fbpx
วิกิพีเดีย

การเกิดเอ็มบริโอ

การเกิดเอ็มบริโอ (อังกฤษ: Embryogenesis) เริ่มหลังจากปฏิสนธิได้ไซโกตแล้ว ไซโกตจะแบ่งตัวแบบไมโทซิสจาก 1 เป็น 2 และจาก 2 เป็น 4 ไปเรื่อยๆจนได้เป็นเอ็มบริโอที่เป็นกลุ่มของเซลล์ที่เป็นก้อน จากนั้นเอ็มบริโอจะมีการเจริญไปเป็นระยะต่างๆ

การแบ่งตัวระหว่างการเจริญของเอ็มบริโอ

การเกิดเป็นบลาสตูลา

การเกิดเป็นบลาสตูลา เอ็มบริโอในระยะที่เป็นทรงลูกบอลทึบตันนี้จะจัดตัวเป็นบลาสตูลา (blastula) ซึ่งเป็นก้อนกลม ภายในกลวง บรรจุของเหลวต่างๆ ช่องกลวงนี้เรียกว่า บลาสโตซีล (blastocoel) การแบ่งตัวจากไซโกตเซลล์เดียวไปเป็นเอ็มบริโอที่มีหลายเซลล์นั้นเกี่ยวข้องกับการกำหนดอวัยวะในพัฒนาการขั้นต่อไป ทั้งนี้สารเคมีควบคุมการเจริญต่างๆในไซโทพลาสซึมของไซโกตจะกระจายไปยังส่วนต่างๆของเอ็มบริโอ ซึ่งทำให้มีการกำหนดการพัฒนาไปเป็นอวัยวะต่อไป

ในมนุษย์ ระยะที่เป็นบลาสตูลานี้เป็นระยะที่จะฝังตัวที่เยื่อบุมดลูกของแม่ จากนั้น เซลล์ชั้นนอกของเอ็มบริโอที่เรียกโทรโพบลาสต์ (Trophoblast) จะเปลี่ยนแปลงไปเป็นรก (Placenta) ซึ่งจะเป็นที่ที่ส่งอาหารและรับของเสียจากตัวอ่อนที่จะพัฒนาต่อไป โดยจะเชื่อมต่อกับเส้นเลือดแดงและเส้นเลือดดำของแม่ รกที่พัฒนาขึ้นนี้จะสร้างฮอร์โมนที่เรียกว่า Human chorionic gonadotropin (HCG) ซึ่งจะกระตุ้นให้คอร์ปัส ลูเทียมสร้างฮอร์โมนเอสโตรเจนและโปรเจสเตอโรนต่อไปอีก 3 เดือน ไม่เกิดเป็นประจำเดือน

แกสตรูเลชัน

แกสตรูเลชัน (gastrulation) เป็นขั้นตอนสำคัญที่ทำให้เกิดการกำหนดเนื้อเยื่อสามชั้นในขั้นตอนต่อมา กลไกการเกิดแกสตรูเลชันต่างกันไปในแต่ละสปีชีส์ ซึ่งมีขั้นตอนโดยทั่วไปเริ่มจาก บลาสตูลามีการแบ่งเป็นสองส่วนไม่เท่ากัน ด้านที่มีขนาดเล็กเรียกอะนิมอล โพล (animal pole) ด้านที่มีขนาดใหญ่เรียก เวเกตอล โพล (vegetal pole) เซลล์บริเวณที่จะพัฒนาไปเป็นเอ็นโดเดิร์ม (endoderm อยู่ด้านล่าง) เจริญยืดยาวเข้าไปในส่วนที่เป็นช่องว่างภายใน ส่วนเซลล์ที่จะไปเป็นเอกโตเดิร์ม (ectoderm อยู่ด้านบน) จะขยายตัวออกคลุมส่วนที่เป็นเอ็นโดเดิร์ม ส่วนเซลล์ที่จะไปเป็นมีโซเดิร์ม (mesoderm อยู่ระหว่างเซลล์ 2 ชั้นทั้งซ้ายขวา) จะขยายตัวออกแทรกไประหว่างเซลล์ทั้งสองชั้น สุดท้ายจะได้บลาสโตพอร์ที่เป็นช่องเข้าสู่ช่องว่างภายในชั้นเอนโดเดิร์ม ส่วนที่เป็นเอ็นโดเดิร์มเจริญยืดยาวและม้วนตัวเป็นช่อง ซึ่งจะเป็นช่องว่างของระบบย่อยอาหารต่อไปเรียกอาร์เคนเทอรอน (archenteron) ส่วนที่เป็นเอกโตเดิร์มแบ่งตัวคลุมส่วนที่เป็นเอ็นโดเดิร์มจนมิด ส่วนที่จะเป็นเอ็นโดเดิร์มนั้นเจริญแทรกไประหว่างส่วนทั้งสอง เมื่อแกสตรูเลชั่นเสร็จสิ้นลง เนื้อเยื่อเอ็มบริโอจะเห็นเป็นสามช่องอย่างชัดเจน คือเอกโตเดิร์มอยู่นอกสุด มีโซเดิร์มอยู่ตรงกลาง และเอ็นโดเดิร์มอยู่ด้านใน

การสร้างอวัยวะ

 
เอ็มบริโอของมนุษย์ อายุ 8-9 สัปดาห์ 38 mm

เมื่อเกิดเนื้อเยื่อทั้งสามชั้นขึ้นแล้ว ต่อจากนี้เซลล์ในแต่ละชั้นจะแบ่งตัวต่อไปเป็นอวัยวะดังนี้ เอกโตเดิร์มไปเป็นเนื้อเยื่อบุผิว ระบบประสาท มีโซเดิร์ม ไปเป็นกระดูกสันหลัง กล้ามเนื้อเรียบ กล้ามเนื้อลาย ระบบไหลเวียนเลือดและระบบสืบพันธุ์ เอ็นโดเดิร์ม ไปเป็นระบบทางเดินอาหาร ระบบหายใจ ตับ ตับอ่อน ต่อมไทรอยด์ ต่อมไทมัส ระบบขับถ่ายปัสสาวะและระบบสืบพันธุ์

อ้างอิง

  1. Cambell, N.A., Reece, J.B., Mitchell, L.G., Taylor, M.R. 2003. Biology: Concepts and Connection. 4th edition. Glenview: Benjamin Cumming.

แหล่งข้อมูลอื่น

  • Development of the embryo (retrieved November 20, 2007)
  • Human Embryo (retrieved November 20, 2007)
  • Video[ลิงก์เสีย] of embryogenesis of the frog Xenopus laevis from shortly after fertilization until the hatching of the tadpole; acquired by MRI (DOI of paper)

การเก, ดเอ, มบร, โอ, งกฤษ, embryogenesis, เร, มหล, งจากปฏ, สนธ, ได, ไซโกตแล, ไซโกตจะแบ, งต, วแบบไมโทซ, สจาก, เป, และจาก, เป, ไปเร, อยๆจนได, เป, นเอ, มบร, โอท, เป, นกล, มของเซลล, เป, นก, อน, จากน, นเอ, มบร, โอจะม, การเจร, ญไปเป, นระยะต, างๆการแบ, งต, วระหว, างก. karekidexmbriox xngkvs Embryogenesis erimhlngcakptisnthiidisoktaelw isoktcaaebngtwaebbimothsiscak 1 epn 2 aelacak 2 epn 4 iperuxycnidepnexmbrioxthiepnklumkhxngesllthiepnkxn caknnexmbrioxcamikarecriyipepnrayatangkaraebngtwrahwangkarecriykhxngexmbriox enuxha 1 karekidepnblastula 2 aekstruelchn 3 karsrangxwywa 4 xangxing 5 aehlngkhxmulxunkarekidepnblastula aekikhkarekidepnblastula exmbrioxinrayathiepnthrnglukbxlthubtnnicacdtwepnblastula blastula sungepnkxnklm phayinklwng brrcukhxngehlwtang chxngklwngnieriykwa blasotsil blastocoel karaebngtwcakisoktesllediywipepnexmbrioxthimihlayesllnnekiywkhxngkbkarkahndxwywainphthnakarkhntxip thngnisarekhmikhwbkhumkarecriytanginisothphlassumkhxngisoktcakracayipyngswntangkhxngexmbriox sungthaihmikarkahndkarphthnaipepnxwywatxipinmnusy rayathiepnblastulaniepnrayathicafngtwthieyuxbumdlukkhxngaem caknn esllchnnxkkhxngexmbrioxthieriykothrophblast Trophoblast caepliynaeplngipepnrk Placenta sungcaepnthithisngxaharaelarbkhxngesiycaktwxxnthicaphthnatxip odycaechuxmtxkbesneluxdaedngaelaesneluxddakhxngaem rkthiphthnakhunnicasranghxromnthieriykwa Human chorionic gonadotropin HCG sungcakratunihkhxrps luethiymsranghxromnexsotrecnaelaoprecsetxorntxipxik 3 eduxn imekidepnpracaeduxn 1 aekstruelchn aekikhaekstruelchn gastrulation epnkhntxnsakhythithaihekidkarkahndenuxeyuxsamchninkhntxntxma klikkarekidaekstruelchntangknipinaetlaspichis sungmikhntxnodythwiperimcak blastulamikaraebngepnsxngswnimethakn danthimikhnadelkeriykxanimxl ophl animal pole danthimikhnadihyeriyk ewektxl ophl vegetal pole esllbriewnthicaphthnaipepnexnodedirm endoderm xyudanlang ecriyyudyawekhaipinswnthiepnchxngwangphayin swnesllthicaipepnexkotedirm ectoderm xyudanbn cakhyaytwxxkkhlumswnthiepnexnodedirm swnesllthicaipepnmiosedirm mesoderm xyurahwangesll 2 chnthngsaykhwa cakhyaytwxxkaethrkiprahwangesllthngsxngchn sudthaycaidblasotphxrthiepnchxngekhasuchxngwangphayinchnexnodedirm swnthiepnexnodedirmecriyyudyawaelamwntwepnchxng sungcaepnchxngwangkhxngrabbyxyxahartxiperiykxarekhnethxrxn archenteron swnthiepnexkotedirmaebngtwkhlumswnthiepnexnodedirmcnmid swnthicaepnexnodedirmnnecriyaethrkiprahwangswnthngsxng emuxaekstruelchnesrcsinlng enuxeyuxexmbrioxcaehnepnsamchxngxyangchdecn khuxexkotedirmxyunxksud miosedirmxyutrngklang aelaexnodedirmxyudaninkarsrangxwywa aekikh exmbrioxkhxngmnusy xayu 8 9 spdah 38 mm emuxekidenuxeyuxthngsamchnkhunaelw txcakniesllinaetlachncaaebngtwtxipepnxwywadngni exkotedirmipepnenuxeyuxbuphiw rabbprasath miosedirm ipepnkraduksnhlng klamenuxeriyb klamenuxlay rabbihlewiyneluxdaelarabbsubphnthu exnodedirm ipepnrabbthangedinxahar rabbhayic tb tbxxn txmithrxyd txmithms rabbkhbthaypssawaaelarabbsubphnthuxangxing aekikh Cambell N A Reece J B Mitchell L G Taylor M R 2003 Biology Concepts and Connection 4th edition Glenview Benjamin Cumming aehlngkhxmulxun aekikhDevelopment of the embryo retrieved November 20 2007 Human Embryo retrieved November 20 2007 Video lingkesiy of embryogenesis of the frog Xenopus laevis from shortly after fertilization until the hatching of the tadpole acquired by MRI DOI of paper bthkhwamekiywkbchiwwithyaniyngepnokhrng khunsamarthchwywikiphiediyidodyephimkhxmulekhathungcak https th wikipedia org w index php title karekidexmbriox amp oldid 9559776, wikipedia, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด,

บทความ

, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม