fbpx
วิกิพีเดีย

ตัวอักษรอันเชียล

ตัวอักษรอันเชียล (อังกฤษ: uncial) เป็นตัวอักษรชนิดที่เขียนด้วยตัวพิมพ์ใหญ่ทั้งหมด ตัวอักษรชนิดนี้ใช้กันอย่างแพร่หลายในช่วงคริสต์ศตวรรษที่ 4-8 โดยพวกอาลักษณ์ชาวละตินและกรีก โดยใช้เขียนภาษากรีก ภาษาละติน และภาษากอธิก

หนังสือพระวรสารเคลล์ส เมื่อราว ค.ศ. 800 เขียนด้วยตัวอักษรอันเชียลชนิดหนึ่งที่มีแหล่งกำเนิดในไอร์แลนด์

วิวัฒนาการ

 
ความสัมพันธ์โดยย่อที่แสดงถึงวิวัฒนาการของตัวอักษรอันเชียลชนิดต่าง ๆ

ตัวอักษรอันเชียลในยุคแรกนั้นพัฒนามาจากอักษรตัวพิมพ์ใหญ่ที่ใช้กันในแถบชนบท โดยนำมาดัดแปลงเพื่อให้สามารถเขียนลงบนกระดาษหนังสัตว์และกระดาษหนังวัวได้สะดวกขึ้น ต่างจากแบบเดิมที่เหมาะสำหรับใช้เขียนลงบนกระดาษพาไพรัส เนื่องจากมีมุมแหลมและเส้นขีดมาก ตัวอักษรอันเชียลในยุคแรกไม่มีการแบ่งคำด้วยการเว้นวรรค แต่เริ่มพบในตัวอักษรอันเชียลยุคหลัง

ตัวอักษรชนิดนี้มีวิวัฒนาการมาตลอด ส่งผลให้ตัวอักษรมีความซับซ้อนยิ่งขึ้น จนกระทั่งราว ค.ศ. 600 จึงเริ่มพบว่ามีการลากเส้นบิดและโค้งมากจนเกินไปในการเขียนตัวอักษรชนิดนี้ สุดท้ายก็เสื่อมความนิยมลงไปหลังจากที่มีการคิดค้นอักษรตัวพิมพ์เล็กขึ้นมาในภายหลัง เนื่องจากตัวอักษรพิมพ์เล็กมีรูปอักษรที่ซับซ้อนน้อยกว่า และยังสามารถอ่านได้ง่ายกว่าอีกด้วย

อ้างอิง

  1. Glaister, Geoffrey Ashall. (1996) Encyclopedia of the Book. 2nd edn. New Castle, DE, and London: Oak Knoll Press & The British Library, p. 494. ISBN 1884718140
  2. The Cambridge Encyclopedia of The English Language. Ed. David Crystal. Cambridge: Cambridge University Press, 1995. p. 258.

วอ, กษรอ, นเช, ยล, งกฤษ, uncial, เป, นต, วอ, กษรชน, ดท, เข, ยนด, วยต, วพ, มพ, ใหญ, งหมด, วอ, กษรชน, ดน, ใช, นอย, างแพร, หลายในช, วงคร, สต, ศตวรรษท, โดยพวกอาล, กษณ, ชาวละต, นและกร, โดยใช, เข, ยนภาษากร, ภาษาละต, และภาษากอธ, กหน, งส, อพระวรสารเคลล, เม, อราว, เข, . twxksrxnechiyl xngkvs uncial epntwxksrchnidthiekhiyndwytwphimphihythnghmd 1 twxksrchnidniichknxyangaephrhlayinchwngkhriststwrrsthi 4 8 odyphwkxalksnchawlatinaelakrik 2 odyichekhiynphasakrik phasalatin aelaphasakxthikhnngsuxphrawrsarekhlls emuxraw kh s 800 ekhiyndwytwxksrxnechiylchnidhnungthimiaehlngkaenidinixraelndwiwthnakar aekikh khwamsmphnthodyyxthiaesdngthungwiwthnakarkhxngtwxksrxnechiylchnidtang twxksrxnechiylinyukhaerknnphthnamacakxksrtwphimphihythiichkninaethbchnbth odynamaddaeplngephuxihsamarthekhiynlngbnkradashnngstwaelakradashnngwwidsadwkkhun tangcakaebbedimthiehmaasahrbichekhiynlngbnkradasphaiphrs enuxngcakmimumaehlmaelaesnkhidmak twxksrxnechiylinyukhaerkimmikaraebngkhadwykarewnwrrkh aeterimphbintwxksrxnechiylyukhhlngtwxksrchnidnimiwiwthnakarmatlxd sngphlihtwxksrmikhwamsbsxnyingkhun cnkrathngraw kh s 600 cungerimphbwamikarlakesnbidaelaokhngmakcnekinipinkarekhiyntwxksrchnidni sudthaykesuxmkhwamniymlngiphlngcakthimikarkhidkhnxksrtwphimphelkkhunmainphayhlng enuxngcaktwxksrphimphelkmirupxksrthisbsxnnxykwa aelayngsamarthxanidngaykwaxikdwyxangxing aekikh Glaister Geoffrey Ashall 1996 Encyclopedia of the Book 2nd edn New Castle DE and London Oak Knoll Press amp The British Library p 494 ISBN 1884718140 The Cambridge Encyclopedia of The English Language Ed David Crystal Cambridge Cambridge University Press 1995 p 258 ekhathungcak https th wikipedia org w index php title twxksrxnechiyl amp oldid 9257605, wikipedia, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด,

บทความ

, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม