fbpx
วิกิพีเดีย

ปฏิทิน

ปฏิทิน คือระบบที่ใช้ในการเรียกชื่อช่วงระยะเวลา เช่น วัน เป็นต้น วันจะขึ้นอยู่กับการเคลื่อนที่วัตถุทางดาราศาสตร์ เราสามารถแสดงปฏิทินได้ในหลายรูปแบบ ส่วนมากมักเป็นกระดาษ เช่น แบบฉีก แบบแขวน แบบตั้งโต๊ะ เป็นต้น

ปฏิทินโบราณของฮินดู
ปฏิทิน
ปฏิทินสากล กริกอเรียน · ฮิจเราะห์ · ISO · ปีสุริยคติ
ประเภทปฏิทิน
สุริยจันทรคติ · สุริยคติ · จันทรคติ

ปฏิทินอื่น ๆ อาร์มีเนีย · บาฮาอี · เบงกอล · พุทธ · จีน · คอปติก · เอธิโอเปีย · เจอร์แมนิก · ฮีบรู · ฮินดู · อินเดีย · อิหร่าน · ไอริช · ญี่ปุ่น · ชวา · เกาหลี · มายา · เนปาล · ทมิฬ · ไทย (จันทรคติสุริยคติ) · ทิเบต · ตุรกี · เวียดนาม· โยรูบา · โซโรอัสเตอร์
ประเภทปฏิทิน
จูเลียนต้นฉบับ · รูน

ประวัติ

คำว่า ปฏิทิน ในภาษาอังกฤษ คือ "calendar" เป็นคำที่มาจากภาษาลีลา ซึ่งนำมาจากคำพูดของชาวกรีกโบราณอีกที ว่า "Kalend" ซึ่งมีความหมายในภาษาอังกฤษว่า "I cry" สาเหตุที่ใช้คำนี้เพราะมีที่มาว่า ในสมัยโบราณจะมีคนคอยร้องบอกชาวเมือง เพื่อบอกกล่าวเหตุการณ์ที่จะเกิดขึ้นล่วงหน้า รวมถึงประกาศวันขึ้นเดือนใหม่ เพื่อให้ลูกหนี้จ่ายเงินที่คั่งค้าง ครั้นต่อมาสังคมเริ่มสลับซับซ้อนมากขึ้น ปฏิทินจึงได้ถูกคิดค้นขึ้นมาเพื่อแทนคนร้องบอกข่าว ปฏิทินจึงนับว่าเป็นสิ่งบอกเวลา และกลายเป็นสิ่งสำคัญในวิถีชีวิตประจำวันไปในที่สุด ต่อมามนุษย์จึงได้ริเริ่มบันทึก วัน เวลา ขึ้นเป็นลายลักษณ์อักษร หรือที่เรียกกันว่า "ปฏิทิน"

ปฏิทินยุคโบราณ

จากหลักฐานทางโบราณคดีที่ค้นพบในปัจจุบัน เชื่อกันว่าชนชาติแรกที่คิดค้น ระบบการนับวันแบบปฏิทินนั้นคือ ชาวบาบิโลเนียน พวกเขากำหนดวัน เดือน ปี โดยสังเกตจากระยะต่างๆ ของดวงจันทร์ ซึ่งก็คือการสังเกตข้างขึ้นข้างแรมนั่นเอง โดยเมื่อเกิดข้างขึ้นและข้างแรมครบ 1 รอบก็จะถือเป็น 1 เดือน ปฏิทินแบบนี้เรียกว่าปฏิทินจันทรคติ และพวกเขายังกำหนดให้ 1 ปีนั้นมี 12 เดือนอีกด้วย สาเหตุที่ชาวบาบิโลเนียนกำหนดให้ 1 ปี มี 12 เดือน ก็เพราะว่า เมื่อใดที่เกิดข้างขึ้นและข้างแรมครบ 12 รอบ ฤดูกาลก็จะเวียนกลับมาอีกครั้ง

อาณาจักรข้างเคียงก็ได้ยอมรับเอาปฏิทินของชาวบาบิโลเนียมาใช้ในอาณาจักรตนเอง เช่น ชาวอียิปต์โบราณ ชาวกรีก และชาวเซเมติก เป็นต้น เมื่อพัฒนาการทางเทคโนโลยีมีมากขึ้น ชนชาติที่นำเอาปฏิทินแบบบาบิโลเนียนไปใช้นั้น ก็ได้ทำการปรับปรุงและพัฒนาให้มีความเที่ยงตรงมากยิ่งขึ้น โดยเฉพาะอย่างยิ่งชาวอียิปต์โบราณ ที่พัฒนาแนวคิดเรื่องปฏิทินได้อย่างรุดหน้ามากที่สุด แต่เดิมชาวโรมันกำหนดให้ 1 ปี มี 355 วัน (ตามระบบจันทรคติ) และทุก ๆ 4 ปี (ปีอธิกวาร) ต้องเพิ่มวันเข้าไปอีก 22 วัน เพื่อให้ตรงกับฤดูกาล หรือการคำนวณแบบสุริยคติ) จนกระทั่ง 46 ปีก่อนคริสต์ศักราช จูเลียส ซีซาร์ แห่งจักรวรรดิโรมัน ซึ่งได้เข้าครอบครองอียิปต์ ในรัชสมัยของพระนางคลีโอพัตรา ได้นำแนวคิดของนักดาราศาสตร์ชาวอียิปต์ชื่อ โซซิเจเนส (Sosigenes) มาปรับปรุงให้หนึ่งปีมี 365 วัน ปฏิทินแบบนี้เรียกว่าปฏิทินจูเลียน ซึ่งใช้กันมายาวนานจนถึง ค.ศ. 1582 จึงมีการแก้ไขอีกครั้งหนึ่ง

ปฏิทินยุคปัจจุบัน

เนี่องจากการที่ต้องเพิ่มวันเข้าไปในปฏิทิน 1 วัน ในทุกๆ 4 ปี ทำให้ในสมัยต่อๆ มาเกิดความสับสนในฤดูกาล กล่าวคือปีปฏิทินสั้นกว่าปีฤดูกาล ดังนั้นปรากฏการณ์ทางธรรมชาติต่างๆ จะมาถึงเร็วกว่าปีปฏิทินมากขึ้นทุกปี เช่นใน ค.ศ. 1582 วสันตวิษุวัต (วันที่กลางวันและกลางคืนยาวเท่ากัน) ตามปีปฏิทินเดิมคือวันที่ 21 มีนาคม แต่ปรากฏการณ์นี้กลับเกิดขึ้นจริงในวันที่ 11 มีนาคมแทน เมื่อเป็นเช่นนี้ ศาสนจักรจึงเข้ามามีบทบาทในการแก้ไข พระสันตปาปา เกรกอรี่ที่ 13 ได้ออกประกาศให้หักวันออกจากปีปฏิทินเสีย 10 วัน มีผลทำให้ในปี ค.ศ. 1582 นั้นหลังวันที่ 4 ตุลาคม กลายเป็นวันที่ 15 ตุลาคม แทนที่จะเป็นวันที่ 5 ตุลาคม ในปีอธิกวารให้เพิ่มวันเป็นการชั่วคราว 1 วันในปีถัดไปให้หักออก นอกจากนี้ยังกำหนดให้วันที่ 1 มกราคมของทุกปีเป็นวันขึ้นปีใหม่ และให้เรียกปฏิทินแบบใหม่นี้ว่า ปฏิทินเกรกอเรียน ประกาศนี้มีผลทำให้ยุโรปซึ่งอยู่ใต้การปกครองของศาสนจักร ต้องใช้ปฏิทินแบบเดียวกันตั้งแต่นั้นเป็นต้นมา

ปัจจุบัน "ปฏิทิน" ได้รับความนิยมกันอย่างแพร่หลาย นักธุรกิจติดต่อนัดหมายกันผ่าน วัน เวลา ในปฏิทิน นอกจากนี้ปฏิทินยังคอยย้ำเตือนถึง วัน เวลาที่สำคัญต่าง ๆ เช่น วันเกิด วันหยุด เป็นต้น นอกจากนี้ยังมีปฏิทินที่กำหนดวันสำคัญทางศาสนา ซึ่งจะต้องอาศัยการประกาศอย่างเป็นทางการ เช่น วันเริ่มถือศีลอดเดือนรอมะฎอน วันจาริกแสวงบุญของอิสลามิกชน (ฮัจญ์) และวันอาชูรออ์ เป็นต้น

ชนิดของปฏิทิน

ปฏิทินสุริยคติ

  1. ปฏิทินเกรกอเรียน
  2. ปฏิทินสุริยคติไทย
  3. ปฏิทินจูเลียน
  4. ปฏิทินญะลาลีย์ (สุริยคติอิหร่าน)
  5. ปฏิทินของสาธารณรัฐฝรั่งเศส
  6. ปฏิทินมายา (อเมริกาใต้)

ปฏิทินจันทรคติ

  1. ปฏิทินจันทรคติไทย
  2. ปฏิทินฮิจญ์เราะหฺ (อิสลาม)
  3. ปฏิทินยิว
  4. ปฏิทินจันทรคติจีน

ปฏิทินไทย

ดูบทความหลักที่ ปฏิทินไทย

ในอดีตประเทศไทยใช้ปฏิทินจันทรคติตั้งแต่สมัยสุโขทัยโดยนับปีตามปีมหาศักราชและจุลศักราชตามลำดับ จนกระทั่งในสมัยพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวได้โปรดเกล้าฯ เปลี่ยนจากปฏิทินจันทรคติมาใช้ปฏิทินสุริยคติ ในปีจุลศักราช 1240 ซึ่งตรงกับปี พ.ศ. 2431 โดยใช้แบบสากลตามปฏิทินเกรกอเรียน โดยเดือนแรกของปีคือเดือนเมษายน และเดือนสุดท้ายของปีคือมีนาคม และปรับมาใช้รัตนโกสินทรศก และพุทธศักราชตามลำดับจนกระทั่งในสมัยจอมพล ป. พิบูลสงคราม ได้มีการปรับเปลี่ยนปฏิทินอีกครั้งโดยปรับให้วันที่ 1 มกราคม เป็นวันขึ้นปีใหม่และเป็นวันเริ่มต้นของปีแทนที่รูปแบบเดิม โดยวันขึ้นปีใหม่ในรูปแบบนี้เริ่มใช้ในปี พ.ศ. 2484

การพิมพ์ปฏิทินมีขึ้นเป็นครั้งแรกในเมืองไทย เมื่อ วันที่ 14 มกราคม พ.ศ. 2385 (ปลายสมัย รัชกาลที่ 3) ต่อมาในรัชกาลที่ 4 ทรงฯโปรดให้พิมพ์ปฏิทินภาษาไทย ในสมัยรัชกาลที่ 5 ปฏิทินที่พิมพ์ในเมืองไทยได้แก่ "ประนินทิน" แจ้งราคาขายไว้เล่มละ 4 บาท การพิมพ์ปฏิทินเล่มยังมีการจัดทำต่อมา ในหลายรูปแบบ ซึ่งมีบอกสถาพของน้ำขึ้น-น้ำลง ดิถีดวงจันทร์ และปฏิทินภาษาจีนร่วมด้วย และมีช่องว่างให้บันทึกเล็กน้อย ในรูปแบบของ ไดอารี่ หรือ "สมุดบันทึกประจำวัน" ก็สามารถอนุโลมให้เป็นปฏิทินได้ โดยไดอารี่ที่มีชื่อเสียงได้แก่ ไดอารี่ของรัชกาลที่ 5 ซึ่งเมื่อตีพิมพ์เผยแพร่มีชื่อเรียกว่า "จดหมายเหตุพระราชกิจรายวัน"

ดูเพิ่ม

อ้างอิง

  • มณฑา สุขบูรณ์. "เวลา … พันธนาการแห่งมนุษย์," THE EARTH 2000 2,22 (2539) หน้า 76 –88.
  • อเนก นาวิกมูล. สิ่งพิมพ์คลาสสิก วิคตอรี่เพาเวอร์พอยท์, กรุงเทพฯ 2533.
  1. หน้า 4, มากกว่าการดู วัน เดือน ปี 'ปฏิทิน' บันทึกแห่งยุคสมัย โดย พงษ์พรรณ บุญเลิศ. "เดลินิวส์วาไรตี้". เดลินิวส์ฉบับที่ 24,189: วันจันทร์ที่ 4 มกราคม พ.ศ. 2559 แรม 10 ค่ำ เดือน 1 ปีมะแม

ปฏ, อระบบท, ใช, ในการเร, ยกช, อช, วงระยะเวลา, เช, เป, นต, นจะข, นอย, บการเคล, อนท, ตถ, ทางดาราศาสตร, เราสามารถแสดงได, ในหลายร, ปแบบ, วนมากม, กเป, นกระดาษ, เช, แบบฉ, แบบแขวน, แบบต, งโต, เป, นต, นโบราณของฮ, นด, ดคกสากล, กร, กอเร, ยน, จเราะห, ยคต, ประเภทส, ยจ, นท. ptithin khuxrabbthiichinkareriykchuxchwngrayaewla echn wn epntn wncakhunxyukbkarekhluxnthiwtthuthangdarasastr erasamarthaesdngptithinidinhlayrupaebb swnmakmkepnkradas echn aebbchik aebbaekhwn aebbtngota epntnptithinobrankhxnghindu dkhkptithinptithinsakl krikxeriyn hiceraah ISO pisuriykhtipraephthptithinsuriycnthrkhti suriykhti cnthrkhtiptithinxun xarmieniy bahaxi ebngkxl phuthth cin khxptik exthioxepiy ecxraemnik hibru hindu xinediy xihran ixrich yipun chwa ekahli maya enpal thmil ithy cnthrkhti suriykhti thiebt turki ewiydnam oyruba osorxsetxrpraephthptithincueliyntnchbb run enuxha 1 prawti 1 1 ptithinyukhobran 1 2 ptithinyukhpccubn 2 chnidkhxngptithin 2 1 ptithinsuriykhti 2 2 ptithincnthrkhti 3 ptithinithy 4 duephim 5 xangxingprawti aekikhkhawa ptithin inphasaxngkvs khux calendar epnkhathimacakphasalila sungnamacakkhaphudkhxngchawkrikobranxikthi wa Kalend sungmikhwamhmayinphasaxngkvswa I cry saehtuthiichkhaniephraamithimawa insmyobrancamikhnkhxyrxngbxkchawemuxng ephuxbxkklawehtukarnthicaekidkhunlwnghna rwmthungprakaswnkhuneduxnihm ephuxihlukhnicayenginthikhngkhang khrntxmasngkhmerimslbsbsxnmakkhun ptithincungidthukkhidkhnkhunmaephuxaethnkhnrxngbxkkhaw ptithincungnbwaepnsingbxkewla aelaklayepnsingsakhyinwithichiwitpracawnipinthisud txmamnusycungidrierimbnthuk wn ewla khunepnlaylksnxksr hruxthieriykknwa ptithin 1 ptithinyukhobran aekikh cakhlkthanthangobrankhdithikhnphbinpccubn echuxknwachnchatiaerkthikhidkhn rabbkarnbwnaebbptithinnnkhux chawbabioleniyn phwkekhakahndwn eduxn pi odysngektcakrayatang khxngdwngcnthr sungkkhuxkarsngektkhangkhunkhangaermnnexng odyemuxekidkhangkhunaelakhangaermkhrb 1 rxbkcathuxepn 1 eduxn ptithinaebbnieriykwaptithincnthrkhti aelaphwkekhayngkahndih 1 pinnmi 12 eduxnxikdwy saehtuthichawbabioleniynkahndih 1 pi mi 12 eduxn kephraawa emuxidthiekidkhangkhunaelakhangaermkhrb 12 rxb vdukalkcaewiynklbmaxikkhrngxanackrkhangekhiyngkidyxmrbexaptithinkhxngchawbabioleniymaichinxanackrtnexng echn chawxiyiptobran chawkrik aelachawesemtik epntn emuxphthnakarthangethkhonolyimimakkhun chnchatithinaexaptithinaebbbabioleniynipichnn kidthakarprbprungaelaphthnaihmikhwamethiyngtrngmakyingkhun odyechphaaxyangyingchawxiyiptobran thiphthnaaenwkhideruxngptithinidxyangrudhnamakthisud aetedimchawormnkahndih 1 pi mi 355 wn tamrabbcnthrkhti aelathuk 4 pi pixthikwar txngephimwnekhaipxik 22 wn ephuxihtrngkbvdukal hruxkarkhanwnaebbsuriykhti cnkrathng 46 pikxnkhristskrach cueliys sisar aehngckrwrrdiormn sungidekhakhrxbkhrxngxiyipt inrchsmykhxngphranangkhlioxphtra idnaaenwkhidkhxngnkdarasastrchawxiyiptchux ossiecens Sosigenes maprbprungihhnungpimi 365 wn ptithinaebbnieriykwaptithincueliyn sungichknmayawnancnthung kh s 1582 cungmikaraekikhxikkhrnghnung ptithinyukhpccubn aekikh enixngcakkarthitxngephimwnekhaipinptithin 1 wn inthuk 4 pi thaihinsmytx maekidkhwamsbsninvdukal klawkhuxpiptithinsnkwapivdukal dngnnpraktkarnthangthrrmchatitang camathungerwkwapiptithinmakkhunthukpi echnin kh s 1582 wsntwisuwt wnthiklangwnaelaklangkhunyawethakn tampiptithinedimkhuxwnthi 21 minakhm aetpraktkarnniklbekidkhuncringinwnthi 11 minakhmaethn emuxepnechnni sasnckrcungekhamamibthbathinkaraekikh phrasntpapa ekrkxrithi 13 idxxkprakasihhkwnxxkcakpiptithinesiy 10 wn miphlthaihinpi kh s 1582 nnhlngwnthi 4 tulakhm klayepnwnthi 15 tulakhm aethnthicaepnwnthi 5 tulakhm inpixthikwarihephimwnepnkarchwkhraw 1 wninpithdipihhkxxk nxkcakniyngkahndihwnthi 1 mkrakhmkhxngthukpiepnwnkhunpiihm aelaiheriykptithinaebbihmniwa ptithinekrkxeriyn prakasnimiphlthaihyuorpsungxyuitkarpkkhrxngkhxngsasnckr txngichptithinaebbediywkntngaetnnepntnmapccubn ptithin idrbkhwamniymknxyangaephrhlay nkthurkictidtxndhmayknphan wn ewla inptithin nxkcakniptithinyngkhxyyaetuxnthung wn ewlathisakhytang echn wnekid wnhyud epntn nxkcakniyngmiptithinthikahndwnsakhythangsasna sungcatxngxasykarprakasxyangepnthangkar echn wnerimthuxsilxdeduxnrxmadxn wncarikaeswngbuykhxngxislamikchn hcy aelawnxachurxx epntnchnidkhxngptithin aekikhptithinsuriykhti aekikh ptithinekrkxeriyn ptithinsuriykhtiithy ptithincueliyn ptithinyalaliy suriykhtixihran ptithinkhxngsatharnrthfrngess ptithinmaya xemrikait ptithincnthrkhti aekikh ptithincnthrkhtiithy ptithincnthrkhtirachkar ptithincnthrkhtipkkhkhnna ptithinhicyeraah xislam ptithinyiw ptithincnthrkhticinptithinithy aekikhdubthkhwamhlkthi ptithinithyinxditpraethsithyichptithincnthrkhtitngaetsmysuokhthyodynbpitampimhaskrachaelaculskrachtamladb cnkrathnginsmyphrabathsmedcphracxmeklaecaxyuhwidoprdekla epliyncakptithincnthrkhtimaichptithinsuriykhti inpiculskrach 1240 sungtrngkbpi ph s 2431 odyichaebbsakltamptithinekrkxeriyn odyeduxnaerkkhxngpikhuxeduxnemsayn aelaeduxnsudthaykhxngpikhuxminakhm aelaprbmaichrtnoksinthrsk aelaphuththskrachtamladbcnkrathnginsmycxmphl p phibulsngkhram idmikarprbepliynptithinxikkhrngodyprbihwnthi 1 mkrakhm epnwnkhunpiihmaelaepnwnerimtnkhxngpiaethnthirupaebbedim odywnkhunpiihminrupaebbnierimichinpi ph s 2484karphimphptithinmikhunepnkhrngaerkinemuxngithy emux wnthi 14 mkrakhm ph s 2385 playsmy rchkalthi 3 txmainrchkalthi 4 thrngoprdihphimphptithinphasaithy insmyrchkalthi 5 ptithinthiphimphinemuxngithyidaek praninthin aecngrakhakhayiwelmla 4 bath karphimphptithinelmyngmikarcdthatxma inhlayrupaebb sungmibxksthaphkhxngnakhun nalng dithidwngcnthr aelaptithinphasacinrwmdwy aelamichxngwangihbnthukelknxy inrupaebbkhxng idxari hrux smudbnthukpracawn ksamarthxnuolmihepnptithinid odyidxarithimichuxesiyngidaek idxarikhxngrchkalthi 5 sungemuxtiphimphephyaephrmichuxeriykwa cdhmayehtuphrarachkicraywn duephim aekikhptithinsuriykhti ptithincnthrkhti ptithinsuriycnthrkhti dithixangxing aekikhmntha sukhburn ewla phnthnakaraehngmnusy THE EARTH 2000 2 22 2539 hna 76 88 xenk nawikmul singphimphkhlassik wikhtxriephaewxrphxyth krungethph 2533 hna 4 makkwakardu wn eduxn pi ptithin bnthukaehngyukhsmy ody phngsphrrn buyelis edliniwswairti edliniwschbbthi 24 189 wncnthrthi 4 mkrakhm ph s 2559 aerm 10 kha eduxn 1 pimaaemekhathungcak https th wikipedia org w index php title ptithin amp oldid 8065011, wikipedia, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด,

บทความ

, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม