fbpx
วิกิพีเดีย

การผลิตยาปฏิชีวนะ

การผลิตยาปฏิชีวนะ (อังกฤษ: production of antibiotics) เป็นเรื่องที่ทำอย่างแพร่หลาย เริ่มตั้งแต่มีการค้นพบเบื้องต้นโดย ดร. เฮาวาร์ด วอลเตอร์ ฟลอเรย์ และเออร์นสต บอริส เชน ในปี ค.ศ. 1938 ซึ่งเป็นงานที่มีผลเป็นรางวัลโนเบลสาขาสรีรวิทยาหรือการแพทย์แก่นักวิจัยเหล่านี้ในปี ค.ศ. 1945 ความสำคัญของยาปฏิชีวนะต่อการแพทย์ ทำให้เกิดงานวิจัยมากมายเพื่อการค้นพบ/ค้นหาและการผลิต

การหายาที่มีประโยชน์

 
จานเลี้ยงจุลินทรีย์

แม้ว่าจะมียาปฏิชีวนะที่รู้จักมากมาย แต่ว่า 1% ของยาปฏิชีวนะเท่านั้น มีค่าทางการแพทย์หรือทางการค้า ยกตัวอย่างเช่น เพนิซิลลินมีค่าการรักษา (therapeutic index) สูง เพราะว่าไม่มีพิษต่อเซลล์มนุษย์ แต่ว่า ยาปฏิชีวนะส่วนมากไม่ได้มีคุณสมบัติเยี่ยงนี้ ส่วนยาปฏิชีวนะที่ใช้ได้บางพวก อาจจะไม่มีข้อดีเหนือกว่ายาที่นิยมใช้กันอยู่แล้ว และอาจจะไม่สามารถประยุกต์ใช้ได้ในกิจอื่น ๆ

ยาปฏิชีวนะที่มีประโยชน์ บ่อยครั้งค้นพบโดยใช้กระบวนการตรวจคัด (screening process) ซึ่งเริ่มตั้งแต่การเพาะเลี้ยงจุลินทรีย์หลายอย่างเฉพาะอย่าง ๆ แล้วตรวจสอบว่า มีการผลิตสารแพร่กระจายอะไรหรือไม่ ที่ห้ามการเจริญเติบโตของจุลินทรีย์ที่เป็นเป้าหมาย แต่ยาปฏิชีวนะที่พบโดยวิธีนี้โดยมาก จะมีการค้นพบมาก่อนแล้ว ดังนั้น จึงใช้ไม่ได้ ส่วนที่เหลือก็จะต้องตรวจว่ามีพิษอะไรบ้าง และรักษาโรคได้ดีไหม สารที่ดูดีที่สุดก็จะได้รับการตรวจสอบต่อไป หรือแม้แต่เปลี่ยนแปลงปรับปรุง

ส่วนวิธีคล้ายกันที่ทำในปัจจุบันเป็นแบบโปรแกรม Rational drug design (การออกแบบยาแบบมีเหตุผล) ซึ่งเป็นการตรวจคัดเพื่อหาผลิตภัณฑ์ธรรมชาติ ที่เป็นตัวยับยั้งสารเป้าหมายบางอย่างโดยเฉพาะ เช่นยับยั้งเอนไซม์ที่พบแต่ในจุลชีพก่อโรค แทนที่จะตรวจสอบการห้ามการเจริญเติบโตของจุลชีพเป้าหมายที่เพาะเลี้ยงทั้งหมด

เทคนิคการผลิตระดับอุตสาหกรรม

ข้อมูลเพิ่มเติม: การหมักอุตสาหกรรม

ยาปฏิชีวนะผลิตในระดับอุตสาหกรรม จะผ่านกระบวนการหมักที่เพาะเลี้ยงจุลินทรีย์ต้นผลิตในภาชนะขนาดใหญ่ (100,000-150,000 ลิตรหรือยิ่งกว่า) ที่มีอาหารเลี้ยงเชื้อ ปัจจัยต่าง ๆ เช่นออกซิเจน อุณหภูมิ พีเอช และสารอาหาร ต้องอยู่ในระดับที่เหมาะที่สุด ซึ่งต้องคอยตรวจตราและปรับปรุงถ้าจำเป็น เนื่องจากยาปฏิชีวนะเป็นสารเมแทบอไลต์ทุติยภูมิ (secondary metabolite) ขนาดประชากรของจุลินทรีย์ต้องควบคุมอย่างระมัดระวัง เพื่อให้ได้ผลผลิตระดับสูงสุดก่อนที่จุลชีพจะตาย ต่อจากนั้น ก็ต้องสกัดยาปฏิชีวินะแล้วทำให้บริสุทธิ์ ไปเป็นสารผลึก ซึ่งจะเป็นเรื่องง่ายถ้ายาละลายในตัวทำละลายอินทรีย์ได้ แต่ถ้าไม่ได้ ก็จะต้องสกัดออกโดยวิธีการแลกเปลี่ยนไอออน (ion exchange) การดูดซับ (adsorption) หรือการตกตะกอน (precipitation)

สายเชื้อที่ใช้ในการผลิต

จุลินทรีย์ที่ใช้ในการหมัก แทบจะไม่เคยเหมือนที่มีอยู่ตามธรรมชาติ (พันธุ์ป่า) เพราะว่า สายเชื้อที่ใช้จะมีการเปลี่ยนแปลงทางพันธุกรรม (สิ่งมีชีวิตดัดแปลงพันธุกรรม) เพื่อจะให้ผลิตยาได้ในระดับสูงสุด โดยมักจะใช้วิธีการกลายพันธุ์ ซึ่งเริ่มโดยใช้สิ่งก่อการกลาย (mutagen) เช่น รังสีอัลตราไวโอเลต รังสีเอกซ์ หรือสารเคมีบางอย่าง การคัดเลือกและขยายสายพันธุ์ที่ให้ผลผลิตมากกว่าหลายชั่วยุค อาจสามารถเพิ่มผลผลิตได้เกินกว่า 20 เท่า อีกเทคนิคหนึ่งที่ใช้ในการเพิ่มผลผลิตก็คือ การขยายยีน (gene amplification) โดยสร้างก๊อปปี้ของยีนที่เข้ารหัสเอนไซม์ที่เกี่ยวข้องกับการผลิตยาปฏิชีวนะ แล้วใส่กลับเข้าไปในเซลล์ผ่านเวกเตอร์เช่นพลาสมิด เป็นเทคนิคที่ต้องทำพร้อม ๆ กันไป กับการตรวจสอบยาที่ผลิตได้ใหม่

เชิงอรรถและอ้างอิง

  • Baron, Samuel (1996). Medical Microbiology, 4th ed. The University of Texas Medical Branch at Galveston. ISBN 0-9631172-1-1.
  • Madigan, Michael; Martinko, John (editors) (2005). Brock Biology of Microorganisms (11th ed.). Prentice Hall. ISBN 0-13-144329-1.CS1 maint: multiple names: authors list (link) CS1 maint: extra text: authors list (link)

การผล, ตยาปฏ, วนะ, งกฤษ, production, antibiotics, เป, นเร, องท, ทำอย, างแพร, หลาย, เร, มต, งแต, การค, นพบเบ, องต, นโดย, ดร, เฮาวาร, วอลเตอร, ฟลอเรย, และเออร, นสต, บอร, เชน, ในป, 1938, งเป, นงานท, ผลเป, นรางว, ลโนเบลสาขาสร, รว, ทยาหร, อการแพทย, แก, กว, ยเหล, าน. karphlityaptichiwna xngkvs production of antibiotics epneruxngthithaxyangaephrhlay erimtngaetmikarkhnphbebuxngtnody dr ehaward wxletxr flxery aelaexxrnst bxris echn inpi kh s 1938 sungepnnganthimiphlepnrangwloneblsakhasrirwithyahruxkaraephthyaeknkwicyehlaniinpi kh s 1945 khwamsakhykhxngyaptichiwnatxkaraephthy thaihekidnganwicymakmayephuxkarkhnphb khnhaaelakarphlit enuxha 1 karhayathimipraoychn 2 ethkhnikhkarphlitradbxutsahkrrm 3 sayechuxthiichinkarphlit 4 echingxrrthaelaxangxingkarhayathimipraoychn aekikh caneliyngculinthriy aemwacamiyaptichiwnathiruckmakmay aetwa 1 khxngyaptichiwnaethann mikhathangkaraephthyhruxthangkarkha yktwxyangechn ephnisillinmikhakarrksa therapeutic index sung ephraawaimmiphistxesllmnusy aetwa yaptichiwnaswnmakimidmikhunsmbtieyiyngni swnyaptichiwnathiichidbangphwk xaccaimmikhxdiehnuxkwayathiniymichknxyuaelw aelaxaccaimsamarthprayuktichidinkicxun yaptichiwnathimipraoychn bxykhrngkhnphbodyichkrabwnkartrwckhd screening process sungerimtngaetkarephaaeliyngculinthriyhlayxyangechphaaxyang aelwtrwcsxbwa mikarphlitsaraephrkracayxairhruxim thihamkarecriyetibotkhxngculinthriythiepnepahmay aetyaptichiwnathiphbodywithiniodymak camikarkhnphbmakxnaelw dngnn cungichimid swnthiehluxkcatxngtrwcwamiphisxairbang aelarksaorkhiddiihm sarthidudithisudkcaidrbkartrwcsxbtxip hruxaemaetepliynaeplngprbprungswnwithikhlayknthithainpccubnepnaebbopraekrm Rational drug design karxxkaebbyaaebbmiehtuphl sungepnkartrwckhdephuxhaphlitphnththrrmchati thiepntwybyngsarepahmaybangxyangodyechphaa echnybyngexnismthiphbaetinculchiphkxorkh aethnthicatrwcsxbkarhamkarecriyetibotkhxngculchiphepahmaythiephaaeliyngthnghmdethkhnikhkarphlitradbxutsahkrrm aekikhkhxmulephimetim karhmkxutsahkrrm yaptichiwnaphlitinradbxutsahkrrm caphankrabwnkarhmkthiephaaeliyngculinthriytnphlitinphachnakhnadihy 100 000 150 000 litrhruxyingkwa thimixahareliyngechux pccytang echnxxksiecn xunhphumi phiexch aelasarxahar txngxyuinradbthiehmaathisud sungtxngkhxytrwctraaelaprbprungthacaepn enuxngcakyaptichiwnaepnsaremaethbxiltthutiyphumi secondary metabolite khnadprachakrkhxngculinthriytxngkhwbkhumxyangramdrawng ephuxihidphlphlitradbsungsudkxnthiculchiphcatay txcaknn ktxngskdyaptichiwinaaelwthaihbrisuththi ipepnsarphluk sungcaepneruxngngaythayalalayintwthalalayxinthriyid aetthaimid kcatxngskdxxkodywithikaraelkepliynixxxn ion exchange kardudsb adsorption hruxkartktakxn precipitation sayechuxthiichinkarphlit aekikhculinthriythiichinkarhmk aethbcaimekhyehmuxnthimixyutamthrrmchati phnthupa ephraawa sayechuxthiichcamikarepliynaeplngthangphnthukrrm singmichiwitddaeplngphnthukrrm ephuxcaihphlityaidinradbsungsud odymkcaichwithikarklayphnthu sungerimodyichsingkxkarklay mutagen echn rngsixltraiwoxelt rngsiexks hruxsarekhmibangxyang karkhdeluxkaelakhyaysayphnthuthiihphlphlitmakkwahlaychwyukh xacsamarthephimphlphlitidekinkwa 20 etha xikethkhnikhhnungthiichinkarephimphlphlitkkhux karkhyayyin gene amplification odysrangkxppikhxngyinthiekharhsexnismthiekiywkhxngkbkarphlityaptichiwna aelwisklbekhaipinesllphanewketxrechnphlasmid epnethkhnikhthitxngthaphrxm knip kbkartrwcsxbyathiphlitidihmechingxrrthaelaxangxing aekikh ephschkrrmBaron Samuel 1996 Medical Microbiology 4th ed The University of Texas Medical Branch at Galveston ISBN 0 9631172 1 1 Madigan Michael Martinko John editors 2005 Brock Biology of Microorganisms 11th ed Prentice Hall ISBN 0 13 144329 1 CS1 maint multiple names authors list link CS1 maint extra text authors list link ekhathungcak https th wikipedia org w index php title karphlityaptichiwna amp oldid 7527687, wikipedia, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด,

บทความ

, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม