fbpx
วิกิพีเดีย

ทาลัสซีเมีย

โรคเลือดจางทาลัสซีเมีย (อังกฤษ: thalassaemia) เป็นโรคเลือดจางที่มีสาเหตุมาจากมีความผิดปกติทางพันธุกรรม ทำให้มีการสร้างโปรตีนที่เป็นส่วนประกอบสำคัญของเม็ดเลือดผิดปกติ จึงทำให้เม็ดเลือดแดงมีอายุสั้นกว่าปกติ แตกง่าย ถูกทำลายง่าย ผู้ป่วยที่เป็นโรคนี้จึงมีเลือดจางกว่าคนทั่วไป โรคนี้พบได้ทั้งหญิงและชายปริมาณเท่า ๆ กัน ถ่ายทอดมาจากพ่อและแม่ทางพันธุกรรมพบได้ทั่วโลก และพบมากในประเทศไทยด้วยเช่นกัน

ทาลัสซีเมีย
ชื่ออื่นThalassaemia, Mediterranean anemia
ฟิล์มเลือดของผู้ป่วยโรคทาลัสซีเมียชนิดเดลตาเบต้า
สาขาวิชาโลหิตวิทยา
อาการรู้สึกอ่อนเพลีย มีอาการม้ามโต ผิวเหลือง ปัสสาวะสีเข้ม
สาเหตุโรคทางพันธุกรรม (กรรมพันธุ์)
วิธีวินิจฉัยตรวจเลือด ตรวจพันธุกรรม
การรักษาการถ่ายเลือด, การล้างพิษหลอดเลือด, กรดโฟลิก
ความชุก280 ล้านคน (พ.ศ. 2558)
การเสียชีวิต16,800 คน (พ.ศ. 2558)

ประเทศไทยพบผู้ป่วยโรคนี้ร้อยละ 1 และพบผู้ที่เป็นพาหะนำโรคถึงร้อยละ 30-40 คือประมาณ 20-25 ล้านคน เมื่อพาหะแต่งงานกันและพบยีนผิดปกติร่วมกัน ก็อาจมีลูกที่เกิดโรคนี้ได้ ซึ่งประมาณการณ์ว่าจะมีคนไทยเป็นมากถึง 500,000 คน โรคนี้ทำให้เกิดโลหิตจางโดยเป็นกรรมพันธุ์ของการสร้างเฮโมโกลบิน ซึ่งมีสีแดงและนำออกซิเจนไปเลี้ยงร่างกายส่วนต่างๆ

พยาธิสรีรวิทยา

ทาลัสซีเมียเกิดจากความผิดปกติทางพันธุกรรมของการสังเคราะห์เฮโมโกลบินที่เกิดจากความเปลี่ยนแปลงในอัตราการสร้างสายโปรตีนโกลบิน ที่มีอัตราการสร้างสายโกลบินชนิดหนึ่งๆ หรือหลายชนิดลดลงจะรบกวนการสร้างเฮโมโกลบินและทำให้เกิดความไม่สมดุลในการสร้างสายโกลบินปกติอื่น

ชนิดและอาการ

ทาลัสซีเมีย แบ่งออกเป็น 2 กลุ่มใหญ่ ได้แก่ แอลฟาทาลัสซีเมีย และ เบต้าทาลัสซีเมีย ซึ่งก็คือ ถ้ามีความผิดปกติของสายแอลฟา ก็เรียกแอลฟาทาลัสซีเมีย และถ้ามีความผิดปกติของสายเบต้าก็เรียกเบต้าทาลัสซีเมีย

แอลฟาทาลัสซีเมีย แอลฟาทาลัสซีเมีย เกิดขึ้นเนื่องจากเฮโมโกลบินในสายแอลฟามีการสร้างผิดปกติ โดยปกติแล้วจะมีแหล่งระบาดอยู่ในแถบตะวันออกเฉียงใต้เป็นหลัก ได้แก่ ไทย จีน ฟิลิปปินส์ และบางส่วนของแอฟริกาตอนใต้

ความผิดปกติเกี่ยวกับการสร้างสายแอลฟา โดยปกติแล้วสายแอลฟา 1 สายจะกำหนดโดยยีน 1 คู่ (2ยีน) ดังนี้

ถ้ามีความผิดปกติเกี่ยวกับยีนในการสร้างสายแอลฟา 1 ยีน จะไม่มีอาการใดๆ แต่จะเป็นพาหะที่ส่งยีนนี้ไปยังลูกหลาน ถ้ามีความผิดปกติเกี่ยวกับยีนในการสร้างสายแอลฟา 2 ยีน จะมีภาวะซีดเพียงเล็กน้อย แต่ไม่จำเป็นต้องได้รับการรักษา ถ้ามีความผิดปกติเกี่ยวกับยีนในการสร้างสายแอลฟา 3 ยีน จะเกิดภาวะซีดได้ตั้งแต่รุนแรงน้อย จนถึงรุนแรงมาก บางครั้งเรียกว่าเฮโมโกลบิน H ซึ่งอาจจำเป็นต้องได้รับเลือด ถ้ามีความผิดปกติเกี่ยวกับยีนในการสร้างสายแอลฟา 4 ยีน จะเสียชีวิตภายในระยะเวลาสั้นๆภายหลังจากเกิดออกมา เรียกว่า เฮโมโกลบินบาร์ต

เบต้าทาลัสซีเมีย เบต้าทาลัสซีเมียจะเกิดขึ้นเมื่อสายเบต้าในเฮโมโกลบินนั้นสร้างไม่สมบูรณ์ ดังนั้นเฮโมโกลบินจึงขนส่งออกซิเจนได้ลดลง ในเบต้าทาลัสซีเมียสามารถแบ่งออกได้เป็นหลายชนิดย่อย ขึ้นอยู่กับความสมบูรณ์ของยีนในการสร้างสายเบต้า

แหล่งระบาดของเบต้าทาลัสซีเมียได้แก่ เอเชียตะวันออกเฉียงใต้และแถบเมดิเตอเรเนียน

ถ้ามียีนที่สร้างสายเบต้าได้ไม่สมบูรณ์ 1 สาย (จากสายเบต้า 2สาย) อาจจะมีภาวะซีดเพียงเล็กน้อย ซึ่งอาจไม่จำเป็นต้องได้รับการรักษา

ถ้ามียีนที่สร้างสายเบต้าได้ไม่สมบูรณ์ทั้ง 2 สาย (จากสายเบต้าทั้ง2สาย) ภาวะซีดอาจมีความรุนแรงได้ปานกลางถึงมาก ในกรณีนี้เกิดจากได้รับยีนที่ผิดปกติมาจากทั้งพ่อและแม่

ถ้ามีภาวะซีดปานกลาง จำเป็นต้องได้รับเลือดบ่อยๆ โดยปกติแล้วสามารถมีชีวิตได้จนถึงวัยผู้ใหญ่ แต่ถ้ามีภาวะซีดที่รุนแรงมักจะเสียชีวิตก่อนเนื่องจากซีดมาก ถ้าเป็นรุนแรงอาการมักจะเริ่มต้นตั้งแต่อายุ 6 เดือนแรกหลังเกิด แต่ถ้าเด็กได้รับเลือดอย่างสม่ำเสมอตั้งแต่แรกเริ่มก็มักจะมีชีวิตอยู่ได้นานมากขึ้น แต่อย่างไรก็ตามก็มักจะเสียชีวิตเนื่องจากอวัยวะต่างๆถูกทำลาย เช่นหัวใจ และตับ

อาการ

จะมีอาการซีด ตาขาวสีเหลือง ตัวเหลือง ตับโต ม้ามโต ผิวหนังดำคล้ำ กระดูกใบหน้าจะเปลี่ยนรูป มีจมูกแบน กะโหลกศีรษะหนา โหนกแก้มนูนสูง คางและขากรรไกรกว้างใหญ่ ฟันบนยื่น กระดูกบาง เปราะ หักง่าย ร่างกายเจริญเติบโตช้ากว่าคนปกติ แคระแกร็น ท้องป่อง ในประเทศไทยมีผู้เป็นโรคประมาณร้อยละ 1 ของประชากรหรือประมาณ 6 แสนคน

โรคเลือดจางทาลัสซีเมียมีอาการตั้งแต่ไม่มีอาการใดๆ จนถึงมีอาการรุนแรงมากที่ทำให้เสียชีวิตตั้งแต่อยู่ในครรภ์หรือหลังคลอดไม่เกิน 1 วัน ผู้ที่มีอาการจะซีดมากหรือมีเลือดจางมาก ต้องให้เลือดเป็นประจำ หรือมีภาวะติดเชื้อบ่อยๆ หรือมีไข้เป็นหวัดบ่อยๆ ได้ มากน้อยแล้วแต่ชนิดของทาลัสซีเมียซึ่งมีหลายรูปแบบ ทั้งแอลฟา-ทาลัสซีเมีย และเบต้า-ทาลัสซีเมีย

การรักษา

  1. ให้รับประทานวิตามินโฟลิค (B9) วันละเม็ด
  2. ให้เลือดเมื่อผู้ป่วยซีดมากและมีอาการของการขาดเลือด
  3. ตัดม้ามเมื่อต้องรับเลือดบ่อยๆ และม้ามโตมากจนมีอาการอึดอัดแน่นท้อง กินอาหารได้น้อย
  4. ไม่ควรรับประทานยาบำรุงเลือดที่มีธาตุเหล็ก
  5. ผู้ป่วยที่อาการรุนแรงซีดมาก ต้องให้เลือดบ่อยมากจะมีภาวะเหล็กเกิน อาจต้องฉีดยาขับเหล็ก

แบบประคับประคอง (Low Transfusion)

เพื่อเพิ่มระดับเฮโมโกลบินไว้ในระดับหนึ่ง ไม่ให้เด็กอ่อนเพลียจากการขาดออกซิเจน ซึ่งจะทำให้เด็กไม่เติบโต

การให้เลือดจนหายซีด (High Transfusion)

ระดับเฮโมโกลบินสูงใกล้เคียงคนปกติ ซึ่งอาจต้องให้เลือดทุกสัปดาห์ 2-3 ครั้ง จนระดับเฮโมโกลบินอยู่ในเกณฑ์ดี และต่อไปจะให้สม่ำเสมอทุก 2-3 สัปดาห์ ภายใต้การควบคุมของแพทย์ ถ้าให้ตั้งแต่อายุน้อยในเด็กที่เป็นชนิดรุนแรง จะป้องกันการเปลี่ยนแปลงของใบหน้าเด็ก เขาจะเติบโตมีรูปร่างแข็งแรงดี หน้าตาดี ตัวไม่เตี้ย ตับและม้ามไม่โต แพทย์จะพิจารณาเป็นรายๆ โดยระมัดระวังผลแทรกซ้อนจากการให้เลือดบ่อยและจะต้องให้ยาขับเหล็ก ซึ่งอาจสะสมได้จากการให้เลือดบ่อยครั้ง

นอกจากการให้เลือดดังกล่าว บางรายที่มีอาการม้ามโตมากจนต้องให้เลือดถี่ๆ จากการที่เม็ดเลือดแดงถูกทำลายในม้ามมาก ต้องตัดม้ามออกแต่จะมีการป้องกันการติดเชื้อที่อาจมีตามมาด้วย

ปลูกถ่ายไขกระดูก

โดยการปลูกถ่ายเซลล์ต้นกำเนิดของเม็ดเลือด ซึ่งนำมาใช้ในประเทศไทยแล้วประสบความสำเร็จ เช่นเดียวกับการปลูกถ่ายไขกระดูก ซึ่งทำสำเร็จในประเทศไทยแล้วหลายราย เด็กๆ ก็เจริญเติบโตปกติเหมือนเด็กธรรมดา โดยหลักการคือ นำไขกระดูกมาจากพี่น้องในพ่อแม่เดียวกัน (ต่างเพศก็ใช้ได้) นำมาตรวจความเหมาะสมทางการแพทย์หลายประการ และดำเนินการช่วยเหลือ

การเปลี่ยนยีน

นอกจากนี้ยังมีเทคโนโลยีทันสมัยล่าสุดคือการเปลี่ยนยีน ซึ่งกำลังดำเนินการวิจัยอยู่

แนวทางการป้องกันโรคทาลัสซีเมีย

  • จัดให้มีการฝึกอบรมบุคลากรทางการแพทย์ เพื่อจะได้มีความรู้ ความสามารถในการวินิจฉัย หรือให้คำปรึกษาโรคทาลัสซีเมียได้ถูกวิธี
  • จัดให้มีการให้ความรู้ประชาชน เกี่ยวกับโรคทาลัสซีเมีย เพื่อจะได้ทำการค้นหากลุ่มที่มีความเสี่ยง และให้คำแนะนำแก่ผู้ที่เป็นโรคทาลัทซีเมีย ในการปฏิบัติตัวได้อย่างถูกวิธี
  • จัดให้มีการให้คำปรึกษาแก่คู่สมรส มีการตรวจเลือดคู่สมรส เพื่อตรวจหาเชื้อโรคทาลัทซีเมีย และจะได้ให้คำปรึกษาถึงความเสี่ยง ที่จะทำให้เกิดโรคทาลัทซีเมียได้ รวมถึงการแนะนำ และการควบคุมกำเนิดที่เหมาะสม สำหรับรายที่มีการตรวจพบว่าเป็นโรคทาลัสซีเมียแล้วเป็นต้น

อ้างอิง

  1. . NHLBI. 3 กรกฎาคม 2012. คลังข้อมูลเก่า เก็บจาก แหล่งเดิม เมื่อ 16 กันยายน 2016. สืบค้นเมื่อ 5 กันยายน 2016. Unknown parameter |deadurl= ignored (help)
  2. . NHLBI. 3 กรกฎาคม 2012. คลังข้อมูลเก่า เก็บจาก แหล่งเดิม เมื่อ 26 สิงหาคม 2016. สืบค้นเมื่อ 5 กันยายน 2016. Unknown parameter |deadurl= ignored (help)
  3. . NHLBI. 3 กรกฎาคม 2012. คลังข้อมูลเก่า เก็บจาก แหล่งเดิม เมื่อ 16 กันยายน 2016. สืบค้นเมื่อ 5 กันยายน 2016. Unknown parameter |deadurl= ignored (help)
  4. . NHLBI. 3 กรกฎาคม 2012. คลังข้อมูลเก่า เก็บจาก แหล่งเดิม เมื่อ 16 กันยายน 2016. สืบค้นเมื่อ 5 กันยายน 2016. Unknown parameter |deadurl= ignored (help)
  5. GBD 2015 Disease and Injury Incidence and Prevalence, Collaborators. (8 October 2016). "Global, regional, and national incidence, prevalence, and years lived with disability for 310 diseases and injuries, 1990-2015: a systematic analysis for the Global Burden of Disease Study 2015". Lancet. 388 (10053): 1545–1602. PMID 27733282.
  6. GBD 2015 Mortality and Causes of Death, Collaborators. (8 October 2016). "Global, regional, and national life expectancy, all-cause mortality, and cause-specific mortality for 249 causes of death, 1980-2015: a systematic analysis for the Global Burden of Disease Study 2015". Lancet. 388 (10053): 1459–1544. PMID 27733281.
  7. ห้องสมุด E-LIB โรคเลือดจาง ทาลัสซีเมีย. เรียกข้อมูลวันที่ 12 ม.ค. 2553.

แหล่งข้อมูลอื่น

การจำแนกโรค
V · T · D
  • ICD-10: D56
  • ICD-9-CM: 282.4
  • OMIM: 141800 141850 142310 604131 141800 141850 142310 604131
  • MeSH: D013789
  • DiseasesDB: 448
ทรัพยากรภายนอก
  • MedlinePlus: 000587
  • eMedicine: article/958850 article/206490 article/955496 article/396792
  • Patient UK: ทาลัสซีเมีย
  • GeneReviews: Alpha-ThalassemiaBeta-Thalassemia
  • Thalassemia ใน eMedicine.com
  • โรคทาลัสซีเมียในหญิงตั้งครรภ์
  • ทำความรู้จักกับโรคทาลัสซีเมีย (Thalassaemia) ทาลัสซีเมีย
  • GeneReviews/NCBI/NIH/UW entry on Alpha-Thalassemia
  • OMIM etries on Alpha-Thalassemia
  • ทาลัสซีเมีย ที่เว็บไซต์ Curlie
  • Cooley's Anemia Foundation
  • Information on Thalassemia
  • Learning About Thalassemia published by the National Human Genome Research Institute.
  • [1] - A patients' help group and support forum
  • Northern California's Comprehensive Thalassemia Center
  • Thalassemia Community Forum
  • FerriScan - MRI-based test to measure iron overload

ทาล, สซ, เม, โรคเล, อดจาง, งกฤษ, thalassaemia, เป, นโรคเล, อดจางท, สาเหต, มาจากม, ความผ, ดปกต, ทางพ, นธ, กรรม, ทำให, การสร, างโปรต, นท, เป, นส, วนประกอบสำค, ญของเม, ดเล, อดผ, ดปกต, งทำให, เม, ดเล, อดแดงม, อาย, นกว, าปกต, แตกง, าย, กทำลายง, าย, วยท, เป, นโรคน, . orkheluxdcangthalssiemiy xngkvs thalassaemia epnorkheluxdcangthimisaehtumacakmikhwamphidpktithangphnthukrrm thaihmikarsrangoprtinthiepnswnprakxbsakhykhxngemdeluxdphidpkti cungthaihemdeluxdaedngmixayusnkwapkti aetkngay thukthalayngay phupwythiepnorkhnicungmieluxdcangkwakhnthwip orkhniphbidthnghyingaelachayprimanetha kn thaythxdmacakphxaelaaemthangphnthukrrmphbidthwolk aelaphbmakinpraethsithydwyechnknthalssiemiychuxxunThalassaemia Mediterranean anemiafilmeluxdkhxngphupwyorkhthalssiemiychnidedltaebtasakhawichaolhitwithyaxakarrusukxxnephliy mixakarmamot phiwehluxng pssawasiekhm 1 saehtuorkhthangphnthukrrm krrmphnthu 2 withiwinicchytrwceluxd trwcphnthukrrm 3 karrksakarthayeluxd karlangphishlxdeluxd krdoflik 4 khwamchuk280 lankhn ph s 2558 5 karesiychiwit16 800 khn ph s 2558 6 praethsithyphbphupwyorkhnirxyla 1 aelaphbphuthiepnphahanaorkhthungrxyla 30 40 khuxpraman 20 25 lankhn 7 emuxphahaaetngnganknaelaphbyinphidpktirwmkn kxacmilukthiekidorkhniid sungpramankarnwacamikhnithyepnmakthung 500 000 khn orkhnithaihekidolhitcangodyepnkrrmphnthukhxngkarsrangehomoklbin sungmisiaedngaelanaxxksiecnipeliyngrangkayswntang enuxha 1 phyathisrirwithya 2 chnidaelaxakar 2 1 xakar 3 karrksa 3 1 aebbprakhbprakhxng Low Transfusion 3 2 kariheluxdcnhaysid High Transfusion 3 3 plukthayikhkraduk 3 4 karepliynyin 3 5 aenwthangkarpxngknorkhthalssiemiy 4 xangxing 5 aehlngkhxmulxunphyathisrirwithya aekikhthalssiemiyekidcakkhwamphidpktithangphnthukrrmkhxngkarsngekhraahehomoklbinthiekidcakkhwamepliynaeplnginxtrakarsrangsayoprtinoklbin thimixtrakarsrangsayoklbinchnidhnung hruxhlaychnidldlngcarbkwnkarsrangehomoklbinaelathaihekidkhwamimsmdulinkarsrangsayoklbinpktixunchnidaelaxakar aekikhswnniimmikarxangxingcakexksarxangxinghruxaehlngkhxmul oprdchwyphthnaswnniodyephimaehlngkhxmulnaechuxthux enuxhathiimmikarxangxingxacthukkhdkhanhruxnaxxkthalssiemiy aebngxxkepn 2 klumihy idaek aexlfathalssiemiy aela ebtathalssiemiy sungkkhux thamikhwamphidpktikhxngsayaexlfa keriykaexlfathalssiemiy aelathamikhwamphidpktikhxngsayebtakeriykebtathalssiemiyaexlfathalssiemiy aexlfathalssiemiy ekidkhunenuxngcakehomoklbininsayaexlfamikarsrangphidpkti odypktiaelwcamiaehlngrabadxyuinaethbtawnxxkechiyngitepnhlk idaek ithy cin filippins aelabangswnkhxngaexfrikatxnitkhwamphidpktiekiywkbkarsrangsayaexlfa odypktiaelwsayaexlfa 1 saycakahndodyyin 1 khu 2yin dngnithamikhwamphidpktiekiywkbyininkarsrangsayaexlfa 1 yin caimmixakarid aetcaepnphahathisngyinniipynglukhlan thamikhwamphidpktiekiywkbyininkarsrangsayaexlfa 2 yin camiphawasidephiyngelknxy aetimcaepntxngidrbkarrksa thamikhwamphidpktiekiywkbyininkarsrangsayaexlfa 3 yin caekidphawasididtngaetrunaerngnxy cnthungrunaerngmak bangkhrngeriykwaehomoklbin H sungxaccaepntxngidrbeluxd thamikhwamphidpktiekiywkbyininkarsrangsayaexlfa 4 yin caesiychiwitphayinrayaewlasnphayhlngcakekidxxkma eriykwa ehomoklbinbartebtathalssiemiy ebtathalssiemiycaekidkhunemuxsayebtainehomoklbinnnsrangimsmburn dngnnehomoklbincungkhnsngxxksiecnidldlng inebtathalssiemiysamarthaebngxxkidepnhlaychnidyxy khunxyukbkhwamsmburnkhxngyininkarsrangsayebtaaehlngrabadkhxngebtathalssiemiyidaek exechiytawnxxkechiyngitaelaaethbemdietxereniynthamiyinthisrangsayebtaidimsmburn 1 say caksayebta 2say xaccamiphawasidephiyngelknxy sungxacimcaepntxngidrbkarrksathamiyinthisrangsayebtaidimsmburnthng 2 say caksayebtathng2say phawasidxacmikhwamrunaerngidpanklangthungmak inkrniniekidcakidrbyinthiphidpktimacakthngphxaelaaemthamiphawasidpanklang caepntxngidrbeluxdbxy odypktiaelwsamarthmichiwitidcnthungwyphuihy aetthamiphawasidthirunaerngmkcaesiychiwitkxnenuxngcaksidmak thaepnrunaerngxakarmkcaerimtntngaetxayu 6 eduxnaerkhlngekid aetthaedkidrbeluxdxyangsmaesmxtngaetaerkerimkmkcamichiwitxyuidnanmakkhun aetxyangirktamkmkcaesiychiwitenuxngcakxwywatangthukthalay echnhwic aelatb xakar aekikh camixakarsid takhawsiehluxng twehluxng tbot mamot phiwhnngdakhla kradukibhnacaepliynrup micmukaebn kaohlksirsahna ohnkaekmnunsung khangaelakhakrrikrkwangihy fnbnyun kradukbang epraa hkngay rangkayecriyetibotchakwakhnpkti aekhraaekrn thxngpxng inpraethsithymiphuepnorkhpramanrxyla 1 khxngprachakrhruxpraman 6 aesnkhnorkheluxdcangthalssiemiymixakartngaetimmixakarid cnthungmixakarrunaerngmakthithaihesiychiwittngaetxyuinkhrrphhruxhlngkhlxdimekin 1 wn phuthimixakarcasidmakhruxmieluxdcangmak txngiheluxdepnpraca hruxmiphawatidechuxbxy hruxmiikhepnhwdbxy id maknxyaelwaetchnidkhxngthalssiemiysungmihlayrupaebb thngaexlfa thalssiemiy aelaebta thalssiemiykarrksa aekikhswnniimmikarxangxingcakexksarxangxinghruxaehlngkhxmul oprdchwyphthnaswnniodyephimaehlngkhxmulnaechuxthux enuxhathiimmikarxangxingxacthukkhdkhanhruxnaxxkihrbprathanwitaminoflikh B9 wnlaemd iheluxdemuxphupwysidmakaelamixakarkhxngkarkhadeluxd tdmamemuxtxngrbeluxdbxy aelamamotmakcnmixakarxudxdaennthxng kinxaharidnxy imkhwrrbprathanyabarungeluxdthimithatuehlk phupwythixakarrunaerngsidmak txngiheluxdbxymakcamiphawaehlkekin xactxngchidyakhbehlkaebbprakhbprakhxng Low Transfusion aekikh ephuxephimradbehomoklbiniwinradbhnung imihedkxxnephliycakkarkhadxxksiecn sungcathaihedkimetibot kariheluxdcnhaysid High Transfusion aekikh radbehomoklbinsungiklekhiyngkhnpkti sungxactxngiheluxdthukspdah 2 3 khrng cnradbehomoklbinxyuineknthdi aelatxipcaihsmaesmxthuk 2 3 spdah phayitkarkhwbkhumkhxngaephthy thaihtngaetxayunxyinedkthiepnchnidrunaerng capxngknkarepliynaeplngkhxngibhnaedk ekhacaetibotmiruprangaekhngaerngdi hnatadi twimetiy tbaelamamimot aephthycaphicarnaepnray odyramdrawngphlaethrksxncakkariheluxdbxyaelacatxngihyakhbehlk sungxacsasmidcakkariheluxdbxykhrngnxkcakkariheluxddngklaw bangraythimixakarmamotmakcntxngiheluxdthi cakkarthiemdeluxdaedngthukthalayinmammak txngtdmamxxkaetcamikarpxngknkartidechuxthixacmitammadwy plukthayikhkraduk aekikh odykarplukthayeslltnkaenidkhxngemdeluxd sungnamaichinpraethsithyaelwprasbkhwamsaerc echnediywkbkarplukthayikhkraduk sungthasaercinpraethsithyaelwhlayray edk kecriyetibotpktiehmuxnedkthrrmda odyhlkkarkhux naikhkradukmacakphinxnginphxaemediywkn tangephskichid namatrwckhwamehmaasmthangkaraephthyhlayprakar aeladaeninkarchwyehlux karepliynyin aekikh nxkcakniyngmiethkhonolyithnsmylasudkhuxkarepliynyin sungkalngdaeninkarwicyxyu aenwthangkarpxngknorkhthalssiemiy aekikh cdihmikarfukxbrmbukhlakrthangkaraephthy ephuxcaidmikhwamru khwamsamarthinkarwinicchy hruxihkhapruksaorkhthalssiemiyidthukwithi cdihmikarihkhwamruprachachn ekiywkborkhthalssiemiy ephuxcaidthakarkhnhaklumthimikhwamesiyng aelaihkhaaenanaaekphuthiepnorkhthalthsiemiy inkarptibtitwidxyangthukwithi cdihmikarihkhapruksaaekkhusmrs mikartrwceluxdkhusmrs ephuxtrwchaechuxorkhthalthsiemiy aelacaidihkhapruksathungkhwamesiyng thicathaihekidorkhthalthsiemiyid rwmthungkaraenana aelakarkhwbkhumkaenidthiehmaasm sahrbraythimikartrwcphbwaepnorkhthalssiemiyaelwepntnxangxing aekikh What Are the Signs and Symptoms of Thalassemias NHLBI 3 krkdakhm 2012 khlngkhxmuleka ekbcak aehlngedim emux 16 knyayn 2016 subkhnemux 5 knyayn 2016 Unknown parameter deadurl ignored help What Causes Thalassemias NHLBI 3 krkdakhm 2012 khlngkhxmuleka ekbcak aehlngedim emux 26 singhakhm 2016 subkhnemux 5 knyayn 2016 Unknown parameter deadurl ignored help How Are Thalassemias Diagnosed NHLBI 3 krkdakhm 2012 khlngkhxmuleka ekbcak aehlngedim emux 16 knyayn 2016 subkhnemux 5 knyayn 2016 Unknown parameter deadurl ignored help How Are Thalassemias Treated NHLBI 3 krkdakhm 2012 khlngkhxmuleka ekbcak aehlngedim emux 16 knyayn 2016 subkhnemux 5 knyayn 2016 Unknown parameter deadurl ignored help GBD 2015 Disease and Injury Incidence and Prevalence Collaborators 8 October 2016 Global regional and national incidence prevalence and years lived with disability for 310 diseases and injuries 1990 2015 a systematic analysis for the Global Burden of Disease Study 2015 Lancet 388 10053 1545 1602 PMID 27733282 GBD 2015 Mortality and Causes of Death Collaborators 8 October 2016 Global regional and national life expectancy all cause mortality and cause specific mortality for 249 causes of death 1980 2015 a systematic analysis for the Global Burden of Disease Study 2015 Lancet 388 10053 1459 1544 PMID 27733281 hxngsmud E LIB orkheluxdcang thalssiemiy eriykkhxmulwnthi 12 m kh 2553 http elib fda moph go th library default asp page news detail amp id 357 http www elib online com doctors47 ped thalassemia001 html http advisor anamai moph go th healthteen health02 html http thaifittips com blog p 71aehlngkhxmulxun aekikhkarcaaenkorkhV T DICD 10 D56ICD 9 CM 282 4OMIM 141800 141850 142310 604131 141800 141850 142310 604131MeSH D013789DiseasesDB 448thrphyakrphaynxkMedlinePlus 000587eMedicine article 958850 article 206490 article 955496 article 396792Patient UK thalssiemiyGeneReviews Alpha ThalassemiaBeta ThalassemiaThalassemia in eMedicine com orkhthalssiemiyinhyingtngkhrrph thakhwamruckkborkhthalssiemiy Thalassaemia thalssiemiy GeneReviews NCBI NIH UW entry on Alpha Thalassemia OMIM etries on Alpha Thalassemia thalssiemiy thiewbist Curlie Cooley s Anemia Foundation Information on Thalassemia Learning About Thalassemia published by the National Human Genome Research Institute 1 A patients help group and support forum Northern California s Comprehensive Thalassemia Center Thalassemia Community Forum FerriScan MRI based test to measure iron overloadekhathungcak https th wikipedia org w index php title thalssiemiy amp oldid 8864188, wikipedia, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด,

บทความ

, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม