่ให้ค่าสูงสุดโดยฟังก์ชันสหสัมพันธ์อัตโนมัติของพวกมัน ก็ไม่ได้ทำให้ได้ยินเสียงทุ้มแหลมที่สมกันดังที่พยากรณ์โดยสมมติฐาน และเสียงบางอย่าง ที่ไม่ได้ให้ค่าสูงสุดจากฟังก์ชันกลับทำให้รับรู้เสียงที่ไม่มีอีกด้วย ดังนั้น สมมติฐานสหสัมพันธ์อัตโนมัติ อาจยังไม่ครอบคลุมพอเพื่ออธิบายปรากฏการณ์นี้

เสียงสูงต่ำของความถี่มูลฐานที่ไม่มี ซึ่งปกติจะเป็นตัวหารร่วมมากของความถี่ฮาร์มอนิกที่มีทั้งหมด ก็ไม่ใช่ว่าทุกคนจะได้ยิน งานวิจัยที่มหาวิทยาลัยไฮเดิลแบร์กได้แสดงว่า ภายใต้สถานการณ์จำกัดที่เร้าด้วยฮาร์มอนิกจำนวนน้อย ประชากรมนุษย์ทั่วไปสามารถแบ่งเป็นผู้ที่สามารถรับรู้ความถี่มูลฐานที่ไม่มีและผู้ที่ได้ยินแต่เสียง overtone เป็นหลัก ซึ่งตรวจโดยให้ผู้ร่วมการทดลองตัดสินทิศทางของเสียง (ขึ้นหรือลง) ของทำนองเพลง นักวิจัยได้ใช้เครื่อง MRI และ MEG เพื่อแสดงว่า การได้ยินเสียงความถี่มูลฐานที่ไม่มีมีจะสัมพันธ์กับการทำงานโดยเฉพาะในสมองซีกซ้าย เทียบกับการรับรู้เสปกตรัมของเสียงจริง ๆ ซึ่งจะสัมพันธ์กับการทำงานโดยเฉพาะของสมองซีกขวา และคนที่มักจะรับรู้อย่างหลังมักจะเป็นนักดนตรี

ตัวอย่าง

 
กลองทิมปานีจะผลิตโดยปรับการสั่นให้สร้างเสียงฮาร์มอนิก (สีแดง) ฮาร์มอนิกของเสียงทุ้มแหลมที่ได้ยิน (สีน้ำเงิน) ฮาร์มอนิกของกลองโดยหลัก   เล่นโน้ต C0 กลอง-ฮาร์ป-กลองทิมปานี

ตัวอย่างออนไลน์ที่เปรียบเทียบเสียงสูงต่ำแบบบริสุทธิ์กับแบบซับซ้อน และเปรียบเทียบเสียงซับซ้อนกับเสียงความถี่มูลฐานที่ไม่มี สามารถดูได้ที่นี่

กลองทิมปานีมีเสียง overtone ธรรมชาติที่ไม่เป็นฮาร์มอนิก แต่จะผลิตและปรับให้ทำเสียง overtone ใกล้ ๆ ระดับฮาร์มอนิกต่าง ๆ เพื่อให้เกิดความถี่มูลฐานที่ไม่มี เมื่อตีตามปกติ (ตรงกลางหรือประมาณ 3/4 จากตรงกลางไปยังขอบ) เสียงที่ความถี่มูลฐานของกลองจะดังน้อยมาก เทียบกับเสียง overtone ของฮาร์มอนิกที่สองจนถึงห้า เช่น กลองอาจจะปรับให้สร้างเสียงดังที่สุดที่ 200, 302, 398, และ 488 Hz เพื่อให้ได้ยินเสียงความถี่มูลฐานที่ไม่มีที่ 100 Hz โดยมีความถี่มูลฐานที่ไม่มีโดยฟังไม่ค่อยดังจริง ๆ ที่ 170 Hz

ความถี่พ้องของทั้งอากาศภายในไวโอลินและตัวไวโอลินเองปกติจะอยู่ในระหว่าง 250-300 Hz ความถี่ของของสาย G3 จะต่ำกว่า 200 Hz ทั้งในไวโอลินปัจจุบันและในอดีตโดยมาก ดังนั้น โน้ตต่ำสุดของเครื่องจะมีความถี่มูลฐานที่เบามาก แม้ผู้ฟังจะไม่ค่อยสังเกตว่าเป็นเช่นนี้

ความถี่มูลฐานที่ไม่มีปกติจะไม่ได้ยินจากกีตาร์โปร่ง กีตาร์คลาสสิก หรือเครื่องดนตรีสายอื่น ๆ ที่สายข้างหนึ่งเหนี่ยวอยู่กับสะพานยึดสาย ซึ่งจะอยู่ต่ำและรั้งสายติดกับกระดานเสียง ในกรณีเช่นนี้ การสั่นของสายในแนวข้างจะไม่มีผลอะไรที่สะพาน เพราะสะพานจะตอบสนองต่อแรงตึงของสาย ซึ่งมีความถี่ทวีคูณของความถี่แนวข้าง ในเครื่องดนตรีเช่นนี้ คนฟังจะได้ยินเสียงฮาร์มอนิกแรกสุดเป็นโน้ตต่ำสุด แต่กีตาร์ไฟฟ้าจะไม่เป็นอย่างนี้ แต่ละสายจะทำให้ได้ยินเสียงความถี่มูลฐานที่ไม่มี เพราะการสั่นในแนวข้างจะทำให้ตัวแปลแรงสั่นเป็นสัญญาณอิเล็กทรอนิกส์ คือ Pickup ตอบสนอง

ส่วนโทรศัพท์ทั่วไปไม่สามารถสร้างเสียงต่ำกว่า 300 Hz แม้เสียงความถี่มูลฐานโดยเฉลี่ยของชายจะอยู่ที่ประมาณ 150 Hz. แต่เพราะปรากฏการณ์นี้ ความถี่มูลฐานของเสียงผู้ชายก็ยังสามารถได้ยินได้ผ่านโทรศัพท์

ปรากฏการณ์นี้ บางครั้งใช้ในเครื่องเสียงเพื่อให้ดูเหมือนจะส่งเสียงต่ำกว่าที่จริง ๆ จะทำได้ เช่น ในกล่องเอฟเฟกต์หรือโปรแกรมเสริม จะมีฟิลเตอร์ Audio crossover ตั้งค่าที่ความถี่ต่ำแต่ยังเหนือระดับซึ่งระบบเสียงสามารถสร้างได้จริง ๆ และเสียงดนตรีที่ความถี่อยู่เหนือกว่าค่าที่ตั้ง ก็จะส่งโดยตรงไปที่เครื่องขยายเสียง ส่วนความถี่ที่ต่ำกว่าระดับที่ตั้งจะส่งไปยังวงจรซึ่งสร้างฮาร์มอนิกต่าง ๆ เหนือโน้ตความถี่ต่ำสุด แล้วก็จะรวมส่งสัญญาณที่ว่านี้ไปยังเครื่องเสียง ซึ่งทำให้ได้ยินเสียงความถี่ต่ำที่เครื่องเสียงไม่สามารถสร้างได้ กระบวนการสังเคราะห์ในเครื่องเสียงเช่นนี้ สามารถใช้ลดเสียงความถี่ต่ำจริง ๆ ที่จะสามารถได้ยินผ่านกำแพง หรือที่ทำของมีค่าซึ่งบอบบางให้แตกเสียหาย

เครื่องออร์แกนแบบท่อบางเครื่อง จะใช้กระบวนการนี้เพื่อสร้างเสียงเบสที่ไม่มีจริง ๆ ด้วยท่อซึ่งเล็กกว่าท่อที่ต้องมีหากจะสร้างเสียงจริง

การประมวลสัญญาณเสียง

ดูเพิ่ม

เชิงอรรถ

  1. เสียง overtone เป็นเสียงที่ความถี่สูงกว่าความถี่มูลฐาน คือเป็นเสียงฮาร์มอนิกซึ่งสูงกว่าและเกิดพร้อมกับเสียงความถี่มูลฐาน เพราะเหตุเครื่องดนตรีต่าง ๆ

อ้างอิง

  1. Schnupp, Jan; Nelken, Israel; King, Andrew (2011). Auditory Neuroscience. MIT Press. ISBN 0-262-11318-X.CS1 maint: multiple names: authors list (link)
  2. Clark, John; Yallop, Colin; Fletcher, Janet (2007). An Introduction to Phonetics and Phonology. Blackwell Publishing. ISBN 1-4051-3083-0.CS1 maint: multiple names: authors list (link)
  3. Christopher, J Plack (2005). Pitch: Neural Coding and Perception. Springer. ISBN 978-0-387-23472-4.
  4. Todd, Peter M; Loy, D Gareth (1991). Music and Connectionism. MIT Press. ISBN 0-262-20081-3.CS1 maint: multiple names: authors list (link)
  5. Cariani, P.A.; Delgutte, B. (1996-09). "Neural Correlates of the Pitch of Complex Tones. I. Pitch and Pitch Salience" (PDF). Journal of Neurophysiology. 76 (3): 1698–1716. PMID 8890286. สืบค้นเมื่อ 2012-11-13. Check date values in: |date= (help)
  6. de Cheveigné, A.; Pressnitzer, D. (2006-06). "The case of the missing delay lines: Synthetic delays obtained by cross-channel phase interaction" (PDF). Journal of the Acoustical Society of America. 119 (6): 3908–3918. Bibcode:2006ASAJ..119.3908D. doi:10.1121/1.2195291. PMID 16838534. สืบค้นเมื่อ 2012-11-13. Check date values in: |date= (help)
  7. Kaernbach, C.; Demany, L. (1998-10). "Psychophysical evidence against the autocorrelation theory of auditory temporal processing". Journal of the Acoustical Society of America. 104 (4): 2298–2306. Bibcode:1998ASAJ..104.2298K. doi:10.1121/1.423742. PMID 10491694. Check date values in: |date= (help)
  8. Pressnitzer, D.; de Cheveigné, A.; Winter, I.M. (2002-01). "Perceptual pitch shift for sounds with similar waveform autocorrelation". Acoustics Research Letters Online. 3 (1): 1–6. doi:10.1121/1.1416671. Check date values in: |date= (help)
  9. Burns, E.M.; Viemeister, N.F. (1976-10). "Nonspectral pitch". Journal of the Acoustical Society of America. 60 (4): 863–869. Bibcode:1976ASAJ...60..863B. doi:10.1121/1.381166. Check date values in: |date= (help)
  10. Fitzgerald, M.B.; Wright, B. (2005-12). "A perceptual learning investigation of the pitch elicited by amplitude-modulated noise". Journal of the Acoustical Society of America. 118 (6): 3794–3803. Bibcode:2005ASAJ..118.3794F. doi:10.1121/1.2074687. PMID 16419824. Check date values in: |date= (help)
  11. Schwartz, D.A.; Purves, D. (2004-05). "Pitch is determined by naturally occurring periodic sounds" (PDF). Hearing Research. 194: 31–46. doi:10.1016/j.heares.2004.01.019. สืบค้นเมื่อ 2012-09-04. Check date values in: |date= (help)
  12. Schneider, P.; Sluming, V.; Roberts, N.; Scherg, M.; Goebel, R.; Specht, H.; Dosch, H.G.; Bleeck, S.; Stippich, C.; Rupp, A. (2005-08). "Structural and functional asymmetry of lateral Heschl's gyrus reflects pitch perception preference" (PDF). Nature Neuroscience. 8 (9): 1241–1247. doi:10.1038/nn1530. PMID 16116442. Check date values in: |date= (help)
  13. Howard, David M.; Jamie Angus (2006). Acoustics and Psychoacoustics. Focal Press. pp. 200–3. ISBN 0-240-51995-7.
  14. Moore, Guy D. (PDF). McGill University. Physics Department. คลังข้อมูลเก่า เก็บจาก แหล่งเดิม (PDF) เมื่อ 2015-09-24. The sequence 1; 1:51; 1:99; 2:44; 2:89 is almost 1; 1:5; 2; 2:5; 3 which is the harmonic series of a missing fundamental. Unknown parameter |deadurl= ignored (help)CS1 maint: uses authors parameter (link)
  15. Decker, Jr, John A (2007-02-22). "Guitar acoustics 101-from a talk to the Seattle University Physics Club". http://www.guitarmasterworks.com. สืบค้นเมื่อ 2015-09-21. External link in |website= (help)
  16. Mather, George (2006). Foundations of perception. Taylor & Francis. p. 125. ISBN 0-86377-835-6. สืบค้นเมื่อ 2010-05-11.
  17. "MaxxBass Bass Enhancement Technology". Waves Car Audio.
  18. US Method and system for enhancing quality of sound signal 5930373 
  19. "Re: maxxbass". ProSoundWeb. LAB: The Classic Live Audio Board. June 28–29, 2008.CS1 maint: date format (link)

แหล่งข้อมูลอื่น

  • Pitch Paradoxical
  • Structural and functional asymmetry of lateral Heschl's gyrus reflects pitch perception preference - abstract of the Heidelberg research, as published in Nature Neuroscience 8, 1241-1247 (2005) ; downloading the full article requires payment
  • How do you hear tones? - discussion forum thread about the Heidelberg research, with a link to a sound file used in the research so that readers can determine whether they are fundamental or overtone hearers

เส, ยงความถ, ลฐานท, ไม, งกฤษ, missing, fundamental, suppressed, fundamental, phantom, fundamental, เป, นเส, ยงฮาร, มอน, กท, ไม, จร, แต, จะได, นเม, อเส, ยง, overtone, อเส, ยงฮาร, มอน, กท, ความถ, งกว, าความถ, ลฐานน, แสดงน, ยว, เส, ยง, เพราะสมองไม, ได, บร, เส, ยง. esiyngkhwamthimulthanthiimmi xngkvs missing fundamental suppressed fundamental phantom fundamental epnesiyngharmxnikthiimmicring aetcaidyinemuxesiyng overtone A khuxesiyngharmxnikthimikhwamthisungkwakhwamthimulthannn aesdngnywa miesiyng ephraasmxngimidrbruesiyngwasungtaethairodykhunkbkhwamthimulthankhxngmnethann aetcakhunkbphawaepnkhabthiesiyngharmxnikradbthisungkwaaesdngnydwy eracungxacidyinesiyngthikhwamthimulthan odyxacminaesiyngtangcakesiyngcring aemesiyngthikhwamthinncaimmicring khlunesiyngdanlangimmikhwamthimulthanthi 100 ehirts aelaimmiharmxnikthisxngkhux 200 ehirts aetphawaepnkhabkyngehmuxnkbkhlundanbnthimiharmxnikkhrbsmburn yktwxyangechn thaesiyngontdntrithiimichesiyngthumaehlmbrisuththimiesiyngsungtathi 100 ehirts mnkcamixngkhprakxbkhwamthisungepnphhukhunkhxngesiyngsungtann echn 100 200 300 400 500 ehirts aetlaophngelk xacimsamarthsrangesiyngkhwamthitaid dngnn intwxyangkhxngera esiyngthikhwamthi 100 ehirtsxacimmicring xyangirkdi erakyngcaidyinesiyngthikhwamthimulthan 100 ehirtsxyudi enuxha 1 khaxthibay 2 twxyang 3 karpramwlsyyanesiyng 4 duephim 5 echingxrrth 6 xangxing 7 aehlngkhxmulxunkhaxthibay aekikh khwamthikhxngharmxnikthnghmd camitwharrwmmakethakbkhwamthimulthan esnpra esiyngthumkhwamthita low pitch samarthidyinepnbangkhrngaemcaimmi dngnn inphasaxngkvs cungeriykesiyngnidwywa pitch of the missing fundamental esiyngthumaehlmthikhwamthimulthansungimmi hrux virtual pitch esiyngthumaehlmesmuxn karrbruesiyngthumthiimmimacakkartikhwamrupaebbsa khxngesiyngthimixyukhxngsmxng 1 2 3 ekhyechuxwa praktkarnniekidcakkhwamephiynesiyngenuxngcaklksnathangkayphaphkhxnghu aetkarthdlxngpi ph s 2497 klbaesdngwa emuxephimesiyngephuxxaphrangkhwamephiynesiyngechnnithami phufngkyngidyinesiyngthumaehlmthikhwamthimulthansungimmi 4 nkwithyasastrpccubncungechuxwa smxngaeplkhxmulcakesiyng overtone A ihepnesiyngthikhwamthimulthansungimmiraylaexiydwasmxngthaxairyngepneruxngthiyngimyuti aetkarpramwlphlduehmuxncaxasykarhashsmphnthxtonmti thiekiywkbchwngewlarahwangximphlsprasathinostprasath 5 aetnkwithyasastrkidihkhxsngektmananaelwwa klikthangprasaththisamarthhnwngewla sungcaepninkarhashsmphnthxtonmti yngimekhyphb 3 miaebbcalxngxyangnxyhnungaebbthiaesdngwa karhnwngewlaimcaepninkarhashsmphnthxtonmtiephuxrbrukhwamthumaehlmkhxngesiyng odyxang karepliynefsrahwangtwkrxng filetxrkhxngkhxekhliy 6 xyangirkdi yngmingankxnhnannxikthiaesdngwa esiyngbangxyangthiihkhasungsudodyfngkchnshsmphnthxtonmtikhxngphwkmn kimidthaihidyinesiyngthumaehlmthismkndngthiphyakrnodysmmtithan 7 8 aelaesiyngbangxyang thiimidihkhasungsudcakfngkchnklbthaihrbruesiyngthiimmixikdwy 9 10 dngnn smmtithanshsmphnthxtonmti xacyngimkhrxbkhlumphxephuxxthibaypraktkarnniesiyngsungtakhxngkhwamthimulthanthiimmi sungpkticaepntwharrwmmakkhxngkhwamthiharmxnikthimithnghmd 11 kimichwathukkhncaidyin nganwicythimhawithyalyihedilaebrkidaesdngwa phayitsthankarncakdthieradwyharmxnikcanwnnxy prachakrmnusythwipsamarthaebngepnphuthisamarthrbrukhwamthimulthanthiimmiaelaphuthiidyinaetesiyng overtone A epnhlk 12 sungtrwcodyihphurwmkarthdlxngtdsinthisthangkhxngesiyng khunhruxlng khxngthanxngephlng nkwicyidichekhruxng MRI aela MEG ephuxaesdngwa karidyinesiyngkhwamthimulthanthiimmimicasmphnthkbkarthanganodyechphaainsmxngsiksay ethiybkbkarrbruespktrmkhxngesiyngcring sungcasmphnthkbkarthanganodyechphaakhxngsmxngsikkhwa aelakhnthimkcarbruxyanghlngmkcaepnnkdntritwxyang aekikh klxngthimpanicaphlitodyprbkarsnihsrangesiyngharmxnik 13 siaedng harmxnikkhxngesiyngthumaehlmthiidyin sinaengin harmxnikkhxngklxngodyhlk elnont C0 klxng harp klxngthimpani withiich khxmul twxyangxxnilnthiepriybethiybesiyngsungtaaebbbrisuththikbaebbsbsxn aelaepriybethiybesiyngsbsxnkbesiyngkhwamthimulthanthiimmi samarthduidthiniklxngthimpanimiesiyng overtone A thrrmchatithiimepnharmxnik aetcaphlitaelaprbihthaesiyng overtone ikl radbharmxniktang ephuxihekidkhwamthimulthanthiimmi emuxtitampkti trngklanghruxpraman 3 4 caktrngklangipyngkhxb esiyngthikhwamthimulthankhxngklxngcadngnxymak ethiybkbesiyng overtone khxngharmxnikthisxngcnthungha 13 echn klxngxaccaprbihsrangesiyngdngthisudthi 200 302 398 aela 488 Hz ephuxihidyinesiyngkhwamthimulthanthiimmithi 100 Hz odymikhwamthimulthanthiimmiodyfngimkhxydngcring thi 170 Hz 14 khwamthiphxngkhxngthngxakasphayiniwoxlinaelatwiwoxlinexngpkticaxyuinrahwang 250 300 Hz khwamthikhxngkhxngsay G3 catakwa 200 Hz thnginiwoxlinpccubnaelainxditodymak dngnn onttasudkhxngekhruxngcamikhwamthimulthanthiebamak aemphufngcaimkhxysngektwaepnechnnikhwamthimulthanthiimmipkticaimidyincakkitaroprng kitarkhlassik hruxekhruxngdntrisayxun thisaykhanghnungehniywxyukbsaphanyudsay sungcaxyutaaelarngsaytidkbkradanesiyng inkrniechnni karsnkhxngsayinaenwkhangcaimmiphlxairthisaphan ephraasaphancatxbsnxngtxaerngtungkhxngsay sungmikhwamthithwikhunkhxngkhwamthiaenwkhang inekhruxngdntriechnni khnfngcaidyinesiyngharmxnikaerksudepnonttasud aetkitariffacaimepnxyangni aetlasaycathaihidyinesiyngkhwamthimulthanthiimmi ephraakarsninaenwkhangcathaihtwaeplaerngsnepnsyyanxielkthrxniks khux Pickup txbsnxng 15 swnothrsphththwipimsamarthsrangesiyngtakwa 300 Hz aemesiyngkhwamthimulthanodyechliykhxngchaycaxyuthipraman 150 Hz aetephraapraktkarnni khwamthimulthankhxngesiyngphuchaykyngsamarthidyinidphanothrsphth 16 praktkarnni bangkhrngichinekhruxngesiyngephuxihduehmuxncasngesiyngtakwathicring cathaid 17 echn inklxngexfefkthruxopraekrmesrim camifiletxr Audio crossover tngkhathikhwamthitaaetyngehnuxradbsungrabbesiyngsamarthsrangidcring aelaesiyngdntrithikhwamthixyuehnuxkwakhathitng kcasngodytrngipthiekhruxngkhyayesiyng swnkhwamthithitakwaradbthitngcasngipyngwngcrsungsrangharmxniktang ehnuxontkhwamthitasud aelwkcarwmsngsyyanthiwaniipyngekhruxngesiyng sungthaihidyinesiyngkhwamthitathiekhruxngesiyngimsamarthsrangid 18 krabwnkarsngekhraahinekhruxngesiyngechnni samarthichldesiyngkhwamthitacring thicasamarthidyinphankaaephng hruxthithakhxngmikhasungbxbbangihaetkesiyhay 19 ekhruxngxxraeknaebbthxbangekhruxng caichkrabwnkarniephuxsrangesiyngebsthiimmicring dwythxsungelkkwathxthitxngmihakcasrangesiyngcringkarpramwlsyyanesiyng aekikhswnnirxephimetimkhxmul khunsamarthchwyephimkhxmulswnniidduephim aekikhcitswnsastr harmxnikechingxrrth aekikh 1 0 1 1 1 2 1 3 esiyng overtone epnesiyngthikhwamthisungkwakhwamthimulthan khuxepnesiyngharmxniksungsungkwaaelaekidphrxmkbesiyngkhwamthimulthan ephraaehtuekhruxngdntritang xangxing aekikh Schnupp Jan Nelken Israel King Andrew 2011 Auditory Neuroscience MIT Press ISBN 0 262 11318 X CS1 maint multiple names authors list link Clark John Yallop Colin Fletcher Janet 2007 An Introduction to Phonetics and Phonology Blackwell Publishing ISBN 1 4051 3083 0 CS1 maint multiple names authors list link 3 0 3 1 Christopher J Plack 2005 Pitch Neural Coding and Perception Springer ISBN 978 0 387 23472 4 Todd Peter M Loy D Gareth 1991 Music and Connectionism MIT Press ISBN 0 262 20081 3 CS1 maint multiple names authors list link Cariani P A Delgutte B 1996 09 Neural Correlates of the Pitch of Complex Tones I Pitch and Pitch Salience PDF Journal of Neurophysiology 76 3 1698 1716 PMID 8890286 subkhnemux 2012 11 13 Check date values in date help de Cheveigne A Pressnitzer D 2006 06 The case of the missing delay lines Synthetic delays obtained by cross channel phase interaction PDF Journal of the Acoustical Society of America 119 6 3908 3918 Bibcode 2006ASAJ 119 3908D doi 10 1121 1 2195291 PMID 16838534 subkhnemux 2012 11 13 Check date values in date help Kaernbach C Demany L 1998 10 Psychophysical evidence against the autocorrelation theory of auditory temporal processing Journal of the Acoustical Society of America 104 4 2298 2306 Bibcode 1998ASAJ 104 2298K doi 10 1121 1 423742 PMID 10491694 Check date values in date help Pressnitzer D de Cheveigne A Winter I M 2002 01 Perceptual pitch shift for sounds with similar waveform autocorrelation Acoustics Research Letters Online 3 1 1 6 doi 10 1121 1 1416671 Check date values in date help Burns E M Viemeister N F 1976 10 Nonspectral pitch Journal of the Acoustical Society of America 60 4 863 869 Bibcode 1976ASAJ 60 863B doi 10 1121 1 381166 Check date values in date help Fitzgerald M B Wright B 2005 12 A perceptual learning investigation of the pitch elicited by amplitude modulated noise Journal of the Acoustical Society of America 118 6 3794 3803 Bibcode 2005ASAJ 118 3794F doi 10 1121 1 2074687 PMID 16419824 Check date values in date help Schwartz D A Purves D 2004 05 Pitch is determined by naturally occurring periodic sounds PDF Hearing Research 194 31 46 doi 10 1016 j heares 2004 01 019 subkhnemux 2012 09 04 Check date values in date help Schneider P Sluming V Roberts N Scherg M Goebel R Specht H Dosch H G Bleeck S Stippich C Rupp A 2005 08 Structural and functional asymmetry of lateral Heschl s gyrus reflects pitch perception preference PDF Nature Neuroscience 8 9 1241 1247 doi 10 1038 nn1530 PMID 16116442 Check date values in date help 13 0 13 1 Howard David M Jamie Angus 2006 Acoustics and Psychoacoustics Focal Press pp 200 3 ISBN 0 240 51995 7 Moore Guy D Lecture 26 Percussion PDF McGill University Physics Department khlngkhxmuleka ekbcak aehlngedim PDF emux 2015 09 24 The sequence 1 1 51 1 99 2 44 2 89 is almost 1 1 5 2 2 5 3 which is the harmonic series of a missing fundamental Unknown parameter deadurl ignored help CS1 maint uses authors parameter link Decker Jr John A 2007 02 22 Guitar acoustics 101 from a talk to the Seattle University Physics Club http www guitarmasterworks com subkhnemux 2015 09 21 External link in website help Mather George 2006 Foundations of perception Taylor amp Francis p 125 ISBN 0 86377 835 6 subkhnemux 2010 05 11 MaxxBass Bass Enhancement Technology Waves Car Audio US Method and system for enhancing quality of sound signal 5930373 Re maxxbass ProSoundWeb LAB The Classic Live Audio Board June 28 29 2008 CS1 maint date format link aehlngkhxmulxun aekikhPitch Paradoxical Structural and functional asymmetry of lateral Heschl s gyrus reflects pitch perception preference abstract of the Heidelberg research as published in Nature Neuroscience 8 1241 1247 2005 downloading the full article requires payment How do you hear tones discussion forum thread about the Heidelberg research with a link to a sound file used in the research so that readers can determine whether they are fundamental or overtone hearersekhathungcak https th wikipedia org w index php title esiyngkhwamthimulthanthiimmi amp oldid 7502998, wikipedia, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด,

บทความ

, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม