fbpx
วิกิพีเดีย

แหล่งคาร์บอน

ในทางชีววิทยา แหล่งคาร์บอน (อังกฤษ: carbon source) หมายถึงโมเลกุลที่สิ่งมีชีวิตหนึ่งใช้เป็นแหล่งของธาตุคาร์บอนที่ใช้สร้างเป็นมวลชีวภาพ แหล่งคาร์บอนสามารถเป็นได้ทั้งสารประกอบอินทรีย์ หรือสารประกอบอนินทรีย์ สิ่งมีชีวิตที่เป็นเฮเทโรทรอพต้องอาศัยสารประกอบอินทรีย์เพื่อเป็นแหล่งสำหรับคาร์บอนและพลังงาน ในขณะที่สิ่งมีชีวิตที่เป็นออโตทรอพสามารถใช้สารประกอบอนินทรีย์เป็นแหล่งคาร์บอน และรับพลังงานจากแหล่งที่เป็นอชีวนะ (abiotic source) เช่น แสง (photoautotroph), พลังงานเคมีอนินทีย์ (chemolithotroph) การใช้ธาตุคาร์บอนในทางชีวภาพถือเป็นส่วนหนึ่งของวัฏจักรคาร์บอน ซึ่งมีจุดเริ่มต้นมาจากแหล่งกำเนิดอนินทรีย์ของคาร์บอน เช่น คาร์บอนไดออกไซด์ ที่จะถูกนำเข้าสู่กระบวนการตรึงคาร์บอนต่อไป

Global Carbon Project ประมาณว่าระหว่างปี พ.ศ. 2393 และ 2562 สองในสามของคาร์บอนไดออกไซด์ที่ถูกปล่อยออกมาเกิดจากการเผาเชื้อเพลิงซากดึกดำบรรพ์ กว่าครึ่งหนึ่งของคาร์บอนไดออกไซด์นี้ยังคงอยู่ในชั้นบรรยากาศ

อ้างอิง

  1. reece, Jane B. Reece, Berkeley, California, Lisa A. Urry, Mills College, Oakland, California, Michael L. Cain, Bowdoin College, Brunswick, Maine, Steven A. Wasserman, University of California, San Diego, Peter V. Minorsky, Mercy College, Dobbs Ferry, New York, Robert B. Jackson, Stanford University, Stanford (2014). Campbell biology (Tenth ed.). ISBN 9780321775658.
  2. Tortora, Gerar (2018-01-08). Microbiology: An Introduction. Pearson. ISBN 9780134605180.

แหล, งคาร, บอน, ในทางช, วว, ทยา, งกฤษ, carbon, source, หมายถ, งโมเลก, ลท, งม, ตหน, งใช, เป, นแหล, งของธาต, คาร, บอนท, ใช, สร, างเป, นมวลช, วภาพ, สามารถเป, นได, งสารประกอบอ, นทร, หร, อสารประกอบอน, นทร, งม, ตท, เป, นเฮเทโรทรอพต, องอาศ, ยสารประกอบอ, นทร, เพ, อเป,. inthangchiwwithya aehlngkharbxn xngkvs carbon source hmaythungomelkulthisingmichiwithnungichepnaehlngkhxngthatukharbxnthiichsrangepnmwlchiwphaph 1 aehlngkharbxnsamarthepnidthngsarprakxbxinthriy hruxsarprakxbxninthriy singmichiwitthiepnehethorthrxphtxngxasysarprakxbxinthriyephuxepnaehlngsahrbkharbxnaelaphlngngan inkhnathisingmichiwitthiepnxxotthrxphsamarthichsarprakxbxninthriyepnaehlngkharbxn aelarbphlngngancakaehlngthiepnxchiwna abiotic source echn aesng photoautotroph phlngnganekhmixninthiy chemolithotroph 2 karichthatukharbxninthangchiwphaphthuxepnswnhnungkhxngwtckrkharbxn sungmicuderimtnmacakaehlngkaenidxninthriykhxngkharbxn echn kharbxnidxxkisd thicathuknaekhasukrabwnkartrungkharbxntxipGlobal Carbon Project pramanwarahwangpi ph s 2393 aela 2562 sxnginsamkhxngkharbxnidxxkisdthithukplxyxxkmaekidcakkarephaechuxephlingsakdukdabrrph kwakhrunghnungkhxngkharbxnidxxkisdniyngkhngxyuinchnbrryakasxangxing aekikh reece Jane B Reece Berkeley California Lisa A Urry Mills College Oakland California Michael L Cain Bowdoin College Brunswick Maine Steven A Wasserman University of California San Diego Peter V Minorsky Mercy College Dobbs Ferry New York Robert B Jackson Stanford University Stanford 2014 Campbell biology Tenth ed ISBN 9780321775658 Tortora Gerar 2018 01 08 Microbiology An Introduction Pearson ISBN 9780134605180 ekhathungcak https th wikipedia org w index php title aehlngkharbxn amp oldid 9268448, wikipedia, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด,

บทความ

, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม