fbpx
วิกิพีเดีย

การวัดตำแหน่งดาว

การวัดตำแหน่งดาว หรือ วิชาวัดตำแหน่งดาว (อังกฤษ: Astrometry) เป็นสาขาวิชาหนึ่งของดาราศาสตร์ เกี่ยวข้องกับการตรวจวัดและการอธิบายตำแหน่งและการเคลื่อนที่ของดวงดาวหรือวัตถุท้องฟ้าอื่นๆ ข้อมูลจากการศึกษาในสาขานี้มีความสำคัญอย่างมากในปัจจุบันสำหรับงานวิจัยด้านจลนศาสตร์และจุดกำเนิดของระบบสุริยะ ตลอดจนดาราจักรทางช้างเผือกของเรา

ภาพประกอบของการใช้อินเตอร์เฟอโรมิเตอร์ในช่วงความยาวคลื่นแสงเพื่อตรวจสอบตำแหน่งที่แม่นยำของดาว ได้รับความอนุเคราะห์จาก NASA / JPL-Caltech

ประวัติ

ประวัติศาสตร์ของวิชาวัดตำแหน่งดาว เชื่อมโยงกับประวัติศาสตร์ของบัญชีรายชื่อดาวฤกษ์ ซึ่งทำให้นักดาราศาสตร์สามารถอ้างอิงกับวัตถุในท้องฟ้า เพื่อให้สามารถติดตามความเคลื่อนไหวของวัตถุเหล่านั้นได้ ย้อนหลังไปถึงฮิปปาร์คอสผู้ซึ่งมีชีวิตอยู่ในช่วงประมาณ 190 BC ได้ใช้บัญชีรายชื่อดาวฤกษ์ของทิโมคาริส และอริสติลลอส รุ่นก่อนหน้าเขาและการค้นพบว่าโลกมีการหมุนควง

โปรแกรมช่วยในการศึกษา

  • Astrometrica
  • MPO (computer program)

ดูเพิ่ม

ท้องฟ้านั้นกว้างใหญ่กับเวลากลางคืน ยิ่งแถบชนบทที่ไม่ค่อยมีไฟส่องในเวลากลางคืน ทำให้เห็นดวงดาวชัดเจน เราไม่สามารถระบุตำแหน่งที่แน่นอนของดาว เพราะดาวมีเคลื่อนที่เร็วแบบจำเพาะหรือการเคลื่อนที่ของทรงกลมฟ้า ซึ่งมีการทดลองให้เราสามารถทำการทดลองเองได้ เป็นการสังเกตการณ์ดวงดาวบนท้องฟ้าด้วยตาเปล่า เป็นวิธีง่ายๆที่จะสามารถช่วยให้เราได้รู้ว่า แท้จริงแล้วบนท้องฟ้าที่เรามองเห็นนั้นมีดาว(ประมาณ)กี่ดวง โดยบทความของสสวท ซึ่งสามารถนำไปในการทดลองโดยใช้ตาเปล่ากับอุปกรณ์ที่ประดิษฐ์เองได้ง่ายๆ ดังนี้ วัสดุ-อุปกรณ์

1.กระดาษแข็ง ขนาด25ซม.×25ซม.

2.แผ่นไม้ ขนาด กว้าง4ซม×ยาว60ซม.

3.ไม้บรรทัด

4.กรรไกร

5.ลวดหนีบกระดาษ

6.เทปกาวใส

วิธีทำ

1.นำกระดาษแข็งขนาด 25ซม.×25ซม. มาเจาะช่องตรงกลางออกให้มีขนาดประมาณ 15ซม.×15ซม. ช่องว่างที่คล้ายหน้าต่างนี้จะใช้เป็นช่องสำหรับส่องเพื่อนับดาว

2.วัดความยาวจากปลายแผ่นไม้เข้ามาเป็นระยะ 10ซม. แล้วขีดเส้นเพือทำเครื่องหมายตำแหน่งดังกล่าวบนแผ่นไม้

3.ง้างปลายลวดหนีบกระดาษด้านหนึ่งให้เปิดออก และงอลวดหนีบกระดาษให้เป็นมุมฉาก(90องศา)ใช้เทปใสปิดทับปลายลวดด้านหนึ่งเข้ากับแผ่นไม้ที่ระยะ10ซม. และปิดเทปใสกับปลายลวดอีกด้านหนึ่งเข้ากับกระดาษแข็ง

4.นำอุปกรณ์ที่ประดิษฐ์ได้ไปใช้สังเกตดาว โดยพยายามเลือกบริเวณที่ไม่มีแสงไฟจากถนนหรือบ้านเรือนรบกวน เมื่อปรับสายตาให้ชินกับความมืดแล้วให้ถือปลายไม้ชิดกับดวงตาข้างหนึ่งแล้วสังเกตดาวผ่านช่องหน้าต่างที่เจาะไว้ นับดวงดาวที่สังเกตได้ภายในช่องหน้าต่าง บันทึกไว้

5.เลือกบริเวณที่จะนับดาวบริเวณอื่นอีก2แห่ง ทำเช่นเดียวกับข้อ4.แล้วบันทึกจำนวนดาวที่สังเกตได้ ซึ่งท่านจะได้ข้อมูลจำนวนดาวรวมทั้งหมด3บริเวณ

6.นำค่าของจำนวนดาวที่บันทึกได้ทั้ง3แห่งมาหาค่าเฉลี่ย แล้วนำค่าเฉลี่ยมาคูณด้วย 70 ก็จะได้จำนวนของดวงดาวโดยประมาณที่เราสามารถมองเห็นบนท้องฟ้ายามค่ำคืน ตัวเลข70 มาจากไหน พื้นที่ทั้งหมดบนท้องฟ้ารอบตัวเรามีลักษณะเป็นทรงกลม เมื่อเราใช้อุปกรณ์สำหรับส่องเพื่อนับดาว นั่นหมายถึงเราส่องดูแค่ส่วนหนึ่งของทรงกลมเท่านั้น ถ้าให้ความยาวของแผ่นไม้เป็นรัศมี(R)ของทรงกลมที่เราจะสามารถมองเห็นดาวบนท้องฟ้าได้ทั้งหมด ดังนั้น พื้นที่ผิวทรงกลม=4πr^2 = 4×50×50 =31429 ตารางเซนติเมตร พื้นที่ของช่องหน้าต่างที่เราใช้ส่องดาว=15×15=225ตาราเซนติเมตร ดังนั้น ต้องใช้อุปกรณ์ส่องดาวจำนวนประมาณ = 140อัน จึงจะส่องดาวได้เต็มพื้นที่ผิวทรงกลม แต่เราสามารถมองเห็นท้องฟ้าได้เพียงครึ่งวงกลม(อีกครึ่งนึงอยู่ใต้เท้าไม่สามารถมองเห็นได้) ดังนั้น จึงต้องใช้อุปกรณ์ส่องดาวจำนวน =70อัน จึงจะเห็นดาวทั้งครึ่งทรงกลมได้

 
อุปกรณ์นับดาว
 ด้วยเหตุผลนี้ เมื่อเราใช้อุปกรณ์ส่องดาวตามที่ประดิษฐ์ได้ จึงต้องนำจำนวนดาวเฉลี่ยมาคูณด้วย70จึงจะเทียบเท่ากับจำนวนดาวบนท้องฟ้า(โดยประมาณ)ที่เรามองเห็นได้ 

อ้างอิง

อ้างอิง

หนังสืออ่านเพิ่ม

  • Kovalevsky, Jean (2004). Fundamentals of Astrometry. Cambridge University Press. ISBN 0-521-64216-7. Unknown parameter |coauthor= ignored (|author= suggested) (help)
  • Walter, Hans G. (2000). Astrometry of fundamental catalogues: the evolution from optical to radio reference frames. New York: Springer. ISBN 3540674365.
  • Kovalevsky, Jean (1995). Modern Astrometry. Berlin; New York: Springer. ISBN 354042380X.

แหล่งข้อมูลอื่น

การว, ดตำแหน, งดาว, หร, ชาว, ดตำแหน, งดาว, งกฤษ, astrometry, เป, นสาขาว, ชาหน, งของดาราศาสตร, เก, ยวข, องก, บการตรวจว, ดและการอธ, บายตำแหน, งและการเคล, อนท, ของดวงดาวหร, อว, ตถ, องฟ, าอ, นๆ, อม, ลจากการศ, กษาในสาขาน, ความสำค, ญอย, างมากในป, จจ, นสำหร, บงานว, ย. karwdtaaehnngdaw hrux wichawdtaaehnngdaw xngkvs Astrometry epnsakhawichahnungkhxngdarasastr ekiywkhxngkbkartrwcwdaelakarxthibaytaaehnngaelakarekhluxnthikhxngdwngdawhruxwtthuthxngfaxun khxmulcakkarsuksainsakhanimikhwamsakhyxyangmakinpccubnsahrbnganwicydanclnsastraelacudkaenidkhxngrabbsuriya tlxdcndarackrthangchangephuxkkhxngeraphaphprakxbkhxngkarichxinetxrefxormietxrinchwngkhwamyawkhlunaesngephuxtrwcsxbtaaehnngthiaemnyakhxngdaw idrbkhwamxnuekhraahcak NASA JPL Caltech enuxha 1 prawti 2 opraekrmchwyinkarsuksa 3 duephim 4 xangxing 4 1 hnngsuxxanephim 5 aehlngkhxmulxunprawti aekikhprawtisastrkhxngwichawdtaaehnngdaw echuxmoyngkbprawtisastrkhxngbychiraychuxdawvks sungthaihnkdarasastrsamarthxangxingkbwtthuinthxngfa ephuxihsamarthtidtamkhwamekhluxnihwkhxngwtthuehlannid yxnhlngipthunghipparkhxsphusungmichiwitxyuinchwngpraman 190 BC idichbychiraychuxdawvkskhxngthiomkharis aelaxristillxs runkxnhnaekhaaelakarkhnphbwaolkmikarhmunkhwngopraekrmchwyinkarsuksa aekikhAstrometrica MPO computer program duephim aekikhdawethiymhipparkhxs khxngxngkhkarxwkasyuorp karnbcanwndawdwytaeplathxngfannkwangihykbewlaklangkhun yingaethbchnbththiimkhxymiifsxnginewlaklangkhun thaihehndwngdawchdecn eraimsamarthrabutaaehnngthiaennxnkhxngdaw ephraadawmiekhluxnthierwaebbcaephaahruxkarekhluxnthikhxngthrngklmfa sungmikarthdlxngiherasamarththakarthdlxngexngid epnkarsngektkarndwngdawbnthxngfadwytaepla epnwithingaythicasamarthchwyiheraidruwa aethcringaelwbnthxngfathieramxngehnnnmidaw praman kidwng odybthkhwamkhxngsswth sungsamarthnaipinkarthdlxngodyichtaeplakbxupkrnthipradisthexngidngay dngni wsdu xupkrn1 kradasaekhng khnad25sm 25sm 2 aephnim khnad kwang4sm yaw60sm 3 imbrrthd4 krrikr5 lwdhnibkradas6 ethpkawiswithitha1 nakradasaekhngkhnad 25sm 25sm maecaachxngtrngklangxxkihmikhnadpraman 15sm 15sm chxngwangthikhlayhnatangnicaichepnchxngsahrbsxngephuxnbdaw2 wdkhwamyawcakplayaephnimekhamaepnraya 10sm aelwkhidesnephuxthaekhruxnghmaytaaehnngdngklawbnaephnim3 ngangplaylwdhnibkradasdanhnungihepidxxk aelangxlwdhnibkradasihepnmumchak 90xngsa ichethpispidthbplaylwddanhnungekhakbaephnimthiraya10sm aelapidethpiskbplaylwdxikdanhnungekhakbkradasaekhng4 naxupkrnthipradisthidipichsngektdaw odyphyayameluxkbriewnthiimmiaesngifcakthnnhruxbaneruxnrbkwn emuxprbsaytaihchinkbkhwammudaelwihthuxplayimchidkbdwngtakhanghnungaelwsngektdawphanchxnghnatangthiecaaiw nbdwngdawthisngektidphayinchxnghnatang bnthukiw5 eluxkbriewnthicanbdawbriewnxunxik2aehng thaechnediywkbkhx4 aelwbnthukcanwndawthisngektid sungthancaidkhxmulcanwndawrwmthnghmd3briewn6 nakhakhxngcanwndawthibnthukidthng3aehngmahakhaechliy aelwnakhaechliymakhundwy 70 kcaidcanwnkhxngdwngdawodypramanthierasamarthmxngehnbnthxngfayamkhakhun twelkh70 macakihn phunthithnghmdbnthxngfarxbtweramilksnaepnthrngklm emuxeraichxupkrnsahrbsxngephuxnbdaw nnhmaythungerasxngduaekhswnhnungkhxngthrngklmethann thaihkhwamyawkhxngaephnimepnrsmi R khxngthrngklmthieracasamarthmxngehndawbnthxngfaidthnghmd dngnn phunthiphiwthrngklm 4pr 2 4 50 50 31429 tarangesntiemtr phunthikhxngchxnghnatangthieraichsxngdaw 15 15 225taraesntiemtr dngnn txngichxupkrnsxngdawcanwnpraman 140xn cungcasxngdawidetmphunthiphiwthrngklm aeterasamarthmxngehnthxngfaidephiyngkhrungwngklm xikkhrungnungxyuitethaimsamarthmxngehnid dngnn cungtxngichxupkrnsxngdawcanwn 70xn cungcaehndawthngkhrungthrngklmid xupkrnnbdaw dwyehtuphlni emuxeraichxupkrnsxngdawtamthipradisthid cungtxngnacanwndawechliymakhundwy70cungcaethiybethakbcanwndawbnthxngfa odypraman thieramxngehnid xangxing 1 2 3 xangxing aekikh http thaiastro nectec or th http www lesa biz astronomy celestial sphere celestial motion http earthscience ipst ac th p 61813 hnngsuxxanephim aekikh Kovalevsky Jean 2004 Fundamentals of Astrometry Cambridge University Press ISBN 0 521 64216 7 Unknown parameter coauthor ignored author suggested help Walter Hans G 2000 Astrometry of fundamental catalogues the evolution from optical to radio reference frames New York Springer ISBN 3540674365 Kovalevsky Jean 1995 Modern Astrometry Berlin New York Springer ISBN 354042380X aehlngkhxmulxun aekikhhttp ad usno navy mil Astrometry Department of the U S Naval Observatory Hall of Precision Astrometry University of Virginia Department of Astronomy subkhnemux 2006 08 10 http www nasa gov vision universe solarsystem planet like body html http www space com scienceastronomy quaoar discovery 021007 html http www gps caltech edu mbrown Mike Brown s Caltech Home Page http www gps caltech edu 7Embrown papers ps sedna pdf Scientific Paper describing Sedna s discovery http www rssd esa int index php project HIPPARCOS bthkhwamekiywkbdarasastrhruxckrwalwithyaniyngepnokhrng khunsamarthchwywikiphiediyidodyephimkhxmul duephimthi sthaniyxy darasastrekhathungcak https th wikipedia org w index php title karwdtaaehnngdaw amp oldid 7183215, wikipedia, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด,

บทความ

, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม