fbpx
วิกิพีเดีย

บันไดระยะห่างของจักรวาล

บันไดระยะห่างของจักรวาล (อังกฤษ: Cosmic distance ladder หรือ Extragalactic Distance Scale) เป็นกระบวนการต่อเนื่องที่นักดาราศาสตร์ใช้ในการบรรยายระยะห่างของวัตถุท้องฟ้า การวัดระยะทางโดยตรงที่แท้จริงของเทหวัตถุหนึ่งๆ จะทำได้ก็ต่อเมื่อวัตถุนั้นอยู่ "ใกล้" กับโลกพอที่จะทำได้เท่านั้น (คือระยะไม่เกินหนึ่งพันพาร์เซก) ดังนั้นเทคนิคในการอธิบายถึงระยะห่างของวัตถุที่อยู่ไกลกว่านั้นจึงต้องใช้วิธีการหลากหลายโดยอาศัยความสัมพันธ์กับวัตถุใกล้เคียง กระบวนการต่างๆ เหล่านั้นจะอิงอยู่กับ เทียนมาตรฐาน ซึ่งหมายถึงวัตถุดาราศาสตร์ที่ทราบค่าความส่องสว่างที่แน่นอน

แผนภูมิบันไดระยะห่างของจักรวาล

การวัดระยะห่างโดยตรง

ที่ฐานล่างสุดของบันไดจะเป็นการวัดระยะห่างแบบพื้นฐานซึ่งเป็นการวัดระยะห่างโดยตรงโดยไม่ต้องใช้สมมุติฐานทางฟิสิกส์ใดๆ มาช่วยเนื่องจากธรรมชาติของวัตถุที่ยังไม่แน่ชัด การวัดตำแหน่งที่แน่นอนของดาวฤกษ์เป็นส่วนหนึ่งของสาขาพื้นฐานในวิชามาตรดาราศาสตร์

หน่วยดาราศาสตร์

ดูบทความหลักที่: หน่วยดาราศาสตร์

การวัดระยะห่างโดยตรงกระทำได้โดยอิงกับระยะห่างมาตรฐานที่ทราบค่าแน่นอน คือระยะห่างจากโลกถึงดวงอาทิตย์ ซึ่งเรียกชื่อว่า หน่วยดาราศาสตร์ ในประวัติศาสตร์ การสังเกตการณ์การเคลื่อนที่ของดาวศุกร์เป็นสิ่งสำคัญในการระบุระยะหน่วยดาราศาสตร์ในช่วงครึ่งแรกของคริสต์ศตวรรษที่ 20 รวมไปถึงการสังเกตการณ์ดาวเคราะห์น้อยด้วย แต่ปัจจุบันเราสามารถระบุระยะหน่วยดาราศาสตร์ได้อย่างแม่นยำโดยใช้เครื่องมือวัดเรดาร์ของดาวศุกร์และดาวเคราะห์อื่นข้างเคียงร่วมกับดาวเคราะห์น้อย รวมถึงการติดตามสัญญาณจากยานอวกาศสำรวจดาวเคราะห์ที่ออกไปโคจรรอบดวงอาทิตย์ตลอดระยะต่างๆ ในระบบสุริยะ กฎของเคปเลอร์ช่วยให้เราทราบสัดส่วนแน่ชัดระหว่างขนาดวงโคจรของวัตถุต่างๆ ที่โคจรรอบดวงอาทิตย์ แต่ไม่อาจทราบระยะวงโคจรนั้นๆ เอง เรดาร์ช่วยให้เราระบุตัวเลขได้เป็นหน่วยกิโลเมตรสำหรับระยะห่างระหว่างวงโคจร จากนั้นเมื่อนำมาคำนวณร่วมกับสัดส่วนขนาดวงโคจรก็ทำให้เราสามารถคำนวณระยะห่างวงโคจรของโลกได้อย่างถูกต้อง

พารัลแลกซ์

ดูบทความหลักที่: พารัลแลกซ์

ท้องฟ้าในเวลากลางคืนที่เต็มไปด้วยดาวฤกษ์ระยิบระยับอยู่มากมาย นัก ดาราศาสตร์ได้พบวิธีที่จะวัดระยะห่างของดาวฤกษ์เหล่านี้โดยวิธีการใช้ แพรัลแลกซ์(Parallax)

แพรัลแลกซ์ คือการย้ายตำแหน่งปรากฏ ของวัตถุเมื่อผู้สังเกตอยู่ในตำแหน่งต่างกัน

นักวิทยาศาสตร์ใช้ปรากฏการณ์แพรัลแลกซ์ในการวัดระยะทางของดาวฤกษ์ที่อยู่ใกล้เคียงกับเรา โดยการสังเกตดาวฤกษ์ดวงที่เราต้องการวัดระยะทางในวันที่โลกอยู่ด้านหนึ่งของดวงอาทิตย์ และสังเกตดาวฤกษ์ดวงนั้นอีกครั้งเมื่อโลกโคจรมาอยู่อีกด้านหนึ่งของดวงอาทิตย์ ในอีก 6 เดือนถัดไป นักดาราศาสตร์สามารถวัดได้ว่าดาวฤกษ์ดวงนั้นย้ายตำแหน่งปรากฏไปเท่าไรโดยเทียบกับดาวฤกษ์ที่อยู่เบื้องหลังซึ่งอยู่ห่างไกลเรามาก ยิ่งตำแหน่งปรากฏย้ายไปมากเท่าใด แสดงว่าดาวฤกษ์ดวงนั้นอยู่ใกล้เรามากเท่านั้น ในทางตรงกันข้ามถ้าตำแหน่งปรากฏของดาวฤกษ์แทบจะไม่มีการย้ายตำแหน่งเลยแสดงว่าดาวฤกษ์นั้นอยู่ไกลจากเรามาก

เราไม่สามารถใช้วิธีแพรัลแลกซ์ในการวัดระยะห่างของดาวฤกษ์ที่มากกว่า 1,000 ปีแสง เพราะที่ระยะทางดังกล่าว การเปลี่ยนตำแหน่งของผู้สังเกตบนโลกจากด้านหนึ่งของดวงอาทิตย์ไปยังอีก ด้านหนึ่งของดวงอาทิตย์แทบจะมองไม่เห็นการย้ายตำแหน่งปรากฏของดาวฤกษ์นั้นเลย

เทียนมาตรฐาน

อ้างอิง

  1. Ash, M.E., Shapiro, I.I., & Smith, W.B., 1967 Astronomical Journal, 72, 338-350.

แหล่งข้อมูลอื่น

  • บทเรียนเริ่มต้นว่าด้วยระยะทาง จากมหาวิทยาลัยยูซีแอลเอ
  • โครงการหลักของกล้องโทรทรรศน์อวกาศฮับเบิล ว่าด้วยบันไดระยะห่างของจักรวาล

นไดระยะห, างของจ, กรวาล, งกฤษ, cosmic, distance, ladder, หร, extragalactic, distance, scale, เป, นกระบวนการต, อเน, องท, กดาราศาสตร, ใช, ในการบรรยายระยะห, างของว, ตถ, องฟ, การว, ดระยะทางโดยตรงท, แท, จร, งของเทหว, ตถ, หน, งๆ, จะทำได, อเม, อว, ตถ, นอย, ใกล, บโลกพ. bnidrayahangkhxngckrwal xngkvs Cosmic distance ladder hrux Extragalactic Distance Scale epnkrabwnkartxenuxngthinkdarasastrichinkarbrryayrayahangkhxngwtthuthxngfa karwdrayathangodytrngthiaethcringkhxngethhwtthuhnung cathaidktxemuxwtthunnxyu ikl kbolkphxthicathaidethann khuxrayaimekinhnungphnpharesk dngnnethkhnikhinkarxthibaythungrayahangkhxngwtthuthixyuiklkwanncungtxngichwithikarhlakhlayodyxasykhwamsmphnthkbwtthuiklekhiyng krabwnkartang ehlanncaxingxyukb ethiynmatrthan sunghmaythungwtthudarasastrthithrabkhakhwamsxngswangthiaennxnaephnphumibnidrayahangkhxngckrwal enuxha 1 karwdrayahangodytrng 1 1 hnwydarasastr 1 2 pharlaelks 2 ethiynmatrthan 3 xangxing 4 aehlngkhxmulxunkarwdrayahangodytrng aekikhthithanlangsudkhxngbnidcaepnkarwdrayahangaebbphunthansungepnkarwdrayahangodytrngodyimtxngichsmmutithanthangfisiksid machwyenuxngcakthrrmchatikhxngwtthuthiyngimaenchd karwdtaaehnngthiaennxnkhxngdawvksepnswnhnungkhxngsakhaphunthaninwichamatrdarasastr hnwydarasastr aekikh dubthkhwamhlkthi hnwydarasastr karwdrayahangodytrngkrathaidodyxingkbrayahangmatrthanthithrabkhaaennxn khuxrayahangcakolkthungdwngxathity sungeriykchuxwa hnwydarasastr inprawtisastr karsngektkarnkarekhluxnthikhxngdawsukrepnsingsakhyinkarraburayahnwydarasastrinchwngkhrungaerkkhxngkhriststwrrsthi 20 rwmipthungkarsngektkarndawekhraahnxydwy aetpccubnerasamarthraburayahnwydarasastridxyangaemnyaodyichekhruxngmuxwderdarkhxngdawsukraeladawekhraahxunkhangekhiyngrwmkbdawekhraahnxy 1 rwmthungkartidtamsyyancakyanxwkassarwcdawekhraahthixxkipokhcrrxbdwngxathitytlxdrayatang inrabbsuriya kdkhxngekhpelxrchwyiherathrabsdswnaenchdrahwangkhnadwngokhcrkhxngwtthutang thiokhcrrxbdwngxathity aetimxacthrabrayawngokhcrnn exng erdarchwyiherarabutwelkhidepnhnwykiolemtrsahrbrayahangrahwangwngokhcr caknnemuxnamakhanwnrwmkbsdswnkhnadwngokhcrkthaiherasamarthkhanwnrayahangwngokhcrkhxngolkidxyangthuktxng pharlaelks aekikh dubthkhwamhlkthi pharlaelks thxngfainewlaklangkhunthietmipdwydawvksrayibraybxyumakmay nk darasastridphbwithithicawdrayahangkhxngdawvksehlaniodywithikarich aephrlaelks Parallax aephrlaelks khuxkaryaytaaehnngprakt khxngwtthuemuxphusngektxyuintaaehnngtangknnkwithyasastrichpraktkarnaephrlaelksinkarwdrayathangkhxngdawvksthixyuiklekhiyngkbera odykarsngektdawvksdwngthieratxngkarwdrayathanginwnthiolkxyudanhnungkhxngdwngxathity aelasngektdawvksdwngnnxikkhrngemuxolkokhcrmaxyuxikdanhnungkhxngdwngxathity inxik 6 eduxnthdip nkdarasastrsamarthwdidwadawvksdwngnnyaytaaehnngpraktipethairodyethiybkbdawvksthixyuebuxnghlngsungxyuhangikleramak yingtaaehnngpraktyayipmakethaid aesdngwadawvksdwngnnxyuikleramakethann inthangtrngknkhamthataaehnngpraktkhxngdawvksaethbcaimmikaryaytaaehnngelyaesdngwadawvksnnxyuiklcakeramakeraimsamarthichwithiaephrlaelksinkarwdrayahangkhxngdawvksthimakkwa 1 000 piaesng ephraathirayathangdngklaw karepliyntaaehnngkhxngphusngektbnolkcakdanhnungkhxngdwngxathityipyngxik danhnungkhxngdwngxathityaethbcamxngimehnkaryaytaaehnngpraktkhxngdawvksnnelyethiynmatrthan aekikhswnnirxephimetimkhxmul khunsamarthchwyephimkhxmulswnniidxangxing aekikh Ash M E Shapiro I I amp Smith W B 1967 Astronomical Journal 72 338 350 aehlngkhxmulxun aekikhbtheriynerimtnwadwyrayathang cakmhawithyalyyusiaexlex okhrngkarhlkkhxngklxngothrthrrsnxwkashbebil wadwybnidrayahangkhxngckrwal bthkhwamekiywkbdarasastrhruxckrwalwithyaniyngepnokhrng khunsamarthchwywikiphiediyidodyephimkhxmul duephimthi sthaniyxy darasastrekhathungcak https th wikipedia org w index php title bnidrayahangkhxngckrwal amp oldid 4718128, wikipedia, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด,

บทความ

, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม