fbpx
วิกิพีเดีย

จำนวนเชิงพีชคณิต

จำนวนเชิงพีชคณิต (อังกฤษ: algebraic number) คือจำนวนเชิงซ้อนที่เป็นรากของพหุนามหนึ่งตัวแปร ซึ่งพหุนามไม่เป็นศูนย์ และมีสัมประสิทธิ์เป็นจำนวนตรรกยะ แทนด้วยสัญลักษณ์ หรือ จำนวนที่ไม่ใช่จำนวนเชิงพีชคณิตจะเรียกว่าจำนวนอดิศัย (transcendental number)

ตัวอย่าง

  • จำนวนตรรกยะทุกจำนวนเป็นจำนวนเชิงพีชคณิต ซึ่งสามารถเขียนเป็นอัตราส่วนของจำนวนเต็มสองจำนวน b กับ a และ a ต้องไม่เท่ากับศูนย์ เข้ากับนิยามดังกล่าวเพราะว่า   เป็นรูปแบบที่มาจากสมการ   (โดยทั่วไปแล้ว a หรือ b จึงเป็นจำนวนลบได้ เช่นเดียวกับ x)
  • จำนวนอตรรกยะบางจำนวนเป็นจำนวนเชิงพีชคณิต บางจำนวนก็ไม่เป็น
    • จำนวน   และ   เป็นจำนวนเชิงพีชคณิต เพราะเป็นคำตอบของสมการ   และ   ตามลำดับ
    • อัตราส่วนทองคำ φ เป็นจำนวนเชิงพีชคณิต เพราะเป็นคำตอบของสมการ  
    • ค่าคงตัว π และ e ไม่เป็นจำนวนเชิงพีชคณิต (ดูเพิ่มที่ ทฤษฎีบทลินเดอมันน์-ไวเออร์ชตรัสส์)
  • จำนวนสร้างได้ (constructible number) ซึ่งสร้างด้วยสันตรงกับวงเวียน โดยเริ่มจากความยาวหนึ่งหน่วย เช่น  ,   เป็นจำนวนเชิงพีชคณิต

อ้างอิง

  1. G. H. Hardy and E. M. Wright 1978, 2000 (with general index) An Introduction to the Theory of Numbers: 5th Edition, Clarendon Press, Oxford UK, ISBN 0-19-853171-0

จำนวนเช, งพ, ชคณ, งกฤษ, algebraic, number, อจำนวนเช, งซ, อนท, เป, นรากของพห, นามหน, งต, วแปร, งพห, นามไม, เป, นศ, นย, และม, มประส, ทธ, เป, นจำนวนตรรกยะ, แทนด, วยส, ญล, กษณ, displaystyle, mathbb, หร, displaystyle, mathbb, จำนวนท, ไม, ใช, จะเร, ยกว, าจำนวนอด, tr. canwnechingphichkhnit xngkvs algebraic number khuxcanwnechingsxnthiepnrakkhxngphhunamhnungtwaepr sungphhunamimepnsuny aelamismprasiththiepncanwntrrkya aethndwysylksn A displaystyle mathbb A hrux Q displaystyle mathbb Q canwnthiimichcanwnechingphichkhnitcaeriykwacanwnxdisy transcendental number twxyang aekikhcanwntrrkyathukcanwnepncanwnechingphichkhnit sungsamarthekhiynepnxtraswnkhxngcanwnetmsxngcanwn b kb a aela a txngimethakbsuny ekhakbniyamdngklawephraawa x b a displaystyle x b a epnrupaebbthimacaksmkar a x b 0 displaystyle ax b 0 odythwipaelw a hrux b cungepncanwnlbid echnediywkb x 1 canwnxtrrkyabangcanwnepncanwnechingphichkhnit bangcanwnkimepn canwn 2 displaystyle sqrt 2 aela 3 3 2 displaystyle frac sqrt 3 3 2 epncanwnechingphichkhnit ephraaepnkhatxbkhxngsmkar x 2 2 0 displaystyle x 2 2 0 aela 8 x 3 3 0 displaystyle 8x 3 3 0 tamladb xtraswnthxngkha f epncanwnechingphichkhnit ephraaepnkhatxbkhxngsmkar x 2 x 1 0 displaystyle x 2 x 1 0 khakhngtw p aela e imepncanwnechingphichkhnit 1 duephimthi thvsdibthlinedxmnn iwexxrchtrss canwnsrangid constructible number sungsrangdwysntrngkbwngewiyn odyerimcakkhwamyawhnunghnwy echn 2 displaystyle sqrt 2 3 displaystyle sqrt 3 epncanwnechingphichkhnitxangxing aekikh 1 0 1 1 G H Hardy and E M Wright 1978 2000 with general index An Introduction to the Theory of Numbers 5th Edition Clarendon Press Oxford UK ISBN 0 19 853171 0 bthkhwamekiywkbkhnitsastrniyngepnokhrng khunsamarthchwywikiphiediyidodyephimkhxmul duephimthi sthaniyxy khnitsastrekhathungcak https th wikipedia org w index php title canwnechingphichkhnit amp oldid 4710410, wikipedia, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด,

บทความ

, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม