fbpx
วิกิพีเดีย

ปฏิยานุภาค

ปฏิยานุภาค (อังกฤษ: antiparticle) เป็นอนุภาคที่มีความสอดคล้องมากที่สุดกับอนุภาคปกติธรรมดา มีความสัมพันธ์กันคือมีมวลเท่ากันและมีประจุไฟฟ้าที่ตรงกันข้าม ยกตัวอย่างเช่น ปฏิยานุภาคของอิเล็กตรอนเป็นอิเล็กตรอนที่มีประจุบวก, หรือเรียกว่าโพซิตรอนที่ถูกสร้างขึ้นในการสลายตัวของสารกัมมันตรังสีบางชนิดตามธรรมชาติ

ภาพประกอบของประจุไฟฟ้าเช่นเดียวกับขนาดของอนุภาคทั่วไป (ซ้าย) และปฏิยานุภาค (ขวา) จากบนลงล่าง; อิเล็กตรอน/โพซิตรอน, โปรตอน/แอนติโปรตอน, นิวตรอน/แอนตินิวตรอน

กฎของธรรมชาติระหว่างอนุภาคและปฏิยานุภาคแทบจะสอดคล้องได้ส่วนกัน ตัวอย่างเช่นแอนติโปรตอนและโพสิตรอนสามารถสร้างอะตอมแอนติไฮโดรเจน (antihydrogen atom) ได้ ซึ่งมีคุณสมบัติเดียวกันที่เกือบจะเหมือนกับอะตอมไฮโดรเจน สิ่งนี้นำไปสู่​​คำถามที่ว่าทำไมการก่อตัวของสสารหลังบิ๊กแบงส่งผลให้ในจักรวาลประกอบด้วยสสารเกือบทั้งหมด แทนที่จะเป็นส่วนผสมอย่างละครึ่งหนึ่งของสสารและปฏิสสาร การค้นพบการละเมิดซีพี (CP violation) ช่วยทำให้ปัญหานี้กระจ่างขึ้นโดยการแสดงให้เห็นว่าสัดส่วนนี้ ความคิดสร้างสรรค์ที่สมบูรณ์แบบเป็นเพียงการประมาณเท่านั้น

คู่อนุภาค-ปฏิยานุภาคสามารถประลัยซึ่งกันและกันเกิดเป็นโฟตอนขึ้นและเนื่องจากประจุของอนุภาคและปฏิยานุภาคมีค่าตรงกันข้าม, ประจุรวมทั้งหมดจะอนุรักษ์ ตัวอย่างเช่น โพสิตรอนที่ถูกผลิตขึ้นในการสลายตัวกัมมันตรังสีตามธรรมชาติจะถูกประลัยอย่างรวดเร็วด้วยอิเล็กตรอน, การผลิตคู่ของรังสีแกมมา, กระบวนการใช้ประโยชน์ในโพซิตรอนอีมิสชันโทโมกราฟี

ปฏิยานุภาคถูกผลิตขึ้นตามธรรมชาติในการสลายให้อนุภาคบีตา และในอันตรกิริยาของรังสีคอสมิกในชั้นบรรยากาศของโลก เพราะว่าประจุจะต้องถูกอนุรักษ์ มันเป็นไปไม่ได้ที่จะสร้างปฏิยานุภาคโดยไม่ต้องทำลายทั้งอนุภาคที่มีประจุที่เหมือนกันไปด้วย (เช่น ในการสลายให้อนุภาคบีต้า) หรือในการสร้างอนุภาคที่มีประจุที่ตรงกันข้ามก็ตาม ในระยะหลัง ๆ จะเห็นในหลาย ๆ กระบวนการในการที่ทั้งอนุภาคและปฏิยานุภาคจะถูกสร้างขึ้นมาพร้อม ๆ กัน เช่น ในเครื่องเร่งอนุภาค

ดูเพิ่ม

อ้างอิง

  1. ภาควิชาฟิสิกส์ คณะวิทยาศาสตร์ สถาบันเทคโนโลยีราชมงคล. โพสิตรอนและปฏิยานุภาคอื่น ๆ.
  • R. P. Feynman (1987). "The reason for antiparticles". ใน R. P. Feynman and S. Weinberg (บ.ก.). The 1986 Dirac memorial lectures. Cambridge University Press. ISBN 0-521-34000-4.
  • S. Weinberg (1995). The quantum theory of fields, Volume 1: Foundations. Cambridge University Press. ISBN 0-521-55001-7.

ปฏ, ยาน, ภาค, บทความน, ไม, การอ, างอ, งจากแหล, งท, มาใดกร, ณาช, วยปร, บปร, งบทความน, โดยเพ, มการอ, างอ, งแหล, งท, มาท, าเช, อถ, เน, อความท, ไม, แหล, งท, มาอาจถ, กค, ดค, านหร, อลบออก, เร, ยนร, าจะนำสารแม, แบบน, ออกได, อย, างไรและเม, อไร, งกฤษ, antiparticle, เป,. bthkhwamniimmikarxangxingcakaehlngthimaidkrunachwyprbprungbthkhwamni odyephimkarxangxingaehlngthimathinaechuxthux enuxkhwamthiimmiaehlngthimaxacthukkhdkhanhruxlbxxk eriynruwacanasaraemaebbnixxkidxyangiraelaemuxir ptiyanuphakh 1 xngkvs antiparticle epnxnuphakhthimikhwamsxdkhlxngmakthisudkbxnuphakhpktithrrmda mikhwamsmphnthknkhuxmimwlethaknaelamipracuiffathitrngknkham yktwxyangechn ptiyanuphakhkhxngxielktrxnepnxielktrxnthimipracubwk hruxeriykwaophsitrxnthithuksrangkhuninkarslaytwkhxngsarkmmntrngsibangchnidtamthrrmchatiphaphprakxbkhxngpracuiffaechnediywkbkhnadkhxngxnuphakhthwip say aelaptiyanuphakh khwa cakbnlnglang xielktrxn ophsitrxn oprtxn aexntioprtxn niwtrxn aexntiniwtrxn kdkhxngthrrmchatirahwangxnuphakhaelaptiyanuphakhaethbcasxdkhlxngidswnkn twxyangechnaexntioprtxnaelaophsitrxnsamarthsrangxatxmaexntiihodrecn antihydrogen atom id sungmikhunsmbtiediywknthiekuxbcaehmuxnkbxatxmihodrecn singninaipsu khathamthiwathaimkarkxtwkhxngssarhlngbikaebngsngphlihinckrwalprakxbdwyssarekuxbthnghmd aethnthicaepnswnphsmxyanglakhrunghnungkhxngssaraelaptissar karkhnphbkarlaemidsiphi CP violation chwythaihpyhanikracangkhunodykaraesdngihehnwasdswnni khwamkhidsrangsrrkhthismburnaebbepnephiyngkarpramanethannkhuxnuphakh ptiyanuphakhsamarthpralysungknaelaknekidepnoftxnkhunaelaenuxngcakpracukhxngxnuphakhaelaptiyanuphakhmikhatrngknkham pracurwmthnghmdcaxnurks twxyangechn ophsitrxnthithukphlitkhuninkarslaytwkmmntrngsitamthrrmchaticathukpralyxyangrwderwdwyxielktrxn karphlitkhukhxngrngsiaekmma krabwnkarichpraoychninophsitrxnximischnothomkrafiptiyanuphakhthukphlitkhuntamthrrmchatiinkarslayihxnuphakhbita aelainxntrkiriyakhxngrngsikhxsmikinchnbrryakaskhxngolk ephraawapracucatxngthukxnurks mnepnipimidthicasrangptiyanuphakhodyimtxngthalaythngxnuphakhthimipracuthiehmuxnknipdwy echn inkarslayihxnuphakhbita hruxinkarsrangxnuphakhthimipracuthitrngknkhamktam inrayahlng caehninhlay krabwnkarinkarthithngxnuphakhaelaptiyanuphakhcathuksrangkhunmaphrxm kn echn inekhruxngerngxnuphakhduephim aekikhaebrioxecensisxangxing aekikh phakhwichafisiks khnawithyasastr sthabnethkhonolyirachmngkhl ophsitrxnaelaptiyanuphakhxun R P Feynman 1987 The reason for antiparticles in R P Feynman and S Weinberg b k The 1986 Dirac memorial lectures Cambridge University Press ISBN 0 521 34000 4 S Weinberg 1995 The quantum theory of fields Volume 1 Foundations Cambridge University Press ISBN 0 521 55001 7 ekhathungcak https th wikipedia org w index php title ptiyanuphakh amp oldid 8065212, wikipedia, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด,

บทความ

, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม