fbpx
วิกิพีเดีย

น้ำดี

น้ำดี (bile or gall) เป็นของเหลวสีเหลืองหรือเขียว มีรสขม หลั่งออกมาจากเซลล์ตับ (hepatocyte) ที่อยู่ในตับของสัตว์มีกระดูกสันหลังเกือบทุกชนิด ในสัตว์หลายชนิด น้ำดีจะถูกเก็บไว้ที่ถุงน้ำดีในระหว่างมื้ออาหาร และเมื่อมีการรับประทานอาหารน้ำดีจะถูกปล่อยออกมาเข้าสู่ลำไส้เล็กส่วนต้น (duodenum) ที่ซึ่งน้ำดีจะไปทำหน้าที่ช่วยในการย่อยอาหารจำพวกลิพิด

องค์ประกอบของน้ำดี

น้ำดีประกอบด้วยสารต่างๆ ซึ่งสังเคราะห์มาจากเซลล์ตับ เช่น

  • น้ำ
  • คอเลสเตอรอล
  • ฟอสโฟลิพิด (Phospholipids) (ส่วนใหญ่จะเป็นเลซิติน)
  • บิลิน (Bilin) หรือรงควัตถุน้ำดี (บิลิรูบินไดกลูโคโรไนด์ (bilirubin diglucoronoide))
  • เกลือน้ำดี (โซเดียมไกลโคโคเลตและโซเดียมทอโรโคเลต)
  • ไบคาร์บอเนตไอออน

เกลือน้ำดีคือโซเดียมไกลโคโคเลต (sodium glycocholate) และโซเดียมทอโรโคเลต (sodium taurocholate) ถูกสร้างขึ้นมาจากคอเลสเตอรอลโดยตับ สารเหล่านี้จะถูกหลั่งเป็นน้ำดีโดยเซลล์ตับโดยผ่านทางท่อน้ำดีย่อย (bile canaliculi) ไหลมารวมกันเป็นท่อน้ำดี (bile duct) เข้าสู่ถุงน้ำดี

โดยทั่วไปแล้วความเข้มข้นของเกลือน้ำดีในน้ำดีคิดเป็น 0.8% อย่างไรก็ตามถุงน้ำดีสามารถดูดน้ำกลับเข้าไปเพื่อทำให้น้ำดีเข้มข้นในระหว่างมื้ออาหาร น้ำดีสามารถมีความเข้มข้นเพิ่มขึ้นได้ถึง 5 เท่าจากปกติ (คือเพิ่มเป็นความเข้มข้น 4%) ก่อนที่จะมีการบีบตัวของถุงน้ำดีเพื่อขับน้ำดีออกมายังลำไส้เล็กส่วนต้นเมื่ออาหารผ่านเข้ามาในลำไส้เล็ก

การผลิต

 
แผนภาพของระบบทางเดินอาหารแสดงท่อน้ำดี

น้ำดีถูกผลิตขึ้นจากเซลล์ตับ (hepatocyte) ซึ่งอยู่ภายในตับ และถูกลำเลียงผ่านออกมาทางท่อน้ำดีตับ (bile duct) ซึ่งแทรกอยู่ภายในตับ ซึ่งระหว่างกระบวนการเหล่านี้ เนื้อเยื่อบุผิวจะหลั่งสารละลายซึ่งประกอบด้วยไบคาร์บอเนตเพื่อเจือจางและเพิ่มความเป็นเบสแก่สารละลาย จากนั้นน้ำดีจะไหลผ่านท่อน้ำดีใหญ่ในตับ (common hepatic duct) ซึ่งจะมาเชื่อมรวมกับท่อถุงน้ำดี (cystic duct) ซึ่งมาจากถุงน้ำดี กลายเป็นท่อน้ำดีใหญ่ (common bile duct) ท่อน้ำดีใหญ่จากนั้นจะไปรวมกับท่อตับอ่อน (pancreatic duct) แล้วเปิดเข้าสู่ลำไส้เล็กส่วนต้น ซึ่งมีหูรูดเรียกว่า สฟิงคเตอร์ ออฟ ออดดี (sphincter of Oddi) หากหูรูดนี้ปิด น้ำดีจะถูกกั้นไม่ให้ไหลเข้าไปยังลำไส้แต่จะไหลเข้าไปในถุงน้ำดี ซึ่งเป็นอวัยวะที่ทำหน้าที่เก็บและทำให้น้ำดีเข้มข้นมากถึง 5 เท่าในระหว่างมื้ออาหาร กระบวนการที่ทำให้น้ำดีเข้มข้นนั้นเกิดขึ้นจากการดูดซึมน้ำและอิเล็กโตรไลท์ขนาดเล็กโดยเซลล์เยื่อบุท่อน้ำดี โดยยังคงเหลือสารชีวโมเลกุลเดิมอยู่ในน้ำดี คอเลสเตอรอลถูกปล่อยออกมากับน้ำดีและละลายในกรดและไขมันที่พบในสารละลายที่เข้มข้นนั้น เมื่อใดก็ตามที่อาหารถูกปล่อยออกมาจากกระเพาะอาหารเข้าสู่ลำไส้เล็กส่วนต้นในรูปของไคม์ (chyme) ถุงน้ำดีจะปล่อยน้ำดีที่เข้มข้นนั้นเพื่อช่วยในการย่อยอาหารให้สมบูรณ์

ตับของมนุษย์สามารถผลิตน้ำดีได้เกือบ 1 ลิตรต่อวัน (ขึ้นกับขนาดร่างกาย) 95% ของเกลือที่หลั่งออกมาในน้ำดีนั้นจะถูกดูดซึมกลับที่ส่วนปลายของลำไส้เล็กส่วนปลาย (terminal ileum) เพื่อนำกลับมาใช้ใหม่ เลือดจากลำไส้เล็กส่วนปลายจะไหลเข้าสู่หลอดเลือดดำพอร์ทัล (hepatic portal vein) และกลับเข้าสู่ตับที่ซึ่งเซลล์ตับดูดซึมเกลือและนำเกลือกลับเข้าท่อน้ำดีเพื่อนำกลับมาใช้ใหม่ กระบวนการนำกลับมาใช้ใหม่นี้อาจเกิดขึ้น 2-3 ครั้งในแต่ละมื้ออาหาร

หน้าที่ทางสรีรวิทยา

เกลือน้ำดีประกอบด้วยส่วนชอบน้ำ (hydrophilic side) และส่วนไม่ชอบน้ำ (hydrophobic side) ทำให้โมเลกุลของเกลือมีแนวโน้มรวมตัวกันเป็นไมเซลล์ (micelles) ซึ่งเป็นโครงสร้างที่หันส่วนไม่ชอบน้ำเข้าสู่ตรงกลางและหันด้านชอบน้ำออกด้านนอก ตรงกลางของไมเซลล์เหล่านี้เป็นไตรกลีเซอไรด์ซึ่งแตกตัวออกมาจากไขมัน จากนั้นน้ำย่อยไลเปสจากตับอ่อนสามารถเข้าไปย่อยโมเลกุลของไตรกลีเซอไรด์โดยผ่านช่องว่างระหว่างเกลือน้ำดี ซึ่งกระบวนการดังกล่าวจะช่วยเพิ่มพื้นที่ผิวในการย่อยให้มากขึ้น

โดยทั่วไปแล้ว ไมเซลล์ในลำไส้เล็กส่วนต้นจะมีเส้นผ่านศูนย์กลางประมาณ 14-33 ไมโครเมตร อย่างไรก็ตามไมเซลล์อาจมีขนาดเล็กกว่านี้ได้ถึง 160 นาโนเมตร โดยกระบวนการสร้างของมนุษย์

หากว่าน้ำดีไม่ถูกหลั่งออกมาที่ลำไส้เล็กส่วนต้น ลิพิดหลายชนิดจะไม่สามารถถูกย่อยในระหว่างกระบวนการย่อยอาหารได้ และจะผ่านออกมากับอุจจาระ ดังนั้นจึงต้องใช้เวลาในการย่อยไขมันนานขึ้นมากหากไม่มีน้ำดีมาช่วยให้ไขมันแตกตัว น้ำดีจึงเป็นสารที่ช่วยให้กระบวนการย่อยและดูดซึมลิพิดมีประสิทธิภาพมากขึ้น

ดูเพิ่ม

  • ดีหมี
  • น้ำย่อยในลำไส้

อ้างอิง และเชิงอรรถ

อ้างอิง

  • Krejčí, Z (1983). "A contribution to the problems of the pathogenesis and microbial etiology of cholelithiasis". Acta Universitatis Palackianae Olomucensis Facultatis Medicae. 104: 279–286. PMID 6222611. Unknown parameter |coauthors= ignored (|author= suggested) (help)
  • Bowen, R. (November 23, 2001). "Secretion of Bile and the Role of Bile Acids In Digestion". สืบค้นเมื่อ 2007-07-17. Unknown parameter |source= ignored (help)
  • Maton, Anthea (1993). Human Biology and Health. Englewood Cliffs, New Jersey, USA: Prentice Hall. ISBN 0-13-981176-1. Unknown parameter |coauthors= ignored (|author= suggested) (help)

ำด, bile, gall, เป, นของเหลวส, เหล, องหร, อเข, ยว, รสขม, หล, งออกมาจากเซลล, hepatocyte, อย, ในต, บของส, ตว, กระด, กส, นหล, งเก, อบท, กชน, ในส, ตว, หลายชน, จะถ, กเก, บไว, งในระหว, างม, ออาหาร, และเม, อม, การร, บประทานอาหารจะถ, กปล, อยออกมาเข, าส, ลำไส, เล, กส, . nadi bile or gall epnkhxngehlwsiehluxnghruxekhiyw mirskhm hlngxxkmacakeslltb hepatocyte thixyuintbkhxngstwmikraduksnhlngekuxbthukchnid instwhlaychnid nadicathukekbiwthithungnadiinrahwangmuxxahar aelaemuxmikarrbprathanxaharnadicathukplxyxxkmaekhasulaiselkswntn duodenum thisungnadicaipthahnathichwyinkaryxyxaharcaphwkliphid enuxha 1 xngkhprakxbkhxngnadi 2 karphlit 3 hnathithangsrirwithya 4 duephim 5 xangxing aelaechingxrrth 5 1 xangxingxngkhprakxbkhxngnadi aekikhnadiprakxbdwysartang sungsngekhraahmacakeslltb echn na khxelsetxrxl fxsofliphid Phospholipids swnihycaepnelsitin bilin Bilin hruxrngkhwtthunadi bilirubinidkluokhorind bilirubin diglucoronoide ekluxnadi osediymiklokhokheltaelaosediymthxorokhelt ibkharbxentixxxnekluxnadikhuxosediymiklokhokhelt sodium glycocholate aelaosediymthxorokhelt sodium taurocholate thuksrangkhunmacakkhxelsetxrxlodytb sarehlanicathukhlngepnnadiodyeslltbodyphanthangthxnadiyxy bile canaliculi ihlmarwmknepnthxnadi bile duct ekhasuthungnadiodythwipaelwkhwamekhmkhnkhxngekluxnadiinnadikhidepn 0 8 xyangirktamthungnadisamarthdudnaklbekhaipephuxthaihnadiekhmkhninrahwangmuxxahar nadisamarthmikhwamekhmkhnephimkhunidthung 5 ethacakpkti khuxephimepnkhwamekhmkhn 4 kxnthicamikarbibtwkhxngthungnadiephuxkhbnadixxkmaynglaiselkswntnemuxxaharphanekhamainlaiselkkarphlit aekikh aephnphaphkhxngrabbthangedinxaharaesdngthxnadi nadithukphlitkhuncakeslltb hepatocyte sungxyuphayintb aelathuklaeliyngphanxxkmathangthxnaditb bile duct sungaethrkxyuphayintb sungrahwangkrabwnkarehlani enuxeyuxbuphiwcahlngsarlalaysungprakxbdwyibkharbxentephuxecuxcangaelaephimkhwamepnebsaeksarlalay caknnnadicaihlphanthxnadiihyintb common hepatic duct sungcamaechuxmrwmkbthxthungnadi cystic duct sungmacakthungnadi klayepnthxnadiihy common bile duct thxnadiihycaknncaiprwmkbthxtbxxn pancreatic duct aelwepidekhasulaiselkswntn sungmihuruderiykwa sfingkhetxr xxf xxddi sphincter of Oddi hakhurudnipid nadicathukknimihihlekhaipynglaisaetcaihlekhaipinthungnadi sungepnxwywathithahnathiekbaelathaihnadiekhmkhnmakthung 5 ethainrahwangmuxxahar krabwnkarthithaihnadiekhmkhnnnekidkhuncakkardudsumnaaelaxielkotrilthkhnadelkodyeslleyuxbuthxnadi odyyngkhngehluxsarchiwomelkuledimxyuinnadi khxelsetxrxlthukplxyxxkmakbnadiaelalalayinkrdaelaikhmnthiphbinsarlalaythiekhmkhnnn emuxidktamthixaharthukplxyxxkmacakkraephaaxaharekhasulaiselkswntninrupkhxngikhm chyme thungnadicaplxynadithiekhmkhnnnephuxchwyinkaryxyxaharihsmburntbkhxngmnusysamarthphlitnadiidekuxb 1 litrtxwn khunkbkhnadrangkay 95 khxngekluxthihlngxxkmainnadinncathukdudsumklbthiswnplaykhxnglaiselkswnplay terminal ileum ephuxnaklbmaichihm eluxdcaklaiselkswnplaycaihlekhasuhlxdeluxddaphxrthl hepatic portal vein aelaklbekhasutbthisungeslltbdudsumekluxaelanaekluxklbekhathxnadiephuxnaklbmaichihm krabwnkarnaklbmaichihmnixacekidkhun 2 3 khrnginaetlamuxxaharhnathithangsrirwithya aekikhekluxnadiprakxbdwyswnchxbna hydrophilic side aelaswnimchxbna hydrophobic side thaihomelkulkhxngekluxmiaenwonmrwmtwknepnimesll micelles sungepnokhrngsrangthihnswnimchxbnaekhasutrngklangaelahndanchxbnaxxkdannxk trngklangkhxngimesllehlaniepnitrkliesxirdsungaetktwxxkmacakikhmn caknnnayxyilepscaktbxxnsamarthekhaipyxyomelkulkhxngitrkliesxirdodyphanchxngwangrahwangekluxnadi sungkrabwnkardngklawcachwyephimphunthiphiwinkaryxyihmakkhunodythwipaelw imesllinlaiselkswntncamiesnphansunyklangpraman 14 33 imokhremtr xyangirktamimesllxacmikhnadelkkwaniidthung 160 naonemtr odykrabwnkarsrangkhxngmnusyhakwanadiimthukhlngxxkmathilaiselkswntn liphidhlaychnidcaimsamarththukyxyinrahwangkrabwnkaryxyxaharid aelacaphanxxkmakbxuccara dngnncungtxngichewlainkaryxyikhmnnankhunmakhakimminadimachwyihikhmnaetktw nadicungepnsarthichwyihkrabwnkaryxyaeladudsumliphidmiprasiththiphaphmakkhunduephim aekikhdihmi nayxyinlaisxangxing aelaechingxrrth aekikhxangxing aekikh Krejci Z 1983 A contribution to the problems of the pathogenesis and microbial etiology of cholelithiasis Acta Universitatis Palackianae Olomucensis Facultatis Medicae 104 279 286 PMID 6222611 Unknown parameter coauthors ignored author suggested help Bowen R November 23 2001 Secretion of Bile and the Role of Bile Acids In Digestion subkhnemux 2007 07 17 Unknown parameter source ignored help Maton Anthea 1993 Human Biology and Health Englewood Cliffs New Jersey USA Prentice Hall ISBN 0 13 981176 1 Unknown parameter coauthors ignored author suggested help bthkhwamekiywkbchiwekhmi ekhmixinthriy aelaomelkulchiwphaphniyngepnokhrng khunsamarthchwywikiphiediyidodyephimkhxmul bthkhwamekiywkbaephthysastrniyngepnokhrng khunsamarthchwywikiphiediyidodyephimkhxmul duephimthi sthaniyxy aephthysastrekhathungcak https th wikipedia org w index php title nadi amp oldid 9017023, wikipedia, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด,

บทความ

, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม