fbpx
วิกิพีเดีย

ประชาธิปไตยที่ไม่เสรี

ประชาธิปไตยที่ไม่เสรี (Illiberal Democracy) นั้นคือประชาธิปไตยที่ถูกจำกัดสิทธิพลเมืองที่แม้โดยที่อาจจะอยู่ภายใต้รัฐบาลที่มาจากการเลือกตั้ง ประชาชนถูกละเมิด และมีสิทธิที่จำกัด หรือไม่ได้รับความคุ้มครอง มีการปิดกั้นการเข้าถึงข้อมูล สื่อถูกควบคุม และการแสดงความคิดเห็นของประชาชนอยู่ภายใต้การควบคุมอย่างเข้มงวดจากรัฐ นอกจากนี้ในระบอบประชาธิปไตยที่ไม่เสรี กระบวนการเลือกตั้งมักไม่เป็นไปตามหลักการเลือกตั้งในระบอบเสรีประชาธิปไตย ที่เน้นความโปร่งใส (transparency) เป็นอิสระ (free) จากการครอบงำโดยผู้กุมอำนาจรัฐหรืออำนาจอื่นใด การแข่งขันเลือกตั้งให้ความเป็นธรรม (fair) กับผู้แข่งขันและผู้สนับสนุนทุกฝ่าย และประกันความลับของผู้ลงคะแนนเลือกตั้ง (secret ballot) ระบอบประชาธิปไตยที่ไม่เสรีมักเกิดขึ้นในสังคมที่อยู่ระหว่างการเปลี่ยนผ่านจากระบอบที่ไม่เป็นประชาธิปไตยไปสู่การเป็นประชาธิปไตย ซึ่งมักจะเกิดขึ้นในประเทศกำลังพัฒนา (developing country) หรือประเทศประชาธิปไตยใหม่ (new democracies) แต่บางครั้งประเทศที่พัฒนาแล้วบางประเทศก็อาจมีมิติของประชาธิปไตยที่ไม่เสรีปรากฏให้เห็นได้ด้วยเช่นกัน อาทิ ในสิงคโปร์ที่มีการเลือกตั้งที่สร้างกติกาปิดกั้นการแข่งขัน กีดกันผู้สมัครฝ่ายค้าน ไม่ประกันความลับของผู้ลงคะแนนเสียงเลือกตั้ง และการจำกัดสิทธิเสรีภาพของสื่อมวลชนและประชาชนในการแสดงความคิดเห็น (Zakaria, 1997: 22-43)

อรรถาธิบาย

ในหนังสือเรื่อง “The Future of Freedom: Illiberal Democracy at Home and Abroad” ของฟารีด ซาคาเรีย (Fareed Zakaria) ได้พูดถึงประชาธิปไตยแบบไม่เสรีไว้ว่า เสรี (liberal) กับประชาธิปไตย (democracy) มักถูกกล่าวถึงร่วมกันในประเทศตะวันตก แต่ทั้ง 2 คำ ไม่จำเป็นต้องเกิดควบคู่กันเสมอไป คำว่าประชาธิปไตยจะมาพร้อมกับการตัดสินใจด้วยเสียงข้างมาก (majority rule) แต่คำว่าเสรีจะมีลักษณะเป็นเสรีภาพของปัจเจกบุคคล (individual freedom) ซึ่งเสรีภาพของปัจเจกบุคคลหลายครั้งมักจะพบกับปัญหาความขัดแย้งกับการตัดสินใจโดยเสียงข้างมาก หรือเผด็จการเสียงข้างมาก (tyrannical majority) ฉะนั้น บางประเทศที่มีระบอบการปกครองแบบประชาธิปไตย มีการเลือกตั้ง แต่อาจจะไม่ได้มอบสิทธิเสรีภาพให้กับประชาชน หรือบางครั้งการตัดสินใจโดยเสียงข้างมากได้ไปกระทบกระเทือนถึงสิทธิส่วนบุคคล ตัวอย่างเช่น รัสเซีย ที่มีผู้ปกครองมาจากการเลือกตั้ง แต่ได้มีกฎหมายที่จำกัดการใช้สิทธิเสรีภาพของปัจเจกบุคคล และเสรีภาพของสื่อไว้อย่างชัดเจน รวมไปถึงบทบาทของผู้นำที่เน้นอำนาจบารมีและใช้กลไกรัฐในการควบคุมประชาชนด้วยความรุนแรง ผูกขาดอำนาจในการเข้าถึงข้อมูล และควบคุมสื่อ

คำว่าประชาธิปไตยแบบไม่เสรีจึงมักใช้อธิบายประเทศที่มีประชาธิปไตยแต่เพียงในเชิงรูปแบบ แต่ไม่ส่งเสริมเสรีภาพของประชาชน ขอยกตัวอย่างประเทศในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ เช่น สิงคโปร์ เป็นประเทศที่เป็นประชาธิปไตย มีผู้นำที่มาจากการเลือกตั้ง แต่มีข้อกฎหมายหลายอย่างที่จำกัดเสรีภาพในการออกเสียงในสภาและการทำงานของฝ่ายค้าน รวมถึงข้อบังคับในการจัดตั้งพรรคการเมืองฝ่ายตรงข้ามที่จะเข้ามาแข่งขันกับพรรค People's Action Party (PAP) ทำให้การแข่งขันของพรรคการเมืองไม่เสรี เพราะถูกผูกขาดโดยพรรครัฐบาล เช่นเดียวกับมาเลเซียที่ถูกผูกขาดอำนาจโดยพรรค United Malays National Organization (UMNO) และยังสามารถอธิบายการเมืองฟิลิปปินส์ ที่ถูกเรียกว่าเป็นผู้ป่วยแห่งเอเชีย (Sick Man of Asia) เพราะแม้จะมีประชาธิปไตยและรัฐธรรมนูญที่ถูกวางรากฐานจากสหรัฐอเมริกา แต่การเมืองยังคงเป็นระบบพวกพ้อง การอุปถัมภ์ทางการเมือง มีการใช้เงินซื้อสิทธิขายเสียง และมีการคอร์รัปชั่นอย่างกว้างขวาง

ในประเทศไทย

สำหรับประเทศไทย คำว่าประชาธิปไตยแบบไม่เสรีถูกนำมาใช้อธิบายการเมืองไทยในช่วงประชาธิปไตยครึ่งใบ ประมาณปี พ.ศ. 2523-31 และอธิบายการเมืองไทยยุคธนาธิปไตย (money politics) รวมไปจนถึงหลังปี พ.ศ. 2544 เป็นต้นมา โดยเกษียร เตชะพีระ (2551) กล่าวถึงประชาธิปไตยแบบไม่เสรีไว้ว่า ในทวีปละตินอเมริกา แอฟริกาและเอเชียหลายประเทศ บางทีก็เรียกว่า "ระบอบเลือกตั้งธิปไตย" (electocracy - electocrats) หรือเรียกผู้กุมอำนาจในระบอบนี้ว่า “democratators” หรือ "จอมบงการประชาธิปไตย" จนกระทั่งระบอบประชาธิปไตยไม่เสรีถูกวิพากษ์วิจารณ์ว่าเป็น "the fallacy of electoralism" เป็นรูปแบบการเมืองที่เน้นการเลือกตั้งเพียงอย่างเดียว โดยเน้นหลักความเสมอภาคและอำนาจอธิปไตยของประชาชนผ่านการเลือกตั้งและพรรคการเมืองโดดๆ ด้านเดียว แต่ละเลยหรือล่วงละเมิดหลักสิทธิเสรีภาพและหลักนิติธรรมไปเสีย เข้าทำนอง elections = democracy ไป

สำหรับการอธิบายบริบทการเมืองไทย เกษียร เตชะพีระ ได้กล่าวถึงประชาธิปไตยแบบไม่เสรีโดยกล่าวถึงสถานการณ์โดยรวมช่วงปี พ.ศ. 2531-2540 ว่าความไม่เสรีของประชาธิปไตยไทยเป็นผลจากการเข้ากุมอำนาจการเมืองโดยกลุ่มนายทุนหัวเมือง/นักเลือกตั้ง (provincial capitalists/ electocrats) และสถานการณ์โดยรวมช่วงปี พ.ศ. 2544 เป็นต้นมา เกิดการประชันขันแข่งกันระหว่างรูปแบบประชาธิปไตยต่างๆ และถูกเรียกขานแตกต่างกันไป เช่น ประชาธิปไตยไม่เสรีหรือประชาธิปไตยอำนาจนิยม (illiberal/authoritarian democracy) เสรีอัตตาธิปไตย (liberal autocracy) เผด็จการทหารของพลังระบบราชการ ชนชั้นนำและคนชั้นกลางซึ่งมีที่มาจากคณะรัฐประหาร และระบอบเสรีประชาธิปไตยครึ่งใบ (liberal semi-democracy) ของกลุ่มทุนใหญ่ผูกขาดและพันธมิตรของอดีตนายกรัฐมนตรีทักษิณ ภายใต้รัฐธรรมนูญฉบับประชามติ พ.ศ. 2550 ซึ่งลดความสำคัญของหลักความเสมอภาคทางอำนาจ และอำนาจอธิปไตยของประชาชนที่แสดงออกผ่านการเลือกตั้ง และพรรคการเมืองลง หันไปขยายบทบาทอำนาจตรวจสอบถ่วงดุลของบรรดาสถาบันที่ไม่ได้มาจากเสียงข้างมาก (non-majoritarian institutions) และการเลือกตั้งที่เชื่อมโยงกับประชาชน เช่น ฝ่ายตุลาการ วุฒิสภา และองค์กรอิสระต่างๆ

อ้างอิง

  1. Zakaria, Fareed. “The Rise of Illiberal Democracy”. In Foreign Affairs. Acceded July 4, 2012 from http://msuweb.montclair.edu/~lebelp/FZakariaIlliberalDemocracy1997.pdf.
  2. Zakaria, Fareed (2007). The Future of Freedom: Illiberal Democracy at Home and Abroad. New York: W. W. Norton & Company.
  3. Mitchell, Neil J. “Illiberal Democracy and Vladimir Putin's Russia”. In College Board. Accessed July 4, 2012 from http://apcentral.collegeboard.com/apc/members/courses/teachers_corner/32074.html.
  4. Case, William (2010). Contemporary Authoritarianism in Southeast Asia: Structures, Institutions and Agency. London: Routledge Taylor & Francis.
  5. เกษียร เตชะพีระ (2551). “แนวโน้มสถานการณ์ในอนาคต: ระบอบ” ใน มติชน. ปีที่ 31 ฉบับที่ 10975, 28 มีนาคม 2551.

ประชาธ, ปไตยท, ไม, เสร, illiberal, democracy, นค, อประชาธ, ปไตยท, กจำก, ดส, ทธ, พลเม, องท, แม, โดยท, อาจจะอย, ภายใต, ฐบาลท, มาจากการเล, อกต, ประชาชนถ, กละเม, และม, ทธ, จำก, หร, อไม, ได, บความค, มครอง, การป, ดก, นการเข, าถ, งข, อม, อถ, กควบค, และการแสดงความค, ด. prachathipitythiimesri Illiberal Democracy nnkhuxprachathipitythithukcakdsiththiphlemuxngthiaemodythixaccaxyuphayitrthbalthimacakkareluxktng prachachnthuklaemid aelamisiththithicakd hruximidrbkhwamkhumkhrxng mikarpidknkarekhathungkhxmul suxthukkhwbkhum aelakaraesdngkhwamkhidehnkhxngprachachnxyuphayitkarkhwbkhumxyangekhmngwdcakrth nxkcakniinrabxbprachathipitythiimesri krabwnkareluxktngmkimepniptamhlkkareluxktnginrabxbesriprachathipity thiennkhwamoprngis transparency epnxisra free cakkarkhrxbngaodyphukumxanacrthhruxxanacxunid karaekhngkhneluxktngihkhwamepnthrrm fair kbphuaekhngkhnaelaphusnbsnunthukfay aelapraknkhwamlbkhxngphulngkhaaenneluxktng secret ballot rabxbprachathipitythiimesrimkekidkhuninsngkhmthixyurahwangkarepliynphancakrabxbthiimepnprachathipityipsukarepnprachathipity sungmkcaekidkhuninpraethskalngphthna developing country hruxpraethsprachathipityihm new democracies aetbangkhrngpraethsthiphthnaaelwbangpraethskxacmimitikhxngprachathipitythiimesripraktihehniddwyechnkn xathi insingkhoprthimikareluxktngthisrangktikapidknkaraekhngkhn kidknphusmkhrfaykhan impraknkhwamlbkhxngphulngkhaaennesiyngeluxktng aelakarcakdsiththiesriphaphkhxngsuxmwlchnaelaprachachninkaraesdngkhwamkhidehn Zakaria 1997 22 43 1 xrrthathibay aekikhinhnngsuxeruxng The Future of Freedom Illiberal Democracy at Home and Abroad khxngfarid sakhaeriy Fareed Zakaria 2 idphudthungprachathipityaebbimesriiwwa esri liberal kbprachathipity democracy mkthukklawthungrwmkninpraethstawntk aetthng 2 kha imcaepntxngekidkhwbkhuknesmxip khawaprachathipitycamaphrxmkbkartdsinicdwyesiyngkhangmak majority rule aetkhawaesricamilksnaepnesriphaphkhxngpceckbukhkhl individual freedom sungesriphaphkhxngpceckbukhkhlhlaykhrngmkcaphbkbpyhakhwamkhdaeyngkbkartdsinicodyesiyngkhangmak hruxephdckaresiyngkhangmak tyrannical majority chann bangpraethsthimirabxbkarpkkhrxngaebbprachathipity mikareluxktng aetxaccaimidmxbsiththiesriphaphihkbprachachn hruxbangkhrngkartdsinicodyesiyngkhangmakidipkrathbkraethuxnthungsiththiswnbukhkhl twxyangechn rsesiy thimiphupkkhrxngmacakkareluxktng aetidmikdhmaythicakdkarichsiththiesriphaphkhxngpceckbukhkhl aelaesriphaphkhxngsuxiwxyangchdecn rwmipthungbthbathkhxngphunathiennxanacbarmiaelaichklikrthinkarkhwbkhumprachachndwykhwamrunaerng phukkhadxanacinkarekhathungkhxmul aelakhwbkhumsux 3 khawaprachathipityaebbimesricungmkichxthibaypraethsthimiprachathipityaetephiynginechingrupaebb aetimsngesrimesriphaphkhxngprachachn khxyktwxyangpraethsinexechiytawnxxkechiyngit echn singkhopr epnpraethsthiepnprachathipity miphunathimacakkareluxktng aetmikhxkdhmayhlayxyangthicakdesriphaphinkarxxkesiynginsphaaelakarthangankhxngfaykhan rwmthungkhxbngkhbinkarcdtngphrrkhkaremuxngfaytrngkhamthicaekhamaaekhngkhnkbphrrkh People s Action Party PAP thaihkaraekhngkhnkhxngphrrkhkaremuxngimesri ephraathukphukkhadodyphrrkhrthbal echnediywkbmaelesiythithukphukkhadxanacodyphrrkh United Malays National Organization UMNO aelayngsamarthxthibaykaremuxngfilippins thithukeriykwaepnphupwyaehngexechiy Sick Man of Asia ephraaaemcamiprachathipityaelarththrrmnuythithukwangrakthancakshrthxemrika aetkaremuxngyngkhngepnrabbphwkphxng karxupthmphthangkaremuxng mikarichenginsuxsiththikhayesiyng aelamikarkhxrrpchnxyangkwangkhwang 4 inpraethsithy aekikhmummxngaelakrnitwxyanginbthkhwamnixacimidaesdngthungmummxngthiepnsaklkhxngeruxngkhunsamarthchwyaekikhbthkhwamni odyephimmummxngsaklihmakkhun hruxaeykpraednyxyipsrangepnbthkhwamihm eriynruwacanasaraemaebbnixxkidxyangiraelaemuxir sahrbpraethsithy khawaprachathipityaebbimesrithuknamaichxthibaykaremuxngithyinchwngprachathipitykhrungib pramanpi ph s 2523 31 aelaxthibaykaremuxngithyyukhthnathipity money politics rwmipcnthunghlngpi ph s 2544 epntnma odyeksiyr etchaphira 2551 klawthungprachathipityaebbimesriiwwa inthwiplatinxemrika aexfrikaaelaexechiyhlaypraeths bangthikeriykwa rabxbeluxktngthipity electocracy electocrats hruxeriykphukumxanacinrabxbniwa democratators hrux cxmbngkarprachathipity cnkrathngrabxbprachathipityimesrithukwiphakswicarnwaepn the fallacy of electoralism epnrupaebbkaremuxngthiennkareluxktngephiyngxyangediyw odyennhlkkhwamesmxphakhaelaxanacxthipitykhxngprachachnphankareluxktngaelaphrrkhkaremuxngodd danediyw aetlaelyhruxlwnglaemidhlksiththiesriphaphaelahlknitithrrmipesiy ekhathanxng elections democracy ipsahrbkarxthibaybribthkaremuxngithy eksiyr etchaphira idklawthungprachathipityaebbimesriodyklawthungsthankarnodyrwmchwngpi ph s 2531 2540 wakhwamimesrikhxngprachathipityithyepnphlcakkarekhakumxanackaremuxngodyklumnaythunhwemuxng nkeluxktng provincial capitalists electocrats aelasthankarnodyrwmchwngpi ph s 2544 epntnma ekidkarprachnkhnaekhngknrahwangrupaebbprachathipitytang aelathukeriykkhanaetktangknip echn prachathipityimesrihruxprachathipityxanacniym illiberal authoritarian democracy esrixttathipity liberal autocracy ephdckarthharkhxngphlngrabbrachkar chnchnnaaelakhnchnklangsungmithimacakkhnarthprahar aelarabxbesriprachathipitykhrungib liberal semi democracy khxngklumthunihyphukkhadaelaphnthmitrkhxngxditnaykrthmntrithksin phayitrththrrmnuychbbprachamti ph s 2550 sungldkhwamsakhykhxnghlkkhwamesmxphakhthangxanac aelaxanacxthipitykhxngprachachnthiaesdngxxkphankareluxktng aelaphrrkhkaremuxnglng hnipkhyaybthbathxanactrwcsxbthwngdulkhxngbrrdasthabnthiimidmacakesiyngkhangmak non majoritarian institutions aelakareluxktngthiechuxmoyngkbprachachn echn faytulakar wuthispha aelaxngkhkrxisratang 5 xangxing aekikh Zakaria Fareed The Rise of Illiberal Democracy In Foreign Affairs Acceded July 4 2012 from http msuweb montclair edu lebelp FZakariaIlliberalDemocracy1997 pdf Zakaria Fareed 2007 The Future of Freedom Illiberal Democracy at Home and Abroad New York W W Norton amp Company Mitchell Neil J Illiberal Democracy and Vladimir Putin s Russia In College Board Accessed July 4 2012 from http apcentral collegeboard com apc members courses teachers corner 32074 html Case William 2010 Contemporary Authoritarianism in Southeast Asia Structures Institutions and Agency London Routledge Taylor amp Francis eksiyr etchaphira 2551 aenwonmsthankarninxnakht rabxb in mtichn pithi 31 chbbthi 10975 28 minakhm 2551 ekhathungcak https th wikipedia org w index php title prachathipitythiimesri amp oldid 9415557, wikipedia, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด,

บทความ

, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม