fbpx
วิกิพีเดีย

บริติชราช

บริติชราช (อังกฤษ: British Raj; ฮินดี: ब्रिटिश राज) หรือเรียกอย่างง่ายว่า อินเดีย หมายถึงการปกครองโดยพระมหากษัตริย์สหราชอาณาจักรในอนุทวีปอินเดียระหว่างปี ค.ศ. 1858 ถึง 1947 ซึ่งบางครั้งก็รู้จักในชื่อ การปกครองโดยตรงในอินเดีย (อังกฤษ: Direct rule in India) ประกอบด้วยการปกครองสองรูปแบบ คือ ดินแดนที่ปกครองโดยเจ้าพื้นเมือง กับดินแดนที่ปกครองโดยรัฐบาลกลางที่ถูกเรียกว่า บริติชอินเดีย แต่ไม่ว่าจะปกครองแบบไหน ดินแดนทั้งหมดล้วนอยู่ในบังคับของสหราชอาณาจักร ด้วยการปกครองแบบสหภาพนี้ ทำให้ในทางการเมืองมักจะเรียกอนุทวีปอินเดียของสหราชอาณาจักรว่า จักรวรรดิอินเดีย ซึ่งชื่อดังกล่าวปรากฏบนหนังสือเดินทางตั้งแต่ปี 1876

อินเดีย

ค.ศ. 1858–1947
ดาราแห่งอินเดีย
แผนที่บริติชราชในปี 1909 เขตสีแดงคือปกครองโดยรัฐบาลอุปราช และสีเหลืองคือปกครองโดยเหล่ามหาราชา
สถานะจักรวรรดิอันประกอบด้วย
บริติชอินเดียกับบรรดารัฐพื้นเมือง
ในพระราชอำนาจของพระมหากษัตริย์บริเตน
เมืองหลวงกัลกัตตา (1858–1911)
นิวเดลี (1911–1947)
ภาษาทั่วไปอังกฤษ, ฮินดี, อูรดู
การปกครองรัฐบาลอาณานิคมบริติช
พระมหากษัตริย์แห่งสหราชอาณาจักรและจักรพรรดิ/จักรพรรดินี 
• 1858–1901
พระนางเจ้าวิกตอเรีย
• 1901–1910
พระเจ้าเอ็ดเวิร์ดที่ 7
• 1910–1936
พระเจ้าจอร์จที่ 5
• 1936
พระเจ้าเอดเวิร์ดที่ 8
• 1936–1947
พระเจ้าจอร์จที่ 6
อุปราชและข้าหลวงฯ 
• 1858–1862 (คนแรก)
ชาลส์ แคนนิง
• 1947 (คนสุดท้าย)
หลุยส์ เมานต์แบ็ตเทน
สภานิติบัญญัติสภานิติบัญญัติในสมเด็จฯ
ประวัติศาสตร์ 
23 มิถุนายน 1757
2 สิงหาคม ค.ศ. 1858
• พ.ร.บ.อิสรภาพของอินเดีย
15 สิงหาคม 1947
• การแบ่งอินเดีย
15 สิงหาคม 1947
พื้นที่
1937[ต้องการอ้างอิง]4,903,312 ตารางกิโลเมตร (1,893,179 ตารางไมล์)
1947[ต้องการอ้างอิง]4,226,734 ตารางกิโลเมตร (1,631,951 ตารางไมล์)
สกุลเงินรูปี
ปัจจุบันเป็นส่วนหนึ่งของ
  1. ตำแหน่งในช่วง 1876–1948.
  2. ชื่อตำแหน่งเต็มคือ "อุปราชและข้าหลวงต่างพระองค์แห่งอินเดีย (Viceroy and Governor-General of India)"

ก่อนหน้ายุคบริติชราช อังกฤษได้ปกครองบรรดาดินแดนในอนุทวีปอินเดียผ่านบริษัทอินเดียตะวันออกกว่าร้อยปี ซึ่งบริษัทนี้มีกองเรือและกองทหารเป็นของตนเอง การปกครองโดยบริษัทฯได้สิ้นสุดลงเมื่อมีการตราพระราชบัญญัติรัฐบาลอินเดีย ค.ศ. 1858 ขึ้น ในการนี้ สมเด็จพระราชินีนาถวิกตอเรียได้สถาปนาพระองค์เป็นจักรพรรดินีนาถแห่งอินเดีย ทรงส่งขุนนางไปปกครองอินเดียในตำแหน่งอุปราชและข้าหลวงต่างพระองค์ ต่อมาภายหลังสงครามโลกครั้งที่สอง ก็ได้มีการแบ่งอินเดียแบ่งออกเป็นสองประเทศในเครือจักรภพคืออินเดีย (ประเทศอินเดียในปัจจุบัน) และปากีสถาน (ประเทศปากีสถานและประเทศบังกลาเทศในปัจจุบัน) ส่วนพม่านั้นได้แยกตัวออกจากรัฐบาลบริติชอินเดียในปี ค.ศ. 1937 และถูกปกครองโดยตรงจากรัฐบาลสหราชอาณาจักรตั้งแต่บัดนั้น

บริติชราชประกอบไปด้วยดินแดนที่เป็นประเทศอินเดียและบังกลาเทศในปัจจุบัน อีกทั้งยังมีเอเดน (1839-1937), พม่าตอนบน (1858-1937), และพม่าตอนล่าง (1886-1937), โซมาลิแลนด์ของบริเตน (1884-98), รัฐทรูเชียล (1820-1947), และ สิงคโปร์ (1858-67) นอกจากนี้ บริติชราชยังมีเขตอำนาจถึงดินแดนในปกครองอังกฤษในตะวันออกกลาง เงินตรารูปีอินเดียใช้กันอย่างแพร่หลายในอนุทวีปอินเดีย อย่างไรก็ตาม ในบรรดาดินแดนในบังคับของอังกฤษเหล่านี้ บริติชซีลอน (ศรีลังกาในปัจจุบัน) มีฐานะเป็นคราวน์โคโลนีที่ไม่ขึ้นกับรัฐบาลอุปราชแห่งอินเดีย

ราชอาณาจักรเนปาลและภูฏาน แม้จะมีความขัดแย้งกับสหราชอาณาจักร แต่ก็ได้ลงนามทำสนธิสัญญากัน และได้รับการยอมรับในฐานะรัฐอิสระและไม่ใช่ส่วนหนึ่งในบริติชราช ราชอาณาจักรสิกขิมได้รับการตั้งให้เป็นรัฐเจ้าครองนครหลังการลงนามในสนธิสัญญาอังกฤษ-สิกขิมในปี 1862 อย่างไรก็ตาม ประเด็นของความเป็นอธิปไตยยังคงไม่ได้กำหนดอะไรทั้งสิ้น. หมู่เกาะมัลดีฟส์เป็นรัฐในอารักขาของบริเตนตั้งแต่ปี 1867 ถึงปี 1965 แต่ไม่ใช่ส่วนหนึ่งในบริติชอินเดีย

เหรียญทองหนึ่งโมอูร์ (เท่ากับ 15 เหรียญเงินรูปี) เป็นเงินตราที่ใช้ในบริติชราชตลอดจนในเนปาลและอัฟกานิสถาน

บริติชอินเดียกับบรรดารัฐพื้นเมือง

อินเดียในยุคของบริติชราช ประกอบด้วยดินแดนสองประเภท คือ บริติชอินเดีย ปกครองและบริหารโดยรัฐบาลกลาง กับ รัฐพื้นเมือง (รัฐมหาราชา) ปกครองโดยเจ้าอินเดียแต่บริหารโดยรัฐบาลกลาง ทั้งนี้ในมาตรา 18 ของพระราชบัญญัติจำกัดความ ค.ศ. 1889 (Interpretation Act) บัญญัติไว้ว่า:

(4.) คำว่า "บริติชอินเดีย" นั้นหมายถึงดินแดนและสถานที่ทั้งปวงในแผ่นดินแว่นแคว้นในสมเด็จฯ ซึ่งขณะนี้อยู่ในปกครองโดยสมเด็จฯผ่านทางข้าหลวงต่างพระองค์แห่งอินเดีย หรือผ่านข้าหลวงหรือเจ้าพนักงานอื่นใดอันขึ้นกับข้าหลวงต่างพระองค์แห่งอินเดีย
(5.) คำว่า "อินเดีย" นั้นหมายถึงบริติชอินเดียพร้อมด้วยดินแดนของบรรดาเจ้าหรือผู้นำพื้นเมืองภายใต้พระราชอำนาจในสมเด็จฯ ซึ่งทรงบริหารผ่านข้าหลวงต่างพระองค์แห่งอินเดีย หรือผ่านข้าหลวงหรือเจ้าพนักงานอื่นใดอันขึ้นกับข้าหลวงต่างพระองค์แห่งอินเดีย

โดยทั่วไป คำว่า "บริติชอินเดีย" นั้นถูกใช้เพื่อสื่อถึงอนุทวีปอินเดียภายใต้การปกครองของบริษัทอินเดียตะวันออกระหว่าง ค.ศ. 1600 ถึง 1858 นอกจากยังคำว่าบริติชอินเดีย ยังใช้สื่อถึงชาวอังกฤษในอินเดียด้วย ส่วนคำว่า "จักรวรรดิอินเดีย" นั้นเป็นคำที่ไม่ถูกใช้ในสารบบกฎหมาย แต่เนื่องจากกษัตริย์อังกฤษทรงปกครองอินเดียในพระอิสริยยศ จักรพรรดิแห่งอินเดีย ดังนั้นเวลากษัตริย์อังกฤษมีพระราชดำรัสไปยังรัฐสภาจึงมักจะเรียกอินเดียว่า "จักรวรรดิอินเดีย" ทั้งนี้ หนังสือเดินทางที่ออกโดยรัฐบาลบริติชอินเดียนั้น ปรากฏคำว่า "Indian Empire" บนปก และปรากฏคำว่า "Empire of India" อยู่ด้านใน นอกจากนี้ยังมีการสถาปนาเครื่องราชอิสริยาภรณ์ที่มีชื่อว่า เครื่องราชอิสริยาภรณ์อันสูงส่งยิ่งแห่งจักรวรรดิอินเดีย ด้วย

เขตการปกครอง

ดูเพิ่มได้ที่: เขตปกครองและมณฑลของบริติชอินเดีย
+ เขตการปกครองและประชากร (เฉพาะที่ขึ้นตรงกับรัฐบาลอุปราชเท่านั้น ไม่รวมรัฐพื้นเมือง)
มณฑลของบริติชอินเดีย
(ในวงเล็บคือดินแดนในปัจจุบัน)
พื้นที่ (ตร.กม.) ประชากร
ปี 1901
อัสสัม
(รัฐอัสสัม, รัฐอรุณาจัลประเทศ, รัฐเมฆาลัย, รัฐมิโซรัม, รัฐนาคาแลนด์)
130,000 6 ล้านคน
เบงกอล
(ประเทศบังกลาเทศ, รัฐเบงกอลตะวันตก, รัฐพิหาร, รัฐฌารขัณฑ์ และรัฐโอริศา)
390,000 75 ล้านคน
บอมเบย์
(แคว้นสินธิและบางส่วนของรัฐมหาราษฏระ, รัฐคุชราต และรัฐกรณาฏกะ)
320,000 19 ล้านคน
พม่า
(ประเทศพม่า)
440,000 9 ล้านคน
มณฑลกลาง
(รัฐมัธยประเทศและรัฐฉัตตีสครห์)
270,000 13 ล้านคน
มัทราส
(รัฐทมิฬนาฑูและบางส่วนของรัฐอานธรประเทศ, รัฐเกรละ, รัฐกรณาฏกะ และ รัฐโอริศา)
370,000 38 ล้านคน
ปัญจาบ
(แคว้นปัญจาบ, กรุงอิสลามาบาด, รัฐปัญจาบ, รัฐหรยาณา, รัฐหิมาจัลประเทศ, รัฐฉัตติสครห์ และเดลี)
250,000 20 ล้านคน
สหมณฑล
(รัฐอุตตรประเทศและรัฐอุตตราขัณฑ์)
280,000 48 ล้านคน

ธงที่เกี่ยวข้อง

อ้างอิง

  1. British Empire - Relations with Bhutan
  2. British Empire - Relations with Nepal
  3. "Sikkim." Encyclopædia Britannica. 2007. Encyclopædia Britannica Online. 5 Aug. 2007 <http://www.britannica.com/eb/article-46212>.
  4. Interpretation Act 1889 (52 & 53 Vict. c. 63), s. 18.
  5. British Indian Passport of Muhammad Ali Jinnah
  6. Imperial Gazetteer of India vol. IV 1907, p. 46

บร, ชราช, บทความน, างอ, งคร, สต, กราช, คร, สต, ทศวรรษ, คร, สต, ศตวรรษ, งเป, นสาระสำค, ญของเน, อหา, งกฤษ, british, นด, หร, อเร, ยกอย, างง, ายว, นเด, หมายถ, งการปกครองโดยพระมหากษ, ตร, สหราชอาณาจ, กรในอน, ทว, ปอ, นเด, ยระหว, างป, 1858, 1947, งบางคร, งก, กในช, การ. bthkhwamnixangxingkhristskrach khristthswrrs khriststwrrs sungepnsarasakhykhxngenuxha britichrach xngkvs British Raj hindi ब र ट श र ज hruxeriykxyangngaywa xinediy hmaythungkarpkkhrxngodyphramhakstriyshrachxanackrinxnuthwipxinediyrahwangpi kh s 1858 thung 1947 sungbangkhrngkruckinchux karpkkhrxngodytrnginxinediy xngkvs Direct rule in India prakxbdwykarpkkhrxngsxngrupaebb khux dinaednthipkkhrxngodyecaphunemuxng kbdinaednthipkkhrxngodyrthbalklangthithukeriykwa britichxinediy aetimwacapkkhrxngaebbihn dinaednthnghmdlwnxyuinbngkhbkhxngshrachxanackr dwykarpkkhrxngaebbshphaphni thaihinthangkaremuxngmkcaeriykxnuthwipxinediykhxngshrachxanackrwa ckrwrrdixinediy sungchuxdngklawpraktbnhnngsuxedinthangtngaetpi 1876xinediykh s 1858 1947thngchati daraaehngxinediyephlngchati God Save the King Queenaephnthibritichrachinpi 1909 ekhtsiaedngkhuxpkkhrxngodyrthbalxuprach aelasiehluxngkhuxpkkhrxngodyehlamharachasthanackrwrrdixnprakxbdwy britichxinediykbbrrdarthphunemuxng inphrarachxanackhxngphramhakstriybrietnemuxnghlwngklktta 1858 1911 niwedli 1911 1947 phasathwipxngkvs hindi xurdukarpkkhrxngrthbalxananikhmbritichphramhakstriyaehngshrachxanackraelackrphrrdi ckrphrrdinik 1858 1901phranangecawiktxeriy 1901 1910phraecaexdewirdthi 7 1910 1936phraecacxrcthi 5 1936phraecaexdewirdthi 8 1936 1947phraecacxrcthi 6xuprachaelakhahlwngkh 1858 1862 khnaerk chals aekhnning 1947 khnsudthay hluys emantaebtethnsphanitibyytisphanitibyytiinsmedcprawtisastr yuththkarthiplasi23 mithunayn 1757 ph r b rthbalxinediy2 singhakhm kh s 1858 ph r b xisrphaphkhxngxinediy15 singhakhm 1947 karaebngxinediy15 singhakhm 1947phunthi1937 txngkarxangxing 4 903 312 tarangkiolemtr 1 893 179 tarangiml 1947 txngkarxangxing 4 226 734 tarangkiolemtr 1 631 951 tarangiml skulenginrupikxnhna thdipkarpkkhrxngkhxngbristhinxinediyckrwrrdiomkulexmiertxfkanisthanthiphkxasykhxngxawepxresiy praethsxinediyinekhruxckrphphpraethspakisthaninekhruxckrphphphmakhxngbrietnrththruechiylxananikhmexednkatarchikhdxmaehngkhuewtbahernrthsultanmsktaelaoxmanpccubnepnswnhnungkhxng bahern bngklaeths cin xihran xinediy khuewt phma oxman pakisthan katar saxudixaraebiy shrthxahrbexmierts eyemntaaehnnginchwng 1876 1948 chuxtaaehnngetmkhux xuprachaelakhahlwngtangphraxngkhaehngxinediy Viceroy and Governor General of India kxnhnayukhbritichrach xngkvsidpkkhrxngbrrdadinaedninxnuthwipxinediyphanbristhxinediytawnxxkkwarxypi sungbristhnimikxngeruxaelakxngthharepnkhxngtnexng karpkkhrxngodybristhidsinsudlngemuxmikartraphrarachbyytirthbalxinediy kh s 1858 khun inkarni smedcphrarachininathwiktxeriyidsthapnaphraxngkhepnckrphrrdininathaehngxinediy thrngsngkhunnangippkkhrxngxinediyintaaehnngxuprachaelakhahlwngtangphraxngkh txmaphayhlngsngkhramolkkhrngthisxng kidmikaraebngxinediyaebngxxkepnsxngpraethsinekhruxckrphphkhuxxinediy praethsxinediyinpccubn aelapakisthan praethspakisthanaelapraethsbngklaethsinpccubn swnphmannidaeyktwxxkcakrthbalbritichxinediyinpi kh s 1937 aelathukpkkhrxngodytrngcakrthbalshrachxanackrtngaetbdnnbritichrachprakxbipdwydinaednthiepnpraethsxinediyaelabngklaethsinpccubn xikthngyngmiexedn 1839 1937 phmatxnbn 1858 1937 aelaphmatxnlang 1886 1937 osmaliaelndkhxngbrietn 1884 98 rththruechiyl 1820 1947 aela singkhopr 1858 67 nxkcakni britichrachyngmiekhtxanacthungdinaedninpkkhrxngxngkvsintawnxxkklang engintrarupixinediyichknxyangaephrhlayinxnuthwipxinediy xyangirktam inbrrdadinaedninbngkhbkhxngxngkvsehlani britichsilxn srilngkainpccubn mithanaepnkhrawnokholnithiimkhunkbrthbalxuprachaehngxinediyrachxanackrenpalaelaphutan aemcamikhwamkhdaeyngkbshrachxanackr aetkidlngnamthasnthisyyakn aelaidrbkaryxmrbinthanarthxisraaelaimichswnhnunginbritichrach 1 2 rachxanackrsikkhimidrbkartngihepnrthecakhrxngnkhrhlngkarlngnaminsnthisyyaxngkvs sikkhiminpi 1862 xyangirktam praednkhxngkhwamepnxthipityyngkhngimidkahndxairthngsin 3 hmuekaamldifsepnrthinxarkkhakhxngbrietntngaetpi 1867 thungpi 1965 aetimichswnhnunginbritichxinediy ehriyythxnghnungomxur ethakb 15 ehriyyenginrupi epnengintrathiichinbritichrachtlxdcninenpalaelaxfkanisthan enuxha 1 britichxinediykbbrrdarthphunemuxng 2 ekhtkarpkkhrxng 3 thngthiekiywkhxng 4 xangxingbritichxinediykbbrrdarthphunemuxng aekikhxinediyinyukhkhxngbritichrach prakxbdwydinaednsxngpraephth khux britichxinediy pkkhrxngaelabriharodyrthbalklang kb rthphunemuxng rthmharacha pkkhrxngodyecaxinediyaetbriharodyrthbalklang thngniinmatra 18 khxngphrarachbyyticakdkhwam kh s 1889 Interpretation Act byytiiwwa 4 khawa britichxinediy nnhmaythungdinaednaelasthanthithngpwnginaephndinaewnaekhwninsmedc sungkhnanixyuinpkkhrxngodysmedcphanthangkhahlwngtangphraxngkhaehngxinediy hruxphankhahlwnghruxecaphnknganxunidxnkhunkbkhahlwngtangphraxngkhaehngxinediy 5 khawa xinediy nnhmaythungbritichxinediyphrxmdwydinaednkhxngbrrdaecahruxphunaphunemuxngphayitphrarachxanacinsmedc sungthrngbriharphankhahlwngtangphraxngkhaehngxinediy hruxphankhahlwnghruxecaphnknganxunidxnkhunkbkhahlwngtangphraxngkhaehngxinediy 4 odythwip khawa britichxinediy nnthukichephuxsuxthungxnuthwipxinediyphayitkarpkkhrxngkhxngbristhxinediytawnxxkrahwang kh s 1600 thung 1858 nxkcakyngkhawabritichxinediy yngichsuxthungchawxngkvsinxinediydwy swnkhawa ckrwrrdixinediy nnepnkhathiimthukichinsarbbkdhmay aetenuxngcakkstriyxngkvsthrngpkkhrxngxinediyinphraxisriyys ckrphrrdiaehngxinediy dngnnewlakstriyxngkvsmiphrarachdarsipyngrthsphacungmkcaeriykxinediywa ckrwrrdixinediy thngni hnngsuxedinthangthixxkodyrthbalbritichxinediynn praktkhawa Indian Empire bnpk aelapraktkhawa Empire of India xyudanin 5 nxkcakniyngmikarsthapnaekhruxngrachxisriyaphrnthimichuxwa ekhruxngrachxisriyaphrnxnsungsngyingaehngckrwrrdixinediy dwyekhtkarpkkhrxng aekikhduephimidthi ekhtpkkhrxngaelamnthlkhxngbritichxinediy ekhtkarpkkhrxngaelaprachakr echphaathikhuntrngkbrthbalxuprachethann imrwmrthphunemuxng 6 mnthlkhxngbritichxinediy inwngelbkhuxdinaedninpccubn phunthi tr km prachakr pi 1901xssm rthxssm rthxrunaclpraeths rthemkhaly rthmiosrm rthnakhaaelnd 130 000 6 lankhnebngkxl praethsbngklaeths rthebngkxltawntk rthphihar rthcharkhnth aelarthoxrisa 390 000 75 lankhnbxmeby aekhwnsinthiaelabangswnkhxngrthmharastra rthkhuchrat aelarthkrnatka 320 000 19 lankhnphma praethsphma 440 000 9 lankhnmnthlklang rthmthypraethsaelarthchttiskhrh 270 000 13 lankhnmthras rththmilnathuaelabangswnkhxngrthxanthrpraeths rthekrla rthkrnatka aela rthoxrisa 370 000 38 lankhnpycab aekhwnpycab krungxislamabad rthpycab rthhryana rthhimaclpraeths rthchttiskhrh aelaedli 250 000 20 lankhnshmnthl rthxuttrpraethsaelarthxuttrakhnth 280 000 48 lankhnthngthiekiywkhxng aekikh thngckrwrrdixinediy epnthngxyangimepnthangkarsahrbichnxkxinediy thngnawi thngkhahlwngtangphraxngkhaehngxinediyxangxing aekikh British Empire Relations with Bhutan British Empire Relations with Nepal Sikkim Encyclopaedia Britannica 2007 Encyclopaedia Britannica Online 5 Aug 2007 lt http www britannica com eb article 46212 gt Interpretation Act 1889 52 amp 53 Vict c 63 s 18 British Indian Passport of Muhammad Ali Jinnah Imperial Gazetteer of India vol IV 1907 p 46 bthkhwamekiywkbprawtisastrniyngepnokhrng khunsamarthchwywikiphiediyidodyephimkhxmul duephimthi sthaniyxy prawtisastrekhathungcak https th wikipedia org w index php title britichrach amp oldid 9470608, wikipedia, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด,

บทความ

, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม