fbpx
วิกิพีเดีย

การก่อเทือกเขา

การก่อเทือกเขา (อังกฤษ: Orogeny/Orogenesis) เป็นกระบวนการกำเนิดแนวเทือกเขาขนาดใหญ่ที่เป็นผลจากแรงดัน ในขณะเกิดการเปลี่ยนลักษณะโครงสร้างของแผ่นเปลือกโลก เช่น การเคลื่อนที่เข้าปะทะกันของแผ่นเปลือกโลก หรือ การมุดตัวของแผ่นเปลือกโลก ซึ่งเหตุการณ์เหล่านี้ได้ก่อให้เกิดความเค้น ขึ้นตามแนวรอยต่อระหว่างเปลือกโลกทั้งสอง ส่งผลให้เกิดมวลหินบริเวณนั้นถูกแปรสภาพและยกตัวสูงขึ้นเป็นแนวยาว เรียกว่า แดนเทือกเขา (orogenic belt)

ภูเขา

คำว่า “Orogeny” มีรากศัพท์มาจากภาษากรีก คือ คำว่า oros แปลว่าภูเขา และ genesis ที่แปลว่าการเกิด หรือกำเนิด

ธรณีแปรสัณฐานที่ก่อให้เกิดแนวเทือกเขา

กระบวนการแปรสัณฐานที่นำไปสู่การก่อแนวเทือกเขา ก็คือการที่แผ่นเปลือกโลกสองแผ่นเคลื่อนที่เข้าหากัน (convergent boundary) ซึ่งสามารถแบ่งตามชนิดของแผ่นเปลือกโลกที่เคลื่อนที่เข้าหากันได้เป็น 3 กรณี ดังนี้

แผ่นเปลือกโลกภาคพื้นทวีปกับแผ่นเปลือกโลกภาคพื้นทวีป

การเคลื่อนที่เข้าหากันของแผ่นเปลือกโลกชนิดนี้ทำให้เกิดการชนกันอย่างรุนแรง เนื่องจากแผ่นเปลือกโลกภาคพื้นทวีปมีความหนา และมีความหนาแน่นเท่า ๆ กัน อีกทั้งยังคงมีความหนาแน่นน้อยกว่าชั้นเนื้อโลก แผ่นโลกทั้งสองจึงไม่เกิดการมุดตัว แต่บางครั้งอาจมีการมุดตัวเล็กน้อยหรือธรณีภาคส่วนที่หนักอาจแตกแยกตัวออกจากเปลือกโลกและมุดลงข้างใต้ก็ได้ เศษชิ้นส่วนของเปลือกโลกหรือตะกอนตามขอบทวีปอาจถูกครูดให้มาอยู่ในเขตการชนกัน (collision zone) ก่อให้เกิดการเปลี่ยนสภาพอย่างรุนแรงแบบเมลานจ์ของหิน (highly deformed Mélange of rock) การบีบอัดอย่างรุนแรงยังสามารถทำให้เกิดการคดโค้งและการเลื่อนของหินในแผ่นเปลือกโลกทั้งสองได้ ขอบเขตการเปลี่ยนสภาพนี้อาจมากถึงหลายร้อยกิโลเมตรภายในแผ่นเปลือกโลก ซึ่งแสดงลักษณะภูมิประเทศเป็นแนวเทือกเขาสูงบนผิวโลก เช่น เทือกเขาหิมาลัย เทือกเขาทางด้านตะวันตกของประเทศไทย

แผ่นเปลือกโลกภาคพื้นทวีปกับแผ่นเปลือกโลกภาคพื้นสมุทร

ทำให้เกิดการมุดตัวของแผ่นเปลือกโลกภาคพื้นสมุทรลงใต้แผ่นเปลือกโลกภาคพื้นทวีป (subduction) เนื่องจากแผ่นเปลือกโลกภาคพื้นสมุทรหนาน้อยกว่า แต่มีความหนาแน่นสูงกว่าแผ่นเปลือกโลกภาคพื้นทวีป ขณะที่แผ่นเปลือกโลกภาคพื้นสมุทรมุดตัวลงเรื่อย ๆ แผ่นเปลือกโลกส่วนที่มุดลึกลงไปถึงชั้นฐานธรณีภาคจะอยู่ในสภาพแวดล้อมที่มีอุณหภูมิสูงขึ้น จนกระทั่งส่วนประกอบที่เป็นของเหลวและสารระเหยต่าง ๆ เช่น น้ำหรือคาร์บอนไดออกไซด์ถูกความร้อนทำให้ระเหยกลายเป็นไอลอยขึ้นสู่ด้านบน ซึ่งสารไอร้อนเหล่านี้จะไปรบกวนสมดุลของชั้นฐานธรณีภาคบริเวณนั้นด้วย ทำให้เกิดภาวะไม่เสถียรจนเกิดการหลอมเป็นบางส่วน (partial melting) กลายเป็นหินหลอมซึ่งจะก่อตัวในรูปกระเปาะหินหนืด (magma chamber) ที่มีความหนาแน่นน้อยกว่าวัสดุแวดล้อมจึงค่อย ๆ ลอยตัวสู่ด้านบนช้า ๆ หากกระเปาะหินหนืดลอยขึ้นมาถึงพื้นผิวโลกโดยไม่มีการแข็งตัวก็จะเกิดการปะทุออกมาในลักษณะของการระเบิดของภูเขาไฟ (volcanic eruption) ซึ่งผลจากการมุดตัวของแผ่นเปลือกโลกชนิดนี้ก่อให้เกิดลักษณะภูมิประเทศสูงเป็นแนวเทือกเขาตามขอบแผ่นทวีป เช่น เทือกเขาแอนดีส ทางตะวันตกของทวีปอเมริกาใต้

แผ่นเปลือกโลกภาคพื้นสมุทรกับแผ่นเปลือกโลกภาคพื้นสมุทร

เมื่อแผ่นเปลือกโลกภาคพื้นสมุทรสองแผ่นเคลื่อนที่เข้าชนกัน โดยปกติแล้วจะเป็นแผ่นเปลือกโลกที่มีอายุมากกว่าจะมุดตัวลงใต้แผ่นเปลือกโลกภาคพื้นสมุทรที่มีอายุน้อยเนื่องจากความหนาแน่นที่สูงกว่า จากนั้นกระบวนการต่าง ๆ ที่เกิดจะคล้ายคลึงกับกรณีของการชนกันระหว่างแผ่นเปลือกโลกภาคพื้นทวีปกับแผ่นเปลือกโลกภาคพื้นสมุทร ผลของการชนกันระหว่างแผ่นเปลือกโลกภาคพื้นสมุทรสองแผ่นทำให้เกิดแนวหมู่เกาะภูเขาไฟกลางสมุทร ตัวอย่างเช่น หมู่เกาะแคริเบียนตะวันออก (Eastern Caribbean Islands)

กระบวนการทางธรณีวิทยาของการก่อเทือกเขา

โดยทั่วไปแล้วภูเขาหนึ่งๆ ที่เกิดจากกระบวนการธรณีแปรสัณฐานดังที่กล่าวไว้ข้างต้น จะประกอบด้วยกระบวนทางธรณีวิทยาที่เกิดร่วมกับกระบวนการก่อเทือกเขาด้วย ซึ่งประกอบด้วย (หมายเลขระบุตำแหน่งดังรูป)

  1. การเปลี่ยนลักษณะ (deformation) เช่น การเกิดชั้นหินคดโค้ง (folding) และรอยเลื่อนย้อน (thrust faulting)
  2. การเกิดหินแปร (metamorphism) เช่น การเกิดหิน greenschist และ amphibolite ที่ศูนย์กลางของแนวภูเขา และหิน blueschist ที่ขอบด้านนอก
  3. การเกิดหินหลอม (magmatization) ในกรณีการชนกันของแผ่นทวีป หินหลอมอาจเกิดจากการที่หินตะกอนหรือส่วนของเปลือกโลกที่ถูกฝังตัวลึกลงเรื่อยๆ จากการเพิ่มความหนาของแผ่นเปลือกโลกจนเมื่อถึงจุดที่ความร้อนและความกดดันสูงเกินกว่าที่หินนั้นจะคงสภาพของแข็งได้อีกต่อไปแล้วเกิดการหลอมบางส่วนกลายเป็นหินหลอม ส่วนในกรณีของการมุดตัวของแผ่นมหาสมุทรใต้แผ่นทวีปนั้น ขณะที่แผ่นมหาสมุทรมุดตัวลงส่วนประกอบที่เป็นของเหลวและสารระเหยต่างๆ เช่น น้ำหรือคาร์บอนไดออกไซด์ถูกความร้อนทำให้ระเหยกลายเป็นไอลอยขึ้นสู่ชั้นฐานธรณีภาค (asthenosphere) ของแผ่นเปลือกโลกด้านบนแล้วรบกวนสมดุลของชั้นฐานธรณีภาคนั้นให้เกิดภาวะไม่เสถียรจนเกิดการหลอมเป็นบางส่วนกลายเป็นหินหลอมที่จะเคลื่อนตัวขึ้นสู่ระดับที่ตื้นกว่าต่อไป
  4. การแทรกซอนของหินอัคนี (intrusion) เช่น หินแกรนิตมวลไพศาล (granitic batholiths) มักมีกำเนิดสอดคล้องกับกระบวนการก่อเทือกเขา
  5. การยกตัวของแผ่นเปลือกโลก (uplift)
  6. การระเบิดของภูเขาไฟ (volcanic activity) ขนานไปกับแนวยอดเขา ส่วนมากเรามักพบแนวของภูเขาไฟที่ประกอบด้วยหิน andesite
  7. ร่องลึกก้นสมุทร (oceanic trench) เป็นร่องแคบลึก พบอยู่ตามขอบด้านนอกของแนวภูเขาที่เพิ่งเกิดใหม่ แต่โดยทั่วไปแล้วร่องเหล่านี้มักเติมเต็มด้วยตะกอนจากพื้นทะเลที่ถูกครูดมารวมกัน
  8. การเกิดแผ่นดินไหว (seismic activity) ในกรณีของการมุดตัวของแผ่นเปลือกโลกมหาสุมทรใต้แผ่นทวีป (subduction) เรามักพบจุดศูนย์กลางของ[แผ่นดินไหว]ที่มีพลังมากแต่อยู่ในระดับตื้นใกล้กับร่องลืกมหาสมุทร (trench]) และจุดศูนย์กลางแผ่นดินไหวเหล่านี้ค่อยๆลึกลงเรื่อยๆตามแนวของเปลือกโลกที่มุดตัวลงจนถึงระดับลึกสุดที่ 700 กิโลเมตร แนวจุดศูนย์กลางแผ่นดินไหวที่ค่อยๆลึกลงตามระยะห่างจากร่องลึกมหาสมุทรนี้เรียกว่า Wadati-Benioff Zone
  9. ลักษณะเฉพาะของการตกทับถมตะกอน (deposition) พร้อมๆ กับการกำเนิดภูเขา โดยทั่วไปจะพบหินตะกอนน้ำตื้นบริเวณด้านในของแนวภูเขา ในขณะที่พบหินตะกอนน้ำลึกที่ศูนย์กลางของแนวการมุดตัว และจากนั้นในช่วงปลายของกระบวนการหินกรวดมนและหินทรายจะตกสะสมตัวอันเนื่องมาจากการกร่อน (erosion) ของแนวภูเขา

เทือกเขาและการแบ่งเขตทางธรณีวิทยา

เราสามารถแบ่งแดนเทือกเขาออกเป็นเขตต่างๆ ตามลักษณะ โครงสร้าง วิทยาหิน และระดับการแปรสภาพของหิน โดยเขตตามประเภทเหล่านี้อาจเป็นบริเวณเดียวกันหรือซ้อนทับกันเป็นบางส่วน ดังนั้นการเรียกชื่ออย่างถูกต้องจะช่วยให้นักธรณีวิทยาเกิดความเข้าใจที่ตรงกันได้ ตัวอย่างต่อไปนี้เป็นแดนเทือกเขาที่เกิดจากการชนกันระหว่างแผ่นเปลือกโลกภาคพื้นทวีปกับแผ่นเปลือกโลกภาคพื้นมหาสมุทร

  1. เขตตามโครงสร้าง (Structural zones)
  2. เขตตามวิทยาหิน (Lithologic zones)
  3. เขตตามการแปรสภาพของหิน (Metamorphic zones)

บทสรุป

กล่าวโดยสรุปแล้วภูเขาหรือเทือกเขาเป็นผลจากกระบวนการที่เกี่ยวเนื่องกับธรณีแปรสัณฐาน (plate tectonic) แบบการเคลื่อนที่เข้าปะทะกันของแผ่นเปลือกโลก (plate convergence) ได้แก่ การชนกันของแผ่นทวีป (continental collision) และการมุดตัวของแผ่นเปลือกโลก (subduction) ซี่งโดยทั่วไปแล้วมักเป็นการมุดตัวของแผ่นมหาสมุทรลงใต้แผ่นเปลือกโลกเนื่องจากแผ่นมหาสมุทรมีความหนาแน่นมากกว่าจึงจมลงด้านล่างได้ง่ายกว่า การสร้างภูเขาประกอบด้วยกระบวนการทางธรณีวิทยาย่อยๆ อีกเช่น การเปลี่ยนลักษณะ (deformation) การเกิดหินแปร (metamorphism) การยกตัวของแผ่นเปลือกโลก (uplift) และการเกิดแผ่นดินไหว (seismic activity) เป็นต้น

อ้างอิง

  1. http://www.uwgb.edu/dutchs/platetec/orogeny.htm
  2. http://serc.carleton.edu/NAGTWorkshops/structure/visualizations/orogeny.html
  3. http://walrus.wr.usgs.gov/infobank/programs/html/school/keypage/orogeny.html
  4. http://www.geo.ua.edu/intro03/deform.html

การก, อเท, อกเขา, งกฤษ, orogeny, orogenesis, เป, นกระบวนการกำเน, ดแนวเท, อกเขาขนาดใหญ, เป, นผลจากแรงด, ในขณะเก, ดการเปล, ยนล, กษณะโครงสร, างของแผ, นเปล, อกโลก, เช, การเคล, อนท, เข, าปะทะก, นของแผ, นเปล, อกโลก, หร, การม, ดต, วของแผ, นเปล, อกโลก, งเหต, การณ, เหล. karkxethuxkekha xngkvs Orogeny Orogenesis epnkrabwnkarkaenidaenwethuxkekhakhnadihythiepnphlcakaerngdn inkhnaekidkarepliynlksnaokhrngsrangkhxngaephnepluxkolk echn karekhluxnthiekhapathaknkhxngaephnepluxkolk hrux karmudtwkhxngaephnepluxkolk sungehtukarnehlaniidkxihekidkhwamekhn khuntamaenwrxytxrahwangepluxkolkthngsxng sngphlihekidmwlhinbriewnnnthukaeprsphaphaelayktwsungkhunepnaenwyaw eriykwa aednethuxkekha orogenic belt phuekha khawa Orogeny miraksphthmacakphasakrik khux khawa oros aeplwaphuekha aela genesis thiaeplwakarekid hruxkaenid enuxha 1 thrniaeprsnthanthikxihekidaenwethuxkekha 1 1 aephnepluxkolkphakhphunthwipkbaephnepluxkolkphakhphunthwip 1 2 aephnepluxkolkphakhphunthwipkbaephnepluxkolkphakhphunsmuthr 1 3 aephnepluxkolkphakhphunsmuthrkbaephnepluxkolkphakhphunsmuthr 2 krabwnkarthangthrniwithyakhxngkarkxethuxkekha 3 ethuxkekhaaelakaraebngekhtthangthrniwithya 4 bthsrup 5 xangxingthrniaeprsnthanthikxihekidaenwethuxkekha aekikhkrabwnkaraeprsnthanthinaipsukarkxaenwethuxkekha kkhuxkarthiaephnepluxkolksxngaephnekhluxnthiekhahakn convergent boundary sungsamarthaebngtamchnidkhxngaephnepluxkolkthiekhluxnthiekhahaknidepn 3 krni dngni aephnepluxkolkphakhphunthwipkbaephnepluxkolkphakhphunthwip aekikh karekhluxnthiekhahaknkhxngaephnepluxkolkchnidnithaihekidkarchnknxyangrunaerng enuxngcakaephnepluxkolkphakhphunthwipmikhwamhna aelamikhwamhnaaennetha kn xikthngyngkhngmikhwamhnaaennnxykwachnenuxolk aephnolkthngsxngcungimekidkarmudtw aetbangkhrngxacmikarmudtwelknxyhruxthrniphakhswnthihnkxacaetkaeyktwxxkcakepluxkolkaelamudlngkhangitkid esschinswnkhxngepluxkolkhruxtakxntamkhxbthwipxacthukkhrudihmaxyuinekhtkarchnkn collision zone kxihekidkarepliynsphaphxyangrunaerngaebbemlanckhxnghin highly deformed Melange of rock karbibxdxyangrunaerngyngsamarththaihekidkarkhdokhngaelakareluxnkhxnghininaephnepluxkolkthngsxngid khxbekhtkarepliynsphaphnixacmakthunghlayrxykiolemtrphayinaephnepluxkolk sungaesdnglksnaphumipraethsepnaenwethuxkekhasungbnphiwolk echn ethuxkekhahimaly ethuxkekhathangdantawntkkhxngpraethsithy aephnepluxkolkphakhphunthwipkbaephnepluxkolkphakhphunsmuthr aekikh thaihekidkarmudtwkhxngaephnepluxkolkphakhphunsmuthrlngitaephnepluxkolkphakhphunthwip subduction enuxngcakaephnepluxkolkphakhphunsmuthrhnanxykwa aetmikhwamhnaaennsungkwaaephnepluxkolkphakhphunthwip khnathiaephnepluxkolkphakhphunsmuthrmudtwlngeruxy aephnepluxkolkswnthimudluklngipthungchnthanthrniphakhcaxyuinsphaphaewdlxmthimixunhphumisungkhun cnkrathngswnprakxbthiepnkhxngehlwaelasarraehytang echn nahruxkharbxnidxxkisdthukkhwamrxnthaihraehyklayepnixlxykhunsudanbn sungsarixrxnehlanicaiprbkwnsmdulkhxngchnthanthrniphakhbriewnnndwy thaihekidphawaimesthiyrcnekidkarhlxmepnbangswn partial melting klayepnhinhlxmsungcakxtwinrupkraepaahinhnud magma chamber thimikhwamhnaaennnxykwawsduaewdlxmcungkhxy lxytwsudanbncha hakkraepaahinhnudlxykhunmathungphunphiwolkodyimmikaraekhngtwkcaekidkarpathuxxkmainlksnakhxngkarraebidkhxngphuekhaif volcanic eruption sungphlcakkarmudtwkhxngaephnepluxkolkchnidnikxihekidlksnaphumipraethssungepnaenwethuxkekhatamkhxbaephnthwip echn ethuxkekhaaexndis thangtawntkkhxngthwipxemrikait aephnepluxkolkphakhphunsmuthrkbaephnepluxkolkphakhphunsmuthr aekikh emuxaephnepluxkolkphakhphunsmuthrsxngaephnekhluxnthiekhachnkn odypktiaelwcaepnaephnepluxkolkthimixayumakkwacamudtwlngitaephnepluxkolkphakhphunsmuthrthimixayunxyenuxngcakkhwamhnaaennthisungkwa caknnkrabwnkartang thiekidcakhlaykhlungkbkrnikhxngkarchnknrahwangaephnepluxkolkphakhphunthwipkbaephnepluxkolkphakhphunsmuthr phlkhxngkarchnknrahwangaephnepluxkolkphakhphunsmuthrsxngaephnthaihekidaenwhmuekaaphuekhaifklangsmuthr twxyangechn hmuekaaaekhriebiyntawnxxk Eastern Caribbean Islands krabwnkarthangthrniwithyakhxngkarkxethuxkekha aekikhodythwipaelwphuekhahnung thiekidcakkrabwnkarthrniaeprsnthandngthiklawiwkhangtn caprakxbdwykrabwnthangthrniwithyathiekidrwmkbkrabwnkarkxethuxkekhadwy sungprakxbdwy hmayelkhrabutaaehnngdngrup karepliynlksna deformation echn karekidchnhinkhdokhng folding aelarxyeluxnyxn thrust faulting karekidhinaepr metamorphism echn karekidhin greenschist aela amphibolite thisunyklangkhxngaenwphuekha aelahin blueschist thikhxbdannxk karekidhinhlxm magmatization inkrnikarchnknkhxngaephnthwip hinhlxmxacekidcakkarthihintakxnhruxswnkhxngepluxkolkthithukfngtwluklngeruxy cakkarephimkhwamhnakhxngaephnepluxkolkcnemuxthungcudthikhwamrxnaelakhwamkddnsungekinkwathihinnncakhngsphaphkhxngaekhngidxiktxipaelwekidkarhlxmbangswnklayepnhinhlxm swninkrnikhxngkarmudtwkhxngaephnmhasmuthritaephnthwipnn khnathiaephnmhasmuthrmudtwlngswnprakxbthiepnkhxngehlwaelasarraehytang echn nahruxkharbxnidxxkisdthukkhwamrxnthaihraehyklayepnixlxykhunsuchnthanthrniphakh asthenosphere khxngaephnepluxkolkdanbnaelwrbkwnsmdulkhxngchnthanthrniphakhnnihekidphawaimesthiyrcnekidkarhlxmepnbangswnklayepnhinhlxmthicaekhluxntwkhunsuradbthitunkwatxip karaethrksxnkhxnghinxkhni intrusion echn hinaekrnitmwliphsal granitic batholiths mkmikaenidsxdkhlxngkbkrabwnkarkxethuxkekha karyktwkhxngaephnepluxkolk uplift karraebidkhxngphuekhaif volcanic activity khnanipkbaenwyxdekha swnmakeramkphbaenwkhxngphuekhaifthiprakxbdwyhin andesite rxnglukknsmuthr oceanic trench epnrxngaekhbluk phbxyutamkhxbdannxkkhxngaenwphuekhathiephingekidihm aetodythwipaelwrxngehlanimketimetmdwytakxncakphunthaelthithukkhrudmarwmkn karekidaephndinihw seismic activity inkrnikhxngkarmudtwkhxngaephnepluxkolkmhasumthritaephnthwip subduction eramkphbcudsunyklangkhxng aephndinihw thimiphlngmakaetxyuinradbtuniklkbrxnglukmhasmuthr trench aelacudsunyklangaephndinihwehlanikhxyluklngeruxytamaenwkhxngepluxkolkthimudtwlngcnthungradbluksudthi 700 kiolemtr aenwcudsunyklangaephndinihwthikhxyluklngtamrayahangcakrxnglukmhasmuthrnieriykwa Wadati Benioff Zone lksnaechphaakhxngkartkthbthmtakxn deposition phrxm kbkarkaenidphuekha odythwipcaphbhintakxnnatunbriewndaninkhxngaenwphuekha inkhnathiphbhintakxnnalukthisunyklangkhxngaenwkarmudtw aelacaknninchwngplaykhxngkrabwnkarhinkrwdmnaelahinthraycatksasmtwxnenuxngmacakkarkrxn erosion khxngaenwphuekhaethuxkekhaaelakaraebngekhtthangthrniwithya aekikherasamarthaebngaednethuxkekhaxxkepnekhttang tamlksna okhrngsrang withyahin aelaradbkaraeprsphaphkhxnghin odyekhttampraephthehlanixacepnbriewnediywknhruxsxnthbknepnbangswn dngnnkareriykchuxxyangthuktxngcachwyihnkthrniwithyaekidkhwamekhaicthitrngknid twxyangtxipniepnaednethuxkekhathiekidcakkarchnknrahwangaephnepluxkolkphakhphunthwipkbaephnepluxkolkphakhphunmhasmuthr ekhttamokhrngsrang Structural zones ekhttamwithyahin Lithologic zones ekhttamkaraeprsphaphkhxnghin Metamorphic zones bthsrup aekikhklawodysrupaelwphuekhahruxethuxkekhaepnphlcakkrabwnkarthiekiywenuxngkbthrniaeprsnthan plate tectonic aebbkarekhluxnthiekhapathaknkhxngaephnepluxkolk plate convergence idaek karchnknkhxngaephnthwip continental collision aelakarmudtwkhxngaephnepluxkolk subduction singodythwipaelwmkepnkarmudtwkhxngaephnmhasmuthrlngitaephnepluxkolkenuxngcakaephnmhasmuthrmikhwamhnaaennmakkwacungcmlngdanlangidngaykwa karsrangphuekhaprakxbdwykrabwnkarthangthrniwithyayxy xikechn karepliynlksna deformation karekidhinaepr metamorphism karyktwkhxngaephnepluxkolk uplift aelakarekidaephndinihw seismic activity epntnxangxing aekikhhttp www uwgb edu dutchs platetec orogeny htm http serc carleton edu NAGTWorkshops structure visualizations orogeny html http walrus wr usgs gov infobank programs html school keypage orogeny html http www geo ua edu intro03 deform htmlekhathungcak https th wikipedia org w index php title karkxethuxkekha amp oldid 9265094, wikipedia, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด,

บทความ

, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม