fbpx
วิกิพีเดีย

ทฤษฎีอะตอม

ในวิชาเคมีและฟิสิกส์ ทฤษฎีอะตอมคือทฤษฎีที่ว่าด้วยธรรมชาติของสสาร ซึ่งกล่าวว่า สสารทุกชนิดประกอบด้วยหน่วยเล็กๆ ที่เรียกว่า อะตอม ซึ่งตรงกันข้ามกับแนวคิดดั้งเดิมที่แบ่งสสารออกเป็นหน่วยเล็กหลายชนิดตามแต่อำเภอใจ แนวคิดนี้เริ่มต้นเป็นแนวคิดเชิงปรัชญาของชาวกรีกโบราณ (ดีโมครีตุส) และชาวอินเดีย ต่อมาได้เข้ามาสู่วิทยาศาสตร์กระแสหลักในช่วงต้นคริสต์ศตวรรษที่ 19 เมื่อมีการค้นพบในสาขาวิชาเคมีซึ่งพิสูจน์ว่า พฤติกรรมของสสารนั้นดูเหมือนมันประกอบขึ้นด้วยอนุภาคขนาดเล็ก

คำว่า "อะตอม" (จากคำกริยาในภาษากรีกโบราณว่า atomos, 'แบ่งแยกไม่ได้') ถูกนำมาใช้เรียกอนุภาคพื้นฐานที่ประกอบกันขึ้นเป็นธาตุเคมี เพราะนักเคมีในยุคนั้นเชื่อว่ามันคืออนุภาคมูลฐานของสสาร อย่างไรก็ดี เมื่อเข้าสู่คริสต์ศตวรรษที่ 20 การทดลองจำนวนมากเกี่ยวกับแม่เหล็กไฟฟ้าและสารกัมมันตรังสี ทำให้นักฟิสิกส์ค้นพบว่าสิ่งที่เราเรียกว่า "อะตอมซึ่งแบ่งแยกไม่ได้อีก" นั้นที่จริงแล้วยังประกอบไปด้วยอนุภาคที่เล็กกว่าอะตอมอีกจำนวนมาก (ตัวอย่างเช่น อิเล็กตรอน โปรตอน และนิวตรอน) ซึ่งสามารถแยกแยะออกจากกันได้ อันที่จริงแล้วในสภาวะแวดล้อมสุดโต่งดังเช่นดาวนิวตรอนนั้น อุณหภูมิและความดันที่สูงอย่างยิ่งยวดกลับทำให้อะตอมไม่สามารถดำรงอยู่ได้เลยด้วยซ้ำ เมื่อพบว่าแท้จริงแล้วอะตอมยังแบ่งแยกได้ ในภายหลังนักฟิสิกส์จึงคิดค้นคำว่า "อนุภาคมูลฐาน" (elementary particle) เพื่อใช้อธิบายถึงอนุภาคที่แบ่งแยกไม่ได้ วิทยาศาสตร์ที่ศึกษาเกี่ยวกับอนุภาคที่เล็กกว่าอะตอมนี้เรียกว่า ฟิสิกส์อนุภาค (particle physics) ซึ่งนักฟิสิกส์ในสาขานี้หวังว่าจะสามารถค้นพบธรรมชาติพื้นฐานที่แท้จริงของอะตอมได้

อ้างอิง

  1. Berryman, Sylvia (2008). Edward N. Zalta (บ.ก.). Ancient Atomism, The Stanford Encyclopedia of Philosophy.

แหล่งข้อมูลอื่น

  • แนวคิดนิยมอะตอม โดย S. Mark Cohen.
  • ทฤษฎีอะตอม - ข้อมูลโดยละเอียดเกี่ยวกับทฤษฎีอะตอม โดยเฉพาะที่เกี่ยวกับอิเล็กตรอนและไฟฟ้า

ทฤษฎ, อะตอม, ในว, ชาเคม, และฟ, กส, อทฤษฎ, าด, วยธรรมชาต, ของสสาร, งกล, าวว, สสารท, กชน, ดประกอบด, วยหน, วยเล, กๆ, เร, ยกว, อะตอม, งตรงก, นข, ามก, บแนวค, ดด, งเด, มท, แบ, งสสารออกเป, นหน, วยเล, กหลายชน, ดตามแต, อำเภอใจ, แนวค, ดน, เร, มต, นเป, นแนวค, ดเช, งปร, ช. inwichaekhmiaelafisiks thvsdixatxmkhuxthvsdithiwadwythrrmchatikhxngssar sungklawwa ssarthukchnidprakxbdwyhnwyelk thieriykwa xatxm sungtrngknkhamkbaenwkhiddngedimthiaebngssarxxkepnhnwyelkhlaychnidtamaetxaephxic aenwkhidnierimtnepnaenwkhidechingprchyakhxngchawkrikobran diomkhritus aelachawxinediy txmaidekhamasuwithyasastrkraaeshlkinchwngtnkhriststwrrsthi 19 emuxmikarkhnphbinsakhawichaekhmisungphisucnwa phvtikrrmkhxngssarnnduehmuxnmnprakxbkhundwyxnuphakhkhnadelkkhawa xatxm cakkhakriyainphasakrikobranwa atomos aebngaeykimid 1 thuknamaicheriykxnuphakhphunthanthiprakxbknkhunepnthatuekhmi ephraankekhmiinyukhnnechuxwamnkhuxxnuphakhmulthankhxngssar xyangirkdi emuxekhasukhriststwrrsthi 20 karthdlxngcanwnmakekiywkbaemehlkiffaaelasarkmmntrngsi thaihnkfisikskhnphbwasingthieraeriykwa xatxmsungaebngaeykimidxik nnthicringaelwyngprakxbipdwyxnuphakhthielkkwaxatxmxikcanwnmak twxyangechn xielktrxn oprtxn aelaniwtrxn sungsamarthaeykaeyaxxkcakknid xnthicringaelwinsphawaaewdlxmsudotngdngechndawniwtrxnnn xunhphumiaelakhwamdnthisungxyangyingywdklbthaihxatxmimsamarthdarngxyuidelydwysa emuxphbwaaethcringaelwxatxmyngaebngaeykid inphayhlngnkfisikscungkhidkhnkhawa xnuphakhmulthan elementary particle ephuxichxthibaythungxnuphakhthiaebngaeykimid withyasastrthisuksaekiywkbxnuphakhthielkkwaxatxmnieriykwa fisiksxnuphakh particle physics sungnkfisiksinsakhanihwngwacasamarthkhnphbthrrmchatiphunthanthiaethcringkhxngxatxmidxangxing aekikh Berryman Sylvia 2008 Edward N Zalta b k Ancient Atomism The Stanford Encyclopedia of Philosophy aehlngkhxmulxun aekikhaenwkhidniymxatxm ody S Mark Cohen thvsdixatxm khxmulodylaexiydekiywkbthvsdixatxm odyechphaathiekiywkbxielktrxnaelaiffaekhathungcak https th wikipedia org w index php title thvsdixatxm amp oldid 5823672, wikipedia, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด,

บทความ

, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม