fbpx
วิกิพีเดีย

คลังข้อมูล

คลังข้อมูล (data warehouse) คือ ฐานข้อมูลขนาดยักษ์ ที่รวบรวมฐานข้อมูลจากหลายแหล่งหลายช่วงเวลา ซึ่งอาจมี schema แตกต่างกัน มาไว้รวม ณ ที่เดียวกัน (และใช้ schema เดียวกัน)

ความแตกต่างจากฐานข้อมูล

โดยปกติแล้ว ฐานข้อมูลในองค์กรทั่วไปจะมีลักษณะที่ค่อนข้างทันต่อเหตุการณ์ เช่น ฐานข้อมูลพนักงานก็จะเก็บเฉพาะพนักงานในปัจจุบัน จะไม่สนใจข้อมูลพนักงานเก่า ๆ ในอดีต ซึ่งอาจจะมีข้อมูลอะไรบางอย่าง ที่มีประโยชน์สำหรับผู้บริหาร ในการวิเคราะห์ประสิทธิภาพและคุณลักษณะต่าง ๆ ขององค์กร. นอกจากนี้ ฐานข้อมูลแต่ละอันมักถูกออกแบบมาใช้เก็บข้อมูลเฉพาะด้าน จึงมีข้อมูลเฉพาะบางส่วนขององค์กรเท่านั้น ฉะนั้นคลังข้อมูลจึงถูกออกแบบมา เพื่อรวบรวมข้อมูลในทุกส่วนของทั้งบริษัท ทั้งเก่าและใหม่ไว้ด้วยกัน ไม่มีการลบทิ้งข้อมูลเก่า ๆ ที่ไม่จริงในปัจจุบัน

โดยสรุปคือ

  • คลังข้อมูล (Data Warehouse) ใช้เพื่อการวิเคราะห์ (ข้อมูลทั้งอดีตและปัจจุบัน)
  • ฐานข้อมูล (Data Base) ใช้เพื่อทำการประมวลผล (เฉพาะข้อมูลปัจจุบัน)

ถ้าองค์กรมีคลังข้อมูลหลาย ๆ อันเพื่อใช้ในการวิเคราะห์ต่าง ๆ แตกต่างกันไป เช่น คลังข้อมูลด้านการเงิน และ คลังข้อมูลด้านทรัพยากรมนุษย์ เรามักเรียกคลังข้อมูลเฉพาะด้านเหล่านี้ว่า ตลาดข้อมูล (data marts)

อนึ่ง กระบวนการในการใช้ข้อมูลในคลังข้อมูลเพื่อการตัดสินใจ และวางแผนในทางธุรกิจ มักถูกเรียกว่า การบริหารธุรกิจอย่างชาญฉลาด (business intelligence).

ประเด็นที่ต้องพิจารณา

  • ในการรวมฐานข้อมูล อาจมีปัญหาว่าฐานข้อมูลแต่ละอัน อาจถูกออกแบบจากผู้ออกแบบหลายๆ คนทำให้มี schema แตกต่างกันไป (schema ในที่นี้หมายถึงการออกแบบ REA model ว่าจะมีกี่ตาราง แต่ละตารางเชื่อมกันอย่างไร มีอะไรเป็น primary key, foreign key เป็นต้น) ปัญหาใหญ่ก็คือจะนำฐานข้อมูลที่มีความแตกต่างกันมารวมกันได้อย่างไร
  • เมื่อรวมกันแล้วต้องการให้ schema ของคลังข้อมูลมีลักษณะแบบไหน. การออกแบบคลังข้อมูลโดยทั่วไป มักจะออกแบบตรงข้ามกับฐานข้อมูลอย่างสิ้นเชิง
    • การออกแบบฐานข้อมูลเรามักต้องการให้มี schema ที่ปรับปรุงได้ง่ายๆ (เพราะเราต้องประมวลผลบ่อย) คือในแต่ละตารางมี primary key น้อยๆ และมีตารางจำนวนมากเชื่อมต่อกัน นั่นคือใน REA model มักจะมีหลาย ๆ ตาราง
    • ในคลังข้อมูลเราต้องการให้เรียกข้อมูลที่ต้องการดู (query) ง่ายๆ และรวดเร็ว นอกจากนั้นเราไม่ค่อยได้แก้ไขปรับปรุงคลังข้อมูล จึงมักออกแบบให้มีตารางน้อยๆ schema ที่นิยมใช้ในคลังข้อมูลคือ star schema (ดู Fig. 15-7)

การวิเคราะห์ข้อมูลในคลังข้อมูล

มีสองประเภทใหญ่ ๆ คือ

Online Analytical Processing

Online Analytical Processing (OLAP) คือการใช้คำค้น (query) เพื่อค้นหาข้อมูลในคลังข้อมูลเหมือนในฐานข้อมูล เหตุผลที่เราไม่ค้นในฐานข้อมูล แต่มาทำในคลังข้อมูลแทนมีสองสาเหตุคือ

  • ความเร็ว
  • ความครอบคลุมของข้อมูลทั้งบริษัทที่มีอยู่ในคลังข้อมูล

ลักษณะการจัดเก็บข้อมูลที่ OLAP สามารถเรียกใช้

รูปแบบการจัดเก็บข้อมูลที่ทรงประสิทธิภาพมีอยู่ 3 ชนิดที่ (OLAP) สามารถเข้าถึงข้อมูลได้

1. ฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์ (Relational DataBase) โดยทั่วไปแล้วระบบงานประจำมีการจัดเก็บข้อมูลแบบ RDBMS และ data warehouse ก็มีการจัดเก็บข้อมูลแบบ RDBMS ซึ่งอาจจะมีโครงสร้างข้อมูล แบบ star schema และอาจจะเป็นได้ทั้ง normalized & denormalized

2. ฐานข้อมูลหลายมิติ ( multidimentional database) ข้อมูลที่จัดเก็บในฐานข้อมูลหลายมิติอาจมาจากฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์ หรือระบบงานปัจจุบันโดยจะแปลง การจัดเก็บข้อมูลเสียใหม่ โดยมีโครงสร้างการจัดเก็บแบบ array โดยทั่วไปแล้วฐานข้อมูลหลายมิติจะยอมให้สิทธิการเขียนข้อมูลลงในฐานข้อมูล ในช่วงเวลาหนึ่งเพียงคนเดียว แต่อนุญาตให้หลาย ๆ คน เข้าค้นหาข้อมูลในเวลาเดียวกัน หรือมิฉะนั้นก็อนุญาตให้ค้นหาข้อมูลเพียงอย่างเดียว

3. เก็บข้อมูลไว้ที่ client ลักษณะของfile (client-base files) ในกรณียอมให้client ดึงข้อมูลจำนวนไม่มากนักมาเก็บไว้ซึ่งเหมาะกับการประมวลผลแบบกระจาย หรือการสร้างคำสั่งให้ข้อมูลปรากฏบน web


OLAP ที่เกี่ยวข้องกับสาขาอื่นๆ

OLAP นับเป็นเทคโนโลยีที่มีความสำคัญต่อสาขาธุรกิจในปัจจุบันเป็นอย่างมาก เนื่องจากความซับซ้อนที่มากขึ้น และเวลาที่น้อยลงสำหรับการตัดสินใจทางธุรกิจ OLAP จึงเป็นคำตอบที่เหมาะสมมากที่สุดในปัจจุบัน เพราะจุดเด่นที่สำคัญของ OLAP ประกอบด้วย การตอบสนองต่อการคิวรีของผู้ใช้ที่กินเวลาไม่มาก การทำงานที่ไม่ขึ้นกับขนาดและความซับซ้อนของฐานข้อมูล แอปพลิเคชัน OLAP ช่วยงานการวิเคราะห์ข้อมูล ไม่ว่าจะเป็นการเปรียบเทียบ การนำเสนอในมุมมองเฉพาะ รวมถึงการวิเคราะห์ข้อมูลย้อนหลังและคาดการณ์ข้อมูลในอนาคตตามโมเดลการตอบคำถามแบบ "What-If"

การทำเหมืองข้อมูล

การทำเหมืองข้อมูล (Data Mining) คือ การหารูปแบบ (pattern) อะไรบางอย่างที่ซ่อนอยู่ในข้อมูล ที่มองผิวเผินแล้วไม่อาจสังเกตเห็นได้ เนื่องจากข้อมูลมีปริมาณมาก เช่น การค้นหากฎความสัมพันธ์ (association rules) ของสินค้าในห้างสรรพสินค้า เราอาจพบว่าลูกค้าร้อยละ 90 ที่ซื้อเบียร์ จะซื้อผ้าอ้อมเด็กด้วย, ซึ่งเป็นข้อมูลให้ทางห้างคิดรายการส่งเสริมการขายใหม่ๆ ได้; หรือ ธนาคารอาจพบว่า คนทั่วไปที่มีอายุ 20-29 ปี และมีรายได้ในช่วง 20,000-30,000 บาท มักซื้อเครื่องเล่นเอ็มพีสาม, ธนาคารอาจเสนอให้คนกลุ่มนี้ทำบัตรเครดิต โดยแถมเครื่องเล่นดังกล่าว เป็นต้น..........................

ลักษณะเด่นของคลังข้อมูล

  1. ให้ผลตอบแทนจากการลงทุนที่สูง ถึงแม้ว่าจะมีการลงทุนที่ต่ำก็ตาม
  2. เนื่องจากมีการให้ให้ผลตอบแทนจากการลงทุนที่สูง จึงสามารถทำให้องค์กรเกิดความได้เปรียบคู่แข่งขันในแง่ของการได้รับข้อมูลและสารสนเทศก่อนคู่แข่งขันเสมอ จึงทำให้สามารถวิเคราะห์ข้อมูลเหล่านั้นเพื่อทำการกำหนดเป็นกลยุทธ์ และกำหนดทิศทางในการดำเนินงานได้ก่อนคู่แข่งขัน เช่น พฤติกรรมของผู้บริโภค ความต้องการทางตลาด และแนวโน้มความต้องการของผู้บริโภค
  3. เพิ่มประสิทธิภาพในการตัดสินใจของผู้ตัดสินใจ เนื่องจากคลังข้อมูลได้รับการให้ข้อมูลที่รับมาจากแหล่งข้อมูลที่แตกต่างกัน มีความสอดคล้องกัน และวิเคราะห์ตามประเด็นที่ผู้ตัดสินใจต้องการ อีกทั้งข้อมูลที่มีอยู่ในคลังข้อมูลก็มีปริมาณมากทั้งข้อมูลในอดีตและปัจจุบัน จึงทำให้การตัดสินใจมีประสิทธิภาพมากขึ้นอีกด้วย
  4. ทำให้สะดวกและรวดเร็วในการค้นหาข้อมูลต่างๆ และลดความซ้ำซ้อนกันของข้อมูลอีกด้วย

ดูเพิ่ม

คล, งข, อม, งก, ามภาษา, ในบทความน, ไว, ให, านและผ, วมแก, ไขบทความศ, กษาเพ, มเต, มโดยสะดวก, เน, องจากว, เด, ยภาษาไทยย, งไม, บทความด, งกล, าว, กระน, ควรร, บสร, างเป, นบทความโดยเร, วท, ดบทความน, ไม, การอ, างอ, งจากแหล, งท, มาใดกร, ณาช, วยปร, บปร, งบทความน, โดยเพ,. lingkkhamphasa inbthkhwamni miiwihphuxanaelaphurwmaekikhbthkhwamsuksaephimetimodysadwk enuxngcakwikiphiediyphasaithyyngimmibthkhwamdngklaw krann khwrribsrangepnbthkhwamodyerwthisudbthkhwamniimmikarxangxingcakaehlngthimaidkrunachwyprbprungbthkhwamni odyephimkarxangxingaehlngthimathinaechuxthux enuxkhwamthiimmiaehlngthimaxacthukkhdkhanhruxlbxxk eriynruwacanasaraemaebbnixxkidxyangiraelaemuxir khlngkhxmul data warehouse khux thankhxmulkhnadyks thirwbrwmthankhxmulcakhlayaehlnghlaychwngewla sungxacmi schema aetktangkn maiwrwm n thiediywkn aelaich schema ediywkn enuxha 1 khwamaetktangcakthankhxmul 2 praednthitxngphicarna 3 karwiekhraahkhxmulinkhlngkhxmul 3 1 Online Analytical Processing 3 2 karthaehmuxngkhxmul 4 lksnaednkhxngkhlngkhxmul 5 duephimkhwamaetktangcakthankhxmul aekikhodypktiaelw thankhxmulinxngkhkrthwipcamilksnathikhxnkhangthntxehtukarn echn thankhxmulphnkngankcaekbechphaaphnknganinpccubn caimsnickhxmulphnknganeka inxdit sungxaccamikhxmulxairbangxyang thimipraoychnsahrbphubrihar inkarwiekhraahprasiththiphaphaelakhunlksnatang khxngxngkhkr nxkcakni thankhxmulaetlaxnmkthukxxkaebbmaichekbkhxmulechphaadan cungmikhxmulechphaabangswnkhxngxngkhkrethann channkhlngkhxmulcungthukxxkaebbma ephuxrwbrwmkhxmulinthukswnkhxngthngbristh thngekaaelaihmiwdwykn immikarlbthingkhxmuleka thiimcringinpccubnodysrupkhux khlngkhxmul Data Warehouse ichephuxkarwiekhraah khxmulthngxditaelapccubn thankhxmul Data Base ichephuxthakarpramwlphl echphaakhxmulpccubn thaxngkhkrmikhlngkhxmulhlay xnephuxichinkarwiekhraahtang aetktangknip echn khlngkhxmuldankarengin aela khlngkhxmuldanthrphyakrmnusy eramkeriykkhlngkhxmulechphaadanehlaniwa tladkhxmul data marts xnung krabwnkarinkarichkhxmulinkhlngkhxmulephuxkartdsinic aelawangaephninthangthurkic mkthukeriykwa karbriharthurkicxyangchaychlad business intelligence praednthitxngphicarna aekikhinkarrwmthankhxmul xacmipyhawathankhxmulaetlaxn xacthukxxkaebbcakphuxxkaebbhlay khnthaihmi schema aetktangknip schema inthinihmaythungkarxxkaebb REA model wacamikitarang aetlatarangechuxmknxyangir mixairepn primary key foreign key epntn pyhaihykkhuxcanathankhxmulthimikhwamaetktangknmarwmknidxyangir emuxrwmknaelwtxngkarih schema khxngkhlngkhxmulmilksnaaebbihn karxxkaebbkhlngkhxmulodythwip mkcaxxkaebbtrngkhamkbthankhxmulxyangsineching karxxkaebbthankhxmuleramktxngkarihmi schema thiprbprungidngay ephraaeratxngpramwlphlbxy khuxinaetlatarangmi primary key nxy aelamitarangcanwnmakechuxmtxkn nnkhuxin REA model mkcamihlay tarang inkhlngkhxmuleratxngkariheriykkhxmulthitxngkardu query ngay aelarwderw nxkcaknneraimkhxyidaekikhprbprungkhlngkhxmul cungmkxxkaebbihmitarangnxy schema thiniymichinkhlngkhxmulkhux star schema du Fig 15 7 karwiekhraahkhxmulinkhlngkhxmul aekikhmisxngpraephthihy khux Online Analytical Processing aekikh Online Analytical Processing OLAP khuxkarichkhakhn query ephuxkhnhakhxmulinkhlngkhxmulehmuxninthankhxmul ehtuphlthieraimkhninthankhxmul aetmathainkhlngkhxmulaethnmisxngsaehtukhux khwamerw khwamkhrxbkhlumkhxngkhxmulthngbrisththimixyuinkhlngkhxmullksnakarcdekbkhxmulthi OLAP samartheriykichrupaebbkarcdekbkhxmulthithrngprasiththiphaphmixyu 3 chnidthi OLAP samarthekhathungkhxmulid1 thankhxmulechingsmphnth Relational DataBase odythwipaelwrabbnganpracamikarcdekbkhxmulaebb RDBMS aela data warehouse kmikarcdekbkhxmulaebb RDBMS sungxaccamiokhrngsrangkhxmul aebb star schema aelaxaccaepnidthng normalized amp denormalized2 thankhxmulhlaymiti multidimentional database khxmulthicdekbinthankhxmulhlaymitixacmacakthankhxmulechingsmphnth hruxrabbnganpccubnodycaaeplng karcdekbkhxmulesiyihm odymiokhrngsrangkarcdekbaebb array odythwipaelwthankhxmulhlaymiticayxmihsiththikarekhiynkhxmullnginthankhxmul inchwngewlahnungephiyngkhnediyw aetxnuyatihhlay khn ekhakhnhakhxmulinewlaediywkn hruxmichannkxnuyatihkhnhakhxmulephiyngxyangediyw3 ekbkhxmuliwthi client lksnakhxngfile client base files inkrniyxmihclient dungkhxmulcanwnimmaknkmaekbiwsungehmaakbkarpramwlphlaebbkracay hruxkarsrangkhasngihkhxmulpraktbn webOLAP thiekiywkhxngkbsakhaxunOLAP nbepnethkhonolyithimikhwamsakhytxsakhathurkicinpccubnepnxyangmak enuxngcakkhwamsbsxnthimakkhun aelaewlathinxylngsahrbkartdsinicthangthurkic OLAP cungepnkhatxbthiehmaasmmakthisudinpccubn ephraacudednthisakhykhxng OLAP prakxbdwy kartxbsnxngtxkarkhiwrikhxngphuichthikinewlaimmak karthanganthiimkhunkbkhnadaelakhwamsbsxnkhxngthankhxmul aexpphliekhchn OLAP chwyngankarwiekhraahkhxmul imwacaepnkarepriybethiyb karnaesnxinmummxngechphaa rwmthungkarwiekhraahkhxmulyxnhlngaelakhadkarnkhxmulinxnakhttamomedlkartxbkhathamaebb What If karthaehmuxngkhxmul aekikh karthaehmuxngkhxmul Data Mining khux karharupaebb pattern xairbangxyangthisxnxyuinkhxmul thimxngphiwephinaelwimxacsngektehnid enuxngcakkhxmulmiprimanmak echn karkhnhakdkhwamsmphnth association rules khxngsinkhainhangsrrphsinkha eraxacphbwalukkharxyla 90 thisuxebiyr casuxphaxxmedkdwy sungepnkhxmulihthanghangkhidraykarsngesrimkarkhayihm id hrux thnakharxacphbwa khnthwipthimixayu 20 29 pi aelamirayidinchwng 20 000 30 000 bath mksuxekhruxngelnexmphisam thnakharxacesnxihkhnklumnithabtrekhrdit odyaethmekhruxngelndngklaw epntn lksnaednkhxngkhlngkhxmul aekikhihphltxbaethncakkarlngthunthisung thungaemwacamikarlngthunthitaktam enuxngcakmikarihihphltxbaethncakkarlngthunthisung cungsamarththaihxngkhkrekidkhwamidepriybkhuaekhngkhninaengkhxngkaridrbkhxmulaelasarsnethskxnkhuaekhngkhnesmx cungthaihsamarthwiekhraahkhxmulehlannephuxthakarkahndepnklyuthth aelakahndthisthanginkardaeninnganidkxnkhuaekhngkhn echn phvtikrrmkhxngphubriophkh khwamtxngkarthangtlad aelaaenwonmkhwamtxngkarkhxngphubriophkh ephimprasiththiphaphinkartdsinickhxngphutdsinic enuxngcakkhlngkhxmulidrbkarihkhxmulthirbmacakaehlngkhxmulthiaetktangkn mikhwamsxdkhlxngkn aelawiekhraahtampraednthiphutdsinictxngkar xikthngkhxmulthimixyuinkhlngkhxmulkmiprimanmakthngkhxmulinxditaelapccubn cungthaihkartdsinicmiprasiththiphaphmakkhunxikdwy thaihsadwkaelarwderwinkarkhnhakhxmultang aelaldkhwamsasxnknkhxngkhxmulxikdwyduephim aekikhthankhxmul karthaehmuxngkhxmul Balanced scorecardekhathungcak https th wikipedia org w index php title khlngkhxmul amp oldid 8993478, wikipedia, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด,

บทความ

, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม