fbpx
วิกิพีเดีย

กิจกรรมบำบัด

กิจกรรมบำบัด (อังกฤษ: Occupational Therapy) เป็นวิชาชีพทางวิทยาศาสตร์สุขภาพที่เกี่ยวข้องกับการส่งเสริมสุขภาพและความเป็นอยู่ที่ดีโดยอาศัยกิจกรรมเป็นสื่อ เป้าหมายเบื้องต้นของกิจกรรมบำบัด คือ การส่งเสริมให้บุคคลต่าง ๆ ไม่ว่าจะเป็นผู้ป่วย ผู้พิการทางกาย เด็กที่มีปัญหาด้านพัฒนาการหรือการเรียนรู้ ผู้ป่วยจิตเวช ผู้สูงอายุ ฯลฯ สามารถทำกิจกรรมต่าง ๆ ในชีวิตประจำวันได้อย่างเต็มความสามารถ ซึ่งนักกิจกรรมบำบัดจะต้องอาศัยความรู้หลาย ๆ ด้าน เพื่อช่วยลดข้อจำกัดทั้งทางร่างกาย จิตใจ และสังคมของบุคคลเหล่านั้น อีกทั้งยังอาจต้องช่วยปรับ/ให้คำแนะนำในการปรับสภาพแวดล้อม เพื่อช่วยให้พวกเขาสามารถทำกิจกรรมต่าง ๆ ในชีวิตประจำวันได้อย่างเต็มศักยภาพ ผู้ประกอบวิชาชีพกิจกรรมบำบัด ต้องสอบใบอนุญาตประกอบโรคศิลปะ สาขากิจกรรมบำบัดก่อน จึงจะสามารถปฏิบัติงานได้

กิจกรรมบำบัดในประเทศไทย

วิชาชีพกิจกรรมบำบัดเริ่มมีครั้งแรกในประเทศไทย ที่โรงพยาบาลสมเด็จเจ้าพระยา โดยในระยะแรกงานทางกิจกรรมบำบัดจะเน้นหนักไปในการใช้กิจกรรมตามบริบทท้องถิ่นและงานอาชีพในการรักษาคนไข้จิตเวชที่อยู่ในโรงพยาบาล ต่อมา ได้มีการขยายขอบเขตงานไปยังผู้ที่มีปัญหาทางด้านร่างกายที่ โรงพยาบาลศิริราช ในระยะแรกนี้ วิชาชีพกิจกรรมบำบัด ถูกเรียกว่า อาชีวบำบัด เนื่องจากมีการนำงานอาชีพมาใช้ในการรักษาค่อนข้างมาก

หลังจากนั้น ได้มีการเตรียมการเปิดโรงเรียนอาชีวบำบัดขึ้นในประเทศไทย ที่ คณะเทคนิคการแพทย์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ โดยนายแพทย์ เทอดชัย ชีวะเกตุ ทางมหาวิทยาลัยได้จัดส่งนักกายภาพบำบัด และ พยาบาล จำนวน 6 คนเพื่อไปศึกษาและฝึกปฏิบัติด้านกิจกรรมบำบัดยังประเทศเยอรมนี และประเทศสหรัฐอเมริกา ในช่วงการเตรียมตั้งภาควิชานี้เอง ได้มีการพิจารณา คำว่า อาชีวบำบัด นั้น อาจไม่ครอบคลุมถึงบทบาทของนักกิจกรรมบำบัดทั้งหมด จึงได้เริ่มมีการใช้คำว่า กิจกรรมบำบัด ขึ้น และ ภาควิชากิจกรรมบำบัดก่อตั้งขึ้นและเริ่มรับนักศึกษากิจกรรมบำบัดรุ่นแรกเข้าศึกษาตั้งแต่ปี พ.ศ. 2523 ต่อมาหลักสูตรกิจกรรมบำบัดได้เปิดขึ้นเป็นแห่งที่สองที่สาขากิจกรรมบำบัด คณะกายภาพบำบัด มหาวิทยาลัยมหิดล ซึ่งเริ่มเปิดรับนักศึกษาในปีการศึกษา พ.ศ. 2551

บทบาทนักกิจกรรมบำบัด

นักกิจกรรมบำบัดทำงานเกี่ยวข้องกับผู้ที่มีความบกพร่องหรือพิการทางร่างกาย จิตใจ การเรียนรู้ และการพัฒนาเด็ก โดยใช้กระบวนการประเมิน การบำบัดฟื้นฟู การส่งเสริม การป้องกัน ด้วยสื่อ เทคนิค และวิธีการทางกิจกรรมบำบัด เพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิตและทักษะความสามารถของการทำกิจกรรมการดำเนินชีวิต ได้แก่ การดูแลตนเอง การศึกษา การทำงาน การใช้เวลาว่าง การพักผ่อน และการเข้าสังคม ตาม

มาตรา 3 ในพระราชกฤษฎีกากำหนดให้สาขากิจกรรมบำบัดเป็นสาขาการประกอบโรคศิลปะตามพระราชบัญญัติการประกอบโรคศิลปะ พ.ศ. 2542 พ.ศ. 2545 ซึ่งปรับปรุงเป็นฉบับที่ 4 พ.ศ. 2556 ในปัจจุบัน

"กิจกรรมบำบัด" หมายความว่า การกระทำเกี่ยวกับความสามารถของบุคคลที่มีความบกพร่องทางด้านร่างกาย จิตใจ การเรียนรู้และการพัฒนาเกี่ยวกับเด็ก โดยกระบวนการตรวจ ประเมิน ส่งเสริม ป้องกันบำบัดและฟื้นฟูสมรรถภาพ ให้สามารถทำกิจกรรมต่าง ๆ ได้ เพื่อให้บุคคลดำเนินชีวิตได้ตามศักยภาพโดยการนำกิจกรรม วิธีการ และอุปกรณ์ที่เหมาะสมมาเป็นวิธีการในการบำบัด

มาตรา ๑๑ ผู้ขอขึ้นทะเบียนและรับใบอนุญาตเป็นผู้ประกอบโรคศิลปะสาขากิจกรรมบำบัดต้องมีความรู้ในวิชาชีพคือเป็นผู้ได้รับปริญญาหรือประกาศนียบัตรเทียบเท่าปริญญาสาขากิจกรรมบำบัดจากสถาบันการศึกษาที่คณะกรรมการวิชาชีพสาขากิจกรรมบำบัดรับรอง และต้องสอบความรู้ตามหลักเกณฑ์วิธีการ และเงื่อนไขที่คณะกรรมการวิชาชีพสาขากิจกรรมบำบัดกำหนด สำหรับผู้สำเร็จการศึกษาจากต่างประเทศซึ่งมิได้มีสัญชาติไทย ต้องได้รับอนุญาตให้ประกอบโรคศิลปะสาขากิจกรรมบำบัดจากประเทศที่สำเร็จการศึกษาด้วย

นักกิจกรรมบำบัดจึงทำงานในสถานที่ที่แตกต่างกันออกไป ได้แก่ โรงพยาบาลใหญ่ ๆ ทั้งของราชการและเอกชน โรงพยาบาลทางจิตเวช โรงเรียนเด็กพิเศษ ตลอดจนเป็นที่ปรึกษาทางวิชาการให้กับองค์กรต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกับการพัฒนาทักษะการทำกิจกรรมการดำเนินชีวิตตลอดทุกช่วงวัย

นักกิจกรรมบำบัดประเมินและออกแบบโปรแกรมที่มีลักษณะเฉพาะของผู้รับบริการ เน้นกรอบความคิดที่หลากหลายโดยครอบคลุมด้านบุคคล สิ่งแวดล้อม และการกระทำกิจกรรมที่มีเป้าหมาย มีคุณค่า และมีความสุข ตลอดจนการสร้างทักษะการจัดการตนเองในรูปแบบต่างๆ เช่น การจัดการความล้า การสงวนพลังงาน การจัดการความเครียด การจัดการกิจกรรมยามว่าง การฟื้นพลังชีวิต การพัฒนาทักษะทางจิตสังคม การพัฒนาทักษะทางการรู้คิด/ความคิดความเข้าใจ การพัฒนาทักษะชีวิต การพัฒนาสุขภาวะทางจิตวิญญาณ เป็นต้น รวมทั้งประเมินและประดิษฐ์อุปกรณ์ช่วย อุปกรณ์เสริม เครื่องดามมือ รวมทั้งการปรับเปลี่ยนสิ่งแวดล้อม

อ้างอิง

พระราชบัญญัติการประกอบโรคศิลปะ (ฉบับที่ 4) พ.ศ. 2556

มาตรฐานและแนวทางการประกอบโรคศิลปะทางวิชาชีพสาขากิจกรรมบำบัด

ศุภลักษณ์ เข็มทอง. กิจกรรมบำบัดพัฒนาชีวิต. กรุงเทพฯ: แสงดาว, 2551. ISBN 978-974-04-2782-7

Christiansen, CH, Baum, CM, Bass-Haugen, J. Occupational therapy: Performance, participation, and well-being (3rd ed.). Thorofare, NJ: SLACK Incorporated, 2005.

Roley SS, DeLany J V, Barrows CJ, Brownrigg S, DeLana H, Deanna IS, et al. Occupational therapy practice framework: Domain & process. Am J Occup Ther 2008; 62(6): 625-83.

ดูเพิ่ม

แหล่งข้อมูลอื่น

จกรรมบำบ, งก, ามภาษา, ในบทความน, ไว, ให, านและผ, วมแก, ไขบทความศ, กษาเพ, มเต, มโดยสะดวก, เน, องจากว, เด, ยภาษาไทยย, งไม, บทความด, งกล, าว, กระน, ควรร, บสร, างเป, นบทความโดยเร, วท, งกฤษ, occupational, therapy, เป, นว, ชาช, พทางว, ทยาศาสตร, ขภาพท, เก, ยวข, องก, . lingkkhamphasa inbthkhwamni miiwihphuxanaelaphurwmaekikhbthkhwamsuksaephimetimodysadwk enuxngcakwikiphiediyphasaithyyngimmibthkhwamdngklaw krann khwrribsrangepnbthkhwamodyerwthisudkickrrmbabd xngkvs Occupational Therapy epnwichachiphthangwithyasastrsukhphaphthiekiywkhxngkbkarsngesrimsukhphaphaelakhwamepnxyuthidiodyxasykickrrmepnsux epahmayebuxngtnkhxngkickrrmbabd khux karsngesrimihbukhkhltang imwacaepnphupwy phuphikarthangkay edkthimipyhadanphthnakarhruxkareriynru phupwycitewch phusungxayu l samarththakickrrmtang inchiwitpracawnidxyangetmkhwamsamarth sungnkkickrrmbabdcatxngxasykhwamruhlay dan ephuxchwyldkhxcakdthngthangrangkay citic aelasngkhmkhxngbukhkhlehlann xikthngyngxactxngchwyprb ihkhaaenanainkarprbsphaphaewdlxm ephuxchwyihphwkekhasamarththakickrrmtang inchiwitpracawnidxyangetmskyphaph phuprakxbwichachiphkickrrmbabd txngsxbibxnuyatprakxborkhsilpa sakhakickrrmbabdkxn cungcasamarthptibtinganid enuxha 1 kickrrmbabdinpraethsithy 2 bthbathnkkickrrmbabd 3 xangxing 4 duephim 5 aehlngkhxmulxunkickrrmbabdinpraethsithy aekikhwichachiphkickrrmbabderimmikhrngaerkinpraethsithy thiorngphyabalsmedcecaphraya odyinrayaaerknganthangkickrrmbabdcaennhnkipinkarichkickrrmtambribththxngthinaelanganxachiphinkarrksakhnikhcitewchthixyuinorngphyabal txma idmikarkhyaykhxbekhtnganipyngphuthimipyhathangdanrangkaythi orngphyabalsirirach inrayaaerkni wichachiphkickrrmbabd thukeriykwa xachiwbabd enuxngcakmikarnanganxachiphmaichinkarrksakhxnkhangmakhlngcaknn idmikaretriymkarepidorngeriynxachiwbabdkhuninpraethsithy thi khnaethkhnikhkaraephthy mhawithyalyechiyngihm odynayaephthy ethxdchy chiwaektu thangmhawithyalyidcdsngnkkayphaphbabd aela phyabal canwn 6 khnephuxipsuksaaelafukptibtidankickrrmbabdyngpraethseyxrmni aelapraethsshrthxemrika inchwngkaretriymtngphakhwichaniexng idmikarphicarna khawa xachiwbabd nn xacimkhrxbkhlumthungbthbathkhxngnkkickrrmbabdthnghmd cungiderimmikarichkhawa kickrrmbabd khun aela phakhwichakickrrmbabdkxtngkhunaelaerimrbnksuksakickrrmbabdrunaerkekhasuksatngaetpi ph s 2523 txmahlksutrkickrrmbabdidepidkhunepnaehngthisxngthisakhakickrrmbabd khnakayphaphbabd mhawithyalymhidl sungerimepidrbnksuksainpikarsuksa ph s 2551bthbathnkkickrrmbabd aekikhnkkickrrmbabdthanganekiywkhxngkbphuthimikhwambkphrxnghruxphikarthangrangkay citic kareriynru aelakarphthnaedk odyichkrabwnkarpraemin karbabdfunfu karsngesrim karpxngkn dwysux ethkhnikh aelawithikarthangkickrrmbabd ephuxphthnakhunphaphchiwitaelathksakhwamsamarthkhxngkarthakickrrmkardaeninchiwit idaek karduaeltnexng karsuksa karthangan karichewlawang karphkphxn aelakarekhasngkhm tammatra 3 inphrarachkvsdikakahndihsakhakickrrmbabdepnsakhakarprakxborkhsilpatamphrarachbyytikarprakxborkhsilpa ph s 2542 ph s 2545 sungprbprungepnchbbthi 4 ph s 2556 inpccubn kickrrmbabd hmaykhwamwa karkrathaekiywkbkhwamsamarthkhxngbukhkhlthimikhwambkphrxngthangdanrangkay citic kareriynruaelakarphthnaekiywkbedk odykrabwnkartrwc praemin sngesrim pxngknbabdaelafunfusmrrthphaph ihsamarththakickrrmtang id ephuxihbukhkhldaeninchiwitidtamskyphaphodykarnakickrrm withikar aelaxupkrnthiehmaasmmaepnwithikarinkarbabdmatra 11 phukhxkhunthaebiynaelarbibxnuyatepnphuprakxborkhsilpasakhakickrrmbabdtxngmikhwamruinwichachiphkhuxepnphuidrbpriyyahruxprakasniybtrethiybethapriyyasakhakickrrmbabdcaksthabnkarsuksathikhnakrrmkarwichachiphsakhakickrrmbabdrbrxng aelatxngsxbkhwamrutamhlkeknthwithikar aelaenguxnikhthikhnakrrmkarwichachiphsakhakickrrmbabdkahnd sahrbphusaerckarsuksacaktangpraethssungmiidmisychatiithy txngidrbxnuyatihprakxborkhsilpasakhakickrrmbabdcakpraethsthisaerckarsuksadwynkkickrrmbabdcungthanganinsthanthithiaetktangknxxkip idaek orngphyabalihy thngkhxngrachkaraelaexkchn orngphyabalthangcitewch orngeriynedkphiess tlxdcnepnthipruksathangwichakarihkbxngkhkrtang thiekiywkhxngkbkarphthnathksakarthakickrrmkardaeninchiwittlxdthukchwngwynkkickrrmbabdpraeminaelaxxkaebbopraekrmthimilksnaechphaakhxngphurbbrikar ennkrxbkhwamkhidthihlakhlayodykhrxbkhlumdanbukhkhl singaewdlxm aelakarkrathakickrrmthimiepahmay mikhunkha aelamikhwamsukh tlxdcnkarsrangthksakarcdkartnexnginrupaebbtang echn karcdkarkhwamla karsngwnphlngngan karcdkarkhwamekhriyd karcdkarkickrrmyamwang karfunphlngchiwit karphthnathksathangcitsngkhm karphthnathksathangkarrukhid khwamkhidkhwamekhaic karphthnathksachiwit karphthnasukhphawathangcitwiyyan epntn rwmthngpraeminaelapradisthxupkrnchwy xupkrnesrim ekhruxngdammux rwmthngkarprbepliynsingaewdlxmxangxing aekikhphrarachbyytikarprakxborkhsilpa chbbthi 4 ph s 2556matrthanaelaaenwthangkarprakxborkhsilpathangwichachiphsakhakickrrmbabdsuphlksn ekhmthxng kickrrmbabdphthnachiwit krungethph aesngdaw 2551 ISBN 978 974 04 2782 7Christiansen CH Baum CM Bass Haugen J Occupational therapy Performance participation and well being 3rd ed Thorofare NJ SLACK Incorporated 2005 Roley SS DeLany J V Barrows CJ Brownrigg S DeLana H Deanna IS et al Occupational therapy practice framework Domain amp process Am J Occup Ther 2008 62 6 625 83 duephim aekikhnkkickrrmbabd raychuxkhnashewchsastrinpraethsithyaehlngkhxmulxun aekikhekhathungcak https th wikipedia org w index php title kickrrmbabd amp oldid 8176256, wikipedia, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด,

บทความ

, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม