fbpx
วิกิพีเดีย

พระญาณวิศิษฏ์สมิทธิวีราจารย์ (สิงห์ ขนฺตยาคโม)

พระญาณวิศิษฏ์สมิทธิวีราจารย์ หรือ หลวงปู่สิงห์ ขนฺตยาคโม (27 มกราคม พ.ศ. 2432 - 8 กันยายน พ.ศ. 2504) เป็นพระภิกษุฝ่ายธรรมยุติกนิกาย ชาวจังหวัดอุบลราชธานี พระป่ากรรมฐานศิษย์องค์สำคัญของ หลวงปู่เสาร์ กนฺตสีโล และ หลวงปู่มั่น ภูริทตฺโต

พระญาณวิศิษฏ์สมิทธิวีราจารย์
(สิงห์ ขนฺตยาคโม)
หลวงปู่สิงห์, พระอาจารย์สิงห์
พระญาณวิศิษฏ์สมิทธิวีราจารย์ (สิงห์ ขนฺตยาคโม)
เกิด27 มกราคม พ.ศ. 2432
มรณภาพ8 กันยายน พ.ศ. 2504
อายุ72 ปี
อุปสมบท30 พฤศจิกายน พ.ศ. 2452
พรรษา52
วัดวัดป่าสาลวัน
จังหวัดจังหวัดนครราชสีมา
สังกัดธรรมยุติกนิกาย
ตำแหน่งอดีตเจ้าอาวาสวัดป่าสาลวัน
ส่วนหนึ่งของสารานุกรมพระพุทธศาสนา

หลวงปู่สิงห์ ขนฺตยาคโม เป็นพระภิกษุผู้ปฏิบัติดีปฏิบัติชอบ ตามพระธรรมวินัย เอาใจใส่การศึกษาปฏิบัติธรรม มีความรู้ความเห็นลึกซึ้ง มีปฏิภาณเทศนาแจ่มแจ้ง โวหารไพเราะจับใจ มีชื่อเสียงด้านวิปัสสนาธุระ ธรรมบาลี อักษรสมัย และวิทยาคม เป็นบุคคลที่มีจิตใจหนักแน่ ประพฤติพรหมจรรย์ บำเพ็ญวิปัสสนาธุระตลอดชีวิต มุ่งดีต่อหมู่คณะและพระศาสนา รับภารธุระครูบาอาจารย์ ฟื้นฟูทำนุบำรุงพระพุทธศาสนาฝ่ายวิปัสสนาธุระ เมื่อรับตำแหน่งฝ่ายบริหาร ยินดีรับภารธุระและเอาใจใส่ด้วยความเต็มใจ ยังกิจการคณะสงฆ์ให้เจริญรุ่งเรื่อง มีพระสงฆ์สามเณรและฆราวาสเป็นศิษย์มากมาย จนได้รับขนานนามว่า แม่ทัพธรรมพระกรรมฐาน

ประวัติ

ชาติกำเนิด

หลวงปู่สิงห์ ขนฺตยาคโม นามเดิมชื่อ สิงห์ บุญโท ถือกำเนิดเมื่อวันจันทร์ ขึ้น 7 ค่ำ เดือน 3 ปีฉลู เอกศก จุลศักราช 1251 ตรงกับวันที่ 27 มกราคม พ.ศ. 2432 ณ บ้านหนองขอน ตำบลหัวตะพาน อำเภออำนาจเจริญ จังหวัดอุบลราชธานี ซึ่งในปัจจุบันคือ บ้านหนองขอน ตำบลหัวตะพาน อำเภอหัวตะพาน จังหวัดอำนาจเจริญ บิดาชื่อ เพียอินทวงษ์ (อ้าน บุญโท) มารดาชื่อ หล้า บุญโท ท่านเป็นบุตรคนที่ 4 ในจำนวนพี่น้องทั้งหมด 7 คน (บุตรคนที่ 5 คือ พระอาจารย์มหาปิ่น ปญฺญาพโล ป.ธ.5 พระน้องชายของหลวงปู่สิงห์ ขนฺตยาคโม)

บรรพชา

ปี พ.ศ. 2446 เมื่อท่านอายุ 14 ปี ได้บรรพชาเป็นสามเณรสำนักพระอุปัชฌาย์ป้อง ณ วัดบ้านหนองขอน ตำบลหัวตะพาน อำเภออำนาจเจริญ จังหวัดอุบลราชธานี

ปี พ.ศ. 2449 เมื่อท่านอายุ 17 ปี ได้ย้ายไปอยู่ วัดสุทัศน์ เมืองอุบลราชธานี เพื่อศึกษาเล่าเรียนวิชาความรู้ให้ยิ่งขึ้น และได้บวชซ้ำเป็นสามเณรธรรมยุตในสำนักพระครูสมุห์โฉม ณ วัดสุทัศน์ เมืองอุบลราชธานี เมื่อวันพฤหัสบดี ขึ้น 15 ค่ำ เดือน 8 ตรงกับวันที่ 5 กรกฎาคม พ.ศ. 2449 ในปัจจุบันคือ วัดสุทัศนาราม ตำบลในเมือง อำเภอเมืองอุบลราชธานี จังหวัดอุบลราชธานี

อุปสมบท

ปี พ.ศ. 2452 เมื่อท่านอายุ 20 ปี ได้อุปสมบทเป็นพระภิกษุ ณ พัทธสีมาวัดสุทัศน์ เมืองอุบลราชธานี เมื่อวันที่ 30 พฤศจิกายน พ.ศ. 2452 โดยมี พระศาสนดิลก (อ้วน ติสฺโส) ต่อมาดำรงสมณศักดิ์ที่ สมเด็จพระมหาวีรวงศ์ (อ้วน ติสฺโส) เป็นพระอุปัชฌาย์ พระมหาเสน ชิตเสโน ต่อมาดำรงสมณศักดิ์ที่ พระสาสนดิลก เป็นพระกรรมวาจาจารย์ และ พระปลัดทัศน์ เป็นพระอนุสาวนาจารย์ และได้พำนักจำพรรษา ณ วัดสุทัศน์ เมืองอุบลราชธานี แห่งนี้ ในปัจจุบันคือ วัดสุทัศนาราม ตำบลในเมือง อำเภอเมืองอุบลราชธานี จังหวัดอุบลราชธานี

ชีวิตในร่มกาสาวพัสตร์และการศึกษาธรรม

ปี พ.ศ. 2458 หลวงปู่มั่น ภูริทตฺโต ได้กลับจากเขาสาริกา จังหวัดนครนายก ไปพักจำพรรษา ณ วัดบูรพาราม จังหวัดอุบลราชธานี มีกิตติศัพท์ขจรไปว่า ท่านได้สำเร็จธรรมจากเขาสาริกา ดังนั้น พระอาจารย์สิงห์ ขนฺตยาคโม จึงได้ไปศึกษากรรมฐานกับ หลวงปู่มั่น ภูริทตฺโต ท่านให้กรรมฐาน กายคตาสติ ข้อ ปัปผาสะ ปัญจกะ (คือ หทยํ ยกนํ กิโลมกํ ปิหกํ ปปฺผาสํ) ให้เป็นบทบริกรรม ในช่วงปีนี้ พระอาจารย์สิงห์ ขนฺตยาคโม ได้ถวายตัวเป็นศิษย์ หลวงปู่มั่น ภูริทตฺโต พร้อมกับเพื่อนสหธรรมิกคือ พระอาจารย์ดูลย์ อตุโล เมื่อได้ถวายตัวเป็นศิษย์และได้ฝึกทำสมาธิกับครูบาอาจารย์ จิตใจสงบดี มีความสังเวชสลดใจเกิดความเบื่อหน่ายในการประกอบคันถธุระ เชื่อแน่ว่ายังไม่หมดเขตสมัยมรรคผลนิพพาน เพราะหนทางการปฏิบัติดีปฏิบัติชอบมีอยู่ จึงตกลงบำเพ็ญด้านวิปัสสนาธุระสืบไป และได้ออกธุดงค์ติดตาม หลวงปู่มั่น ภูริทตฺโต นับแต่นั้นมาไป ซึ่งท่านได้ธุดงค์วิเวกตามป่าเขาสถานที่ต่างๆในเขตจังหวัดมุกดาหาร จังหวัดนครพนม จังหวัดหนองคาย

 
หลวงปู่ดูลย์ อตุโล กับ หลวงปู่สิงห์ ขนฺตยาคโม ณ วัดสุทัศน์ จังหวัดอุบลราชธานี

ปี พ.ศ. 2460 หลังออกพรรษา พระอาจารย์สิงห์ ขนฺตยาคโม ได้เดินทางกลับจังหวัดอุบลราชธานี พร้อมกับ เด็กชายเทสก์ เรี่ยวแรง เพื่อเยี่ยมอาการป่วยของพี่ชายและน้องชาย ต่อมาพี่ชายได้ถึงแก่กรรม ส่วนน้องชาย คือ พระมหาปิ่น ปญฺญาพโล หายป่วยและได้เดินทางไปศึกษาเล่าเรียน ณ วัดบวรนิเวศวิหาร กรุงเทพมหานคร

ในการกลับมาจังหวัดอุบลราชธานีในครั้งนี้ ได้รับบัญชาจาก สมเด็จพระมหาวีรวงศ์ (อ้วน ติสฺโส) ในขณะดำรงสมณศักดิ์ที่ พระราชมุนี เจ้าอาวาสวัดสุปัฏนารามวรวิหารและเจ้าคณะมณฑลอุบลราชธานี ให้ช่วยสั่งสอนพุทธบริษัทในวัดสุปัฎน์ (วัดสุปัฏนารามวรวิหาร) และวัดสุทัศน์ (วัดสุทัศนาราม) อีกด้วย และหลังออกจากพรรษาในปี พ.ศ. 2461 ท่านได้ออกธุดงค์ติดตามหา หลวงปู่มั่น ภูริทตฺโต และพำนักจำพรรษาในเขตจังหวัดกาฬสินธุ์ จังหวัดอุดรธานี จังหวัดหนองคาย

ปี พ.ศ. 2463 พระอาจารย์สิงห์ ขนฺตยาคโม ได้ธุดงค์วิเวกไปพักจำพรรษาเพียงลำเพียงรูปเดียว ณ ถ้ำผาบิ้ง อำเภอวังสะพุง จังหวัดเลย เมื่อได้โอกาสดีจึงเร่งความเพียรแต่ต้นพรรษา จนถึงกลางเดือน 9 ได้เกิดความอัศจรรย์ทางจิต เกิดความรู้ความเห็นแจ่มแจ้งในพระธรรมวินัย จึงเร่งความเพียรต่อไปตลอดไตรมาส ได้เกิดความเข้าใจว่า "พระพุทธเจ้าทรงเป็นวิภัชวาที (ผู้จำแนกธรรม) ตรัสจำแนกขันธ์ 5 ในตัวเรา หรือ กายกับใจ ออกเป็นพระธรรมวินัยถึง 84000 พระธรรมขันธ์ เมื่อกล่าวความจริงแล้ว ตัวคนเรา หรือ กายกับใจ นี้เป็นตัวอริยสัจทั้ง 4 คือ ทุกข์ ทุกขสมุทัย ทุกขนิโรธ และทุกขนิโรธคามินีปฏิปทา รวมกันเป็นธรรมแท่งเดียว" ในตอนนี้ท่านบันทึกต่อว่า "ความรู้ที่เกิดขึ้นในตอนนี้ ละเอียดเฉียบแหลมคมคายมาก รู้จักตัดสินพระธรรมวินัยได้เด็ดขาด ทำให้การปฏิบัติพระธรรมและพระวินัยเป็นไปอย่างเด็ดเดี่ยวมั่นคงและกล้าหาญ"

หลังจากออกพรรษาในปี พ.ศ. 2463 ท่านได้เดินทางไปหาหลวงปู่มั่น ภูริทตฺโต ซึ่งพำนักอยู่ที่จังหวัดสกลนคร และธุดงค์ติดตามต่อไปในเขตจังหวัดสกลนคร จังหวัดนครพนม จังหวัดมุกดาหาร และในช่วงนี้ได้ท่านได้พำนักกับ หลวงปู่เสาร์ กนฺตสีโล ซึ่งเป็นครูบาอาจารย์ของ หลวงปู่มั่น ภูริทตฺโต อีกด้วย

ปี พ.ศ. 2466 หลังออกพรรษา ปี พ.ศ. 2465 ท่านได้เดินทางกลับจังหวัดอุบลราชธานี เนื่องจากโยมมารดาถึงแก่กรรม และอยู่พำนักจำพรรษา ณ วัดสุทัศน์ จังหวัดอุบลราชธานี ซึ่งในการนี้ท่านได้นำ สามเณรเทสก์ เรี่ยวแรง ทำการอุปสมบท ณ พัทธสีมาวัดสุทัศน์ หรือ วัดสุทัศนาราม จังหวัดอุบลราชธานี เมื่อวันที่ 16 พฤษภาคม พ.ศ. 2466 โดยมี พระมหารัตน์ รฏฺฐปาโล ป.ธ. 4 เป็นพระอุปัชฌาย์ พระมหาปิ่น ปญฺญาพโล เป็นพระกรรมวาจาจารย์ ซึ่งสามเณรเทสก์ เรี่ยวแรง นั้นในกาลต่อมาก็คือ พระราชนิโรธรังสีคัมภีรปัญญาวิศิษฏ์ (เทสก์ เทสรังสี)

ในปีนี้ ท่านได้ทำการอบรม พระมหาปิ่น ปญฺญาพโล ป.ธ.5 ผู้เป็นพระน้องชาย ในทางวิปัสสนาธุระ จนกระทั่งพระมหาปิ่นผู้เป็นน้องชายได้ตัดสินใจออกธุดงค์ปฏิบัติธรรมกรรมฐานศึกษาด้านวิปัสสนาธุระ และเผยแผ่พระธรรมคำสอนสู่ประชาชนเคียงบ่าเคียงไหล่พระพี่ชาย ชื่อเสียงขจรหอมฟุ้งร่ำลือไปไกล จนมีผู้จนเลื่อมใสศรัทธาอย่างกว้างขวางมาจนถึงปัจจุบัน

ปี พ.ศ. 2470 ในวันเพ็ญ เดือน 3 ก่อนเข้าพรรษา คณะพระธุดงค์กรรมฐานของหลวงปู่มั่น ภูริทตฺโต ปักหลักอยู่ในเขตจังหวัดอุบลราชธานี และได้จัดประชุมคณะสงฆ์ขึ้นในช่วงวันมาฆบูชา ซึ่งในการนี้ หลวงปู่มั่น ภูริทตฺโต ได้ปรารภถึงการออกธุดงค์วิเวกเพียงลำพังเพื่อพิจารณาค้นคว้าในปฏิปทาสัมมาปฏิบัติอันเป็นธรรมอันสูงสุด และได้มอบภารธุระทุกอย่างให้แก่ พระอาจารย์สิงห์ ขนฺตยาคโม และ พระอาจารย์มหาปิ่น ปญฺญาพโล ศิษย์อาวุโสเป็นผู้บริหารปกครองหมู่คณะสงฆ์ แนะนำพร่ำสอน ตามแนวทางที่ท่านได้ให้ไว้แล้วต่อไป

ปี พ.ศ. 2471 พระครูพิศาลอรัญเขต ในกาลต่อมาก็คือ พระเทพสิทธาจารย์ (จันทร์ เขมิโย) ซึ่งดำรงตำแหน่งเจ้าอาวาสวัดศรีจันทร์และเจ้าคณะจังหวัดขอนแก่นในขณะนั้น ได้ทำหนังสือไปนิมนต์พระอาจารย์สิงห์ ขนฺตยาคโม ศิษย์อาวุโสในองค์หลวงปู่มั่น ภูริทตฺโต ให้มาช่วยเผยแผ่พระพุทธศาสนาธรรมปฏิบัติให้แก่ประชาชนจังหวัดขอนแก่น ท่านจึงได้กราบเรียนปรึกษาหลวงปู่มั่น ภูริทตฺโต เมื่อเห็นว่าเหมาะสมดีแล้ว จึงมอบให้เป็นหน้าที่ของพระอาจารย์สิงห์ ขนฺตยาคโม รับนิมนต์

 
หลวงปู่ฝั้น อาจาโร (ซ้าย), หลวงปู่มหาปิ่น ปญฺญาพโล (กลาง), หลวงปู่สิงห์ ขนฺตยาคโม (ขวา) กองทัพธรรมพระกรรมฐาน

หลังจากออกพรรษาแล้ว พระอาจารย์สิงห์ ขนฺตยาคโม พระอาจารย์มหาปิ่น ปญฺญาพโล กับหมู่คณะสงฆ์ ได้เดินเท้านำกองทัพธรรมจากบ้านนาหัววัว อำเภอกุดชุม จังหวัดอุบลราชธานี (ปัจจุบันคือจังหวัดยโสธร) มุ่งสู่จังหวัดขอนแก่น และได้ตั้งสำนักสงฆ์ขึ้นที่ ป่าช้าโคกเหล่างา ซึ่งอยู่ทางทิศตะวันออกของจังหวัดขอนแก่น ซึ่งปัจจุบันก็คือ วัดป่าวิเวกธรรม อำเภอเมือง จังหวัดขอนแก่น ซึ่งในขณะนั้นมีพระสงฆ์สามเณรรวมกันไม่ต่ำกว่า 70 รูป ท่านจึงได้ประชุมคณะสงฆ์ตกลงกันให้แยกย้ายกันไปตั้งเป็น สำนักสงฆ์วัดป่าอรัญวาสี ในพื้นที่จังหวัดขอนแก่นและพื้นที่ใกล้เคียง จึงทำให้วัดป่าอรัญวาสีและคณะสงฆ์ธรรมยุติกนิกายตั้งขึ้นในจังหวัดขอนแก่นและพื้นที่ใกล้เคียงเป็นจำนวนมาก ด้วยเหตุนี้เองจึงนับได้ว่า วัดป่าวิเวกธรรม เป็นศูนย์กลางของพระพุทธศาสนาฝ่ายอรัญวาสีของภาคอีสานตอนกลาง

ปี พ.ศ. 2475 สมเด็จพระมหาวีรวงศ์ (อ้วน ติสฺโส) ในขณะที่ดำรงสมณศักดิ์ที่ พระธรรมปาโมกข์ และดำรงตำแหน่งเป็น เจ้าอาวาสวัดสุทธจินดาวรวิหาร และ เจ้าคณะมณฑลนครราชสีมา ได้บัญชาให้ พระอาจารย์สิงห์ ขนฺตยาคโม เดินทางไปเผยแผ่พระพุทธศาสนาฝ่ายวิปัสสนาธุระและหลักธรรมคำสอนให้แก่ประชาชนชาวจังหวัดนครราชสีมา ดังนั้น พระอาจารย์สิงห์ ขนฺตยาคโม จึงนำหมู่คณะสงฆ์ อาทิ พระอาจารย์มหาปิ่น ปญฺญาพโล พระอาจารย์ฝั้น อาจาโร พระอาจารย์อ่อน ญาณสิริ พระอาจารย์กงมา จิรปุญฺโญ เดินทางมุ่งสู่งจังหวัดนครราชสีมา

ในการนี้ สมเด็จพระมหาวีรวงศ์ (อ้วน ติสฺโส) ดำริให้สร้างวัดป่าอรัญวาสีขึ้น สำหรับคณะสงฆ์ฝ่ายวิปัสสนาธุระ เพื่อใช้จำพรรษาและบำเพ็ญเพียรวิปัสสนากรรมฐาน หลวงชำนาญนิคมเขต ผู้บังคับกองตำรวจกองเมืองนครราชสีมาในขณะนั้น มีศรัทธาถวายที่ดินและรับบัญชาก่อสร้างเป็นสำนักสงฆ์ขึ้น ซึ่งสมเด็จพระมหาวีรวงศ์ (อ้วน ติสฺโส) ให้นามว่า วัดป่าสาลวัน โดยมี พระอาจารย์สิงห์ ขนฺตยาคโม เป็นเจ้าอาวาสรูปแรก และได้สร้างสำนักสงฆ์ขึ้นอีกแห่ง ซึ่งก็คือ วัดป่าศรัทธารวม โดยมี พระอาจารย์มหาปิ่น ปญฺญาพโล เป็นเจ้าอาวาสรูปแรก ในกาลต่อมาได้มีสร้างวัดป่าอรัญวาสีในเขตจังหวัดนครราชสีมาและจังหวัดใกล้เคียงเพิ่มมากขึ้น

ปี พ.ศ. 2480 สมเด็จพระมหาวีรวงศ์ (อ้วน ติสฺโส) ในขณะที่ดำรงสมณศักดิ์ที่ พระพรหมมุนี และดำรงตำแหน่งเป็น เจ้าอาวาสวัดบรมนิวาสราชวรวิหาร และ เจ้าคณะมณฑลนครราชสีมา ได้บัญชาให้ พระอาจารย์สิงห์ ขนฺตยาคโม เดินทางช่วยท่านเจ้าคุณ พระปราจีนมุนี ตั้งวัดป่าอรัญวาสีสำหรับพระฝ่ายวิปัสสนาธุระภาคตะวันออก และไปเผยแผ่พระพุทธศาสนาฝ่ายวิปัสสนาธุระและหลักธรรมคำสอนให้แก่ประชาชนชาวจังหวัดปราจีนบุรี ดังนั้น พระอาจารย์สิงห์ ขนฺตยาคโม พร้อมด้วย พระอาจารย์มหาปิ่น ปญฺญาพโล ได้เดินทางไปยังจังหวัดปราจีนบุรี ท่านทั้งสองได้ตั้ง สำนักสงฆ์วัดป่าทรงคุณ ขึ้น ปัจจุบันก็คือ วัดป่าทรงคุณ ตำบลดงพระราม อำเภอเมืองปราจีนบุรี จังหวัดปราจีนบุรี และได้ช่วยปฏิสังขรณ์ วัดปากกระพอก อำเภอศรีมหาโพธิ จังหวัดปราจีนบุรี ซึงร้างมา 5 ปี ให้กลับคืนสู่สภาพเป็นวัดมีพระภิกษุสงฆ์อยู่ประจำ

 
พระอาจารย์มหาปิ่น ปญฺญาพโล พระน้องชายคู่บารมี

ปี พ.ศ. 2483 ในขณะ พระอาจารย์สิงห์ ขนฺตยาคโม ได้กลับมาพำนักจำพรรษาที่วัดป่าสาลวัน เพื่อสอนพุทธบริษัทให้ฝึกหัดนั่งสมาธิภาวนาเป็นประจำ กระทั่งออกพรรษา คณะชาวบ้านหนองบัวใหญ่ อำเภอจัตุรัส จังหวัดชัยภูมิ ได้มาอาราธนาให้ไปสร้างสำนักสงฆ์ขึ้นที่ บ้านหนองบัวใหญ่ ท่านจึงได้เดินทางไปสร้างวัดขึ้นและให้ชื่อว่า วัดป่าไพโรจน์ ปัจจุบันคือ วัดป่าสุวรรณไพโรจน์ ต.หนองบัวใหญ่ อำเภอจัตุรัส จังหวัดชัยภูมิ

ในปีนี้ ช่วงที่พำนักอยู่ วัดป่าไพโรจน์ พระอาจารย์สิงห์ ขนฺตยาคโม ได้เดินทางไปจังหวัดอุบลราชธานี เพื่อเป็นประธานในการจัดงานถวายมุทิตาจิต หลวงปู่เสาร์ กนฺตสีโล อายุครบ 80 ปี โดยจัดขึ้น ณ วัดบูรพาราม อำเภอเมือง จังหวัดอุบลราชธานี

ปี พ.ศ. 2485 พระอาจารย์สิงห์ ขนฺตยาคโม ได้เดินทางไปจังหวัดนครจัมปาศักดิ์ ประเทศไทย ในขณะนั้น เพื่อรับสรีระสังขาร หลวงปู่เสาร์ กนฺตสีโล ซึ่งได้มรณภาพในอิริยาบถนั่งกราบพระประธานครั้งที่ 3 ในพระอุโบสถวัดอำมาตยาราม อำเภอวรรณไวทยากร จังหวัดนครจัมปาศักดิ์ ประเทศไทย ในขณะนั้น (ปัจจุบันเป็นส่วนหนึ่งของแขวงจำปาศักดิ์ ประเทศลาว) เมื่อวันที่ 3 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2485 สิริอายุ 82 ปี พรรษา 62 คณะศิษย์ได้เชิญศพของท่านกลับมา ณ วัดบูรพาราม อำเภอเมือง จังหวัดอุบลราชธานี และได้ประกอบพิธีฌาปนกิจในวันที่ 15 - 16 เมษายน พ.ศ. 2486

ในปีนี้ คณะวัดป่าแสนสำราญ อำเภอวารินชำราบ จังหวัดอุบลราชธานี ได้มาอาราธนาให้ไปช่วยสั่งสอนพุทธบริษัทญาติโยมและช่วยสร้างศาลาการเปรียญ เมื่อทำเสร็จแล้วจึงกลับไปจำพรรษา ณ วัดป่าสาลวัน จังหวัดนครราชสีมา และ พ.ศ. 2486 ในช่วงเวลานอกพรรษา ได้กลับไปจัดสร้างพระพุทธบาท กว้าง 1 เมตร ยาว 2 เมตร พร้อมมณฑปเป็นที่ประดิษฐานพระพุทธบาท ณ วัดป่าแสนสำราญ อำเภอวารินชำราบ จังหวัดอุบลราชธานี

ปี พ.ศ. 2487 พระอาจารย์สิงห์ ขนฺตยาคโม ได้ไปพำนักจำพรรษา ณ วัดป่าแสนสำราญ อำเภอวารินชำราบ จังหวัดอุบลราชธานี เนื่องจาก พระอาจารย์มหาปิ่น ปญฺญาพโล พระน้องชายอาพาธและพำนักจำพรรษาอยู่ที่วัดป่าแสนสำราญแห่งนี้ อีกทั้ง สมเด็จพระมหาวีรวงศ์ (อ้วน ติสฺโส) ก็อาพาธและได้มาพักรักษาตัวอยู่ที่วัดสุปัฏนารามวรวิหาร อำเภอเมือง จังหวัดอุบลราชธานี ซึ่งเจ้าประคุณสมเด็จฯก็ได้บัญชาให้ท่านมาอยู่พำนักจำพรรษาในที่ใกล้ๆไปมาเยี่ยมเยียนกันได้ง่าย

ปี พ.ศ. 2489 ในขณะที่พระอาจารย์สิงห์ ขนฺตยาคโม ได้กลับไปพำนักจำพรรษา ณ วัดป่าสาลวัน จังหวัดนครราชสีมา นั้น พระอาจารย์มหาปิ่น ปญฺญาพโล ได้มรณภาพ เมื่อวันที่ 2 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2489 ณ ณ วัดป่าแสนสำราญ อำเภอวารินชำราบ จังหวัดอุบลราชธานี ในการนี้ สมเด็จพระมหาวีรวงศ์ (อ้วน ติสฺโส) ได้บัญชาให้จัดพิธีฌาปนากิจโดยไม่ชักช้า พระอาจารย์สิงห์ ขนฺตยาคโม จึงได้จัดพิธีฌาปนากิจ พระอาจารย์มหาปิ่น ปญฺญาพโล เมื่อวันที่ 5 มีนาคม พ.ศ. 2489

ปี พ.ศ. 2491 พระอาจารย์สิงห์ ขนฺตยาคโม ได้ไปพำนักจำพรรษา ณ วัดป่าทรงคุณ ตำบลดงพระราม อำเภอเมืองปราจีนบุรี จังหวัดปราจีนบุรี เพื่ออบรมสั่งสอนคณะพุทธบริษัทวัดป่าทรงคุณ ให้ประพฤติปฏิบัติตามพระธรรมวินัย ให้เป็นไปเพื่อความสามัคคีเป็นอันหนึ่งอันเดียวกัน ต่อมาได้สร้าง วัดป่าทรงธรรม ตำบลท่าตูม อำเภอศรีมหาโพธิ จังหวัดปราจีนบุรี และท่านได้ไปช่วยคณะสงฆ์จังหวัดเพชรบุรีสร้างวัดธรรมยุตขึ้นในเขตจังหวัดเพชรบุรีอีกด้วย

ปี พ.ศ. 2504 พระอาจารย์สิงห์ ขนฺตยาคโม ได้จัดงานผูกพัทธสีมาพระอุโบสถวัดป่าสาลวันขึ้น ในการนี้ ได้ถือโอกาสจัดประชุมใหญ่คณะสงฆ์พระกรรมฐาน ทั้งในภาคตะวันออกเฉียงเหนือและภาคอื่นๆ ได้มีตัวแทนพระภิกษุสงฆ์มาร่วมประชุมเป็นจำนวนมาก เพื่อปรึกษาหารือข้อปัญหาทางพระวินัย และระเบียบการเดินธุดงค์ของคณะพระกรรมฐาน เพื่อป้องกันความเสียหายอันอาจมีขึ้นเนื่องจากการเดินธุดงค์ไปต่างถิ่นห่างไกลครูบาอาจารย์ เมื่อวันที่ 1 พฤษภาคม พ.ศ. 2504 และเมื่อเสร็จการประชุมแล้ว คณะสงฆ์ได้พร้อมเพรียงกันสวดถอดถอน และผูกพัทธสีมาพระอุโบสถวัดป่าสาลวัน อำเภอเมือง จังหวัดนครราชสีมา ในวันที่ 7 -8 พฤษภาคม พ.ศ. 2504

มรณภาพ

พระญาณวิศิษฏ์สมิทธิวีราจารย์ (สิงห์ ขนฺตยาคโม) ได้ละวางสังขารเนื่องจากเป็นโรคมะเร็งในกระเพาะอาหารเรื้อรัง มรณภาพด้วยอาการสงบ เมื่อวันที่ 8 กันยายน พ.ศ. 2504 เวลา 10.20 น. ณ วัดป่าสาลวัน อำเภอเมือง จังหวัดนครราชสีมา สิริอายุ 72 ปี พรรษา 52

สมณศักดิ์

ได้รับโปรดเกล้าฯ พระราชทานสมณศักดิ์ตามลำดับ ดังนี้

คติธรรมคำสอน

...นักปฏิบัติทั้งหลายในพระพุทธศาสนานี้ พึงเป็นผู้มีศีลเป็นที่รัก มีวัตรปฏิบัติพร้อมบริบูรณ์ และมีธรรมซึ่งมีอุปการะมากเป็นที่เจริญอยู่ จึงเป็นผู้เจริญรุ่งเรือง ธรรมมีอุปการะมาก มีหลายประการ แต่จะกล่าวในที่นี้เฉพาะ 3 ประการ คือ

1. อปฺปมาโท อมตํ ปทํ พึงเป็นผู้ไม่ประมาท ซึ่งบทธรรมอันไม่ตาย
2. สติมา ปริมุขํ สติ อุปฏฺฐเปติ พึงเป็นผู้มีสติ เฉพาะหน้าเสมอ
3. สมฺปชาโน พึงเป็นผู้มีสัมปชัญญะ รู้จิตเสมอ

ธรรม 3 ประการเหล่านี้ เป็นธรรมมีอุปการะมาก นักปฏบัติย่อมเจริญอยู่เป็นนิตย์ ฯ...— พระญาณวิศิษฏ์สมิทธิวีราจารย์ (สิงห์ ขนฺตยาคโม)

อ้างอิง

  • รศ.ดร.ปฐม-รศ.ภัทรา นิคมานนท์. พระญาณวิศิษฏ์สมิทธิวีราจารย์ (หลวงปู่สิงห์ ขนฺตยาคโม) วันป่าสาลวัน อำเภอเมือง จังหวัดนครราชสีมา โครงการหนังสือบูรพาจารย์อิสานใต้ เล่ม 2. กรุงเทพฯ : บริษัท พี.เอ.ลีพวิ่ง จำกัด, 2554. 657 หน้า.
  • รศ.ดร.ปฐม-รศ.ภัทรา นิคมานนท์. พระครูวิเวกพุทธกิจ หลวงปู่ใหญ่เสาร์ กนตสีโล พระปรมาจารย์ใหญ่ฝ่ายพระกรรมฐาน โครงการหนังสือบูรพาจารย์ เล่ม 5. กรุงเทพฯ : บริษัท พี.เอ.ลีพวิ่ง จำกัด, 2546. ุ610 หน้า.
  • คณะศิษยานุศิษย์. วัดป่าวิเวกธรรม (เหล่างา). ขอนแก่น : หจก.ขอนแก่นการพิมพ์, 2556. 111 หน้า.
  • จงดี ภิรมย์ไชย. ประวัติวัดป่าวิเวกธรรม (เหล่างา). ขอนแก่น : หจก.โรงพิมพ์คลังนานาธรรม, 2557. 75 หน้า.
  • พระธมฺมธโร ครูบาแจ๋ว. ธรรมประวัติหลวงปู่จาม มหาปุญฺโญ ผู้มากมีบุญ. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์มติชน, 2554. 622 หน้า.
  1. http://www.dhammathai.org/monk/sangha21.php
  2. ราชกิจจานุเบกษา, แจ้งความสำนักนายกรัฐมนตรี เรื่อง พระราชทานสัญญาบัตรตั้งสมณศักดิ์, เล่ม 70, ตอนที่ 78, 22 ธันวาคม 2496, หน้า 5360
  3. ราชกิจจานุเบกษา, แจ้งความสำนักคณะรัฐมนตรี เรื่อง พระราชทานสัญญาบัตรตั้งสมณศักดิ์, เล่ม 74, ตอนที่ 107 ง, 17 ธันวาคม 2500, หน้า 2955

พระญาณว, ษฏ, สม, ทธ, ราจารย, งห, ขน, ตยาคโม, พระญาณว, ษฏ, สม, ทธ, ราจารย, หร, หลวงป, งห, ขน, ตยาคโม, มกราคม, 2432, นยายน, 2504, เป, นพระภ, กษ, ายธรรมย, กน, กาย, ชาวจ, งหว, ดอ, บลราชธาน, พระป, ากรรมฐานศ, ษย, องค, สำค, ญของ, หลวงป, เสาร, กน, ตส, โล, และ, หลวงป, . phrayanwisistsmiththiwiracary hrux hlwngpusingh khn tyakhom 27 mkrakhm ph s 2432 8 knyayn ph s 2504 epnphraphiksufaythrrmyutiknikay chawcnghwdxublrachthani phrapakrrmthansisyxngkhsakhykhxng hlwngpuesar kn tsiol aela hlwngpumn phuritht otphrayanwisistsmiththiwiracary singh khn tyakhom hlwngpusingh phraxacarysinghphrayanwisistsmiththiwiracary singh khn tyakhom ekid27 mkrakhm ph s 2432mrnphaph8 knyayn ph s 2504xayu72 pixupsmbth30 phvscikayn ph s 2452phrrsa52wdwdpasalwncnghwdcnghwdnkhrrachsimasngkdthrrmyutiknikaytaaehnngxditecaxawaswdpasalwnswnhnungkhxngsaranukrmphraphuththsasnahlwngpusingh khn tyakhom epnphraphiksuphuptibtidiptibtichxb tamphrathrrmwiny exaiciskarsuksaptibtithrrm mikhwamrukhwamehnluksung miptiphanethsnaaecmaecng owharipheraacbic michuxesiyngdanwipssnathura thrrmbali xksrsmy aelawithyakhm epnbukhkhlthimicitichnkaen praphvtiphrhmcrry baephywipssnathuratlxdchiwit mungditxhmukhnaaelaphrasasna rbpharthurakhrubaxacary funfuthanubarungphraphuththsasnafaywipssnathura emuxrbtaaehnngfaybrihar yindirbpharthuraaelaexaicisdwykhwametmic yngkickarkhnasngkhihecriyrungeruxng miphrasngkhsamenraelakhrawasepnsisymakmay cnidrbkhnannamwa aemthphthrrmphrakrrmthan enuxha 1 prawti 1 1 chatikaenid 1 2 brrphcha 1 3 xupsmbth 2 chiwitinrmkasawphstraelakarsuksathrrm 3 mrnphaph 4 smnskdi 5 khtithrrmkhasxn 6 xangxingprawti aekikhchatikaenid aekikh hlwngpusingh khn tyakhom namedimchux singh buyoth thuxkaenidemuxwncnthr khun 7 kha eduxn 3 pichlu exksk culskrach 1251 trngkbwnthi 27 mkrakhm ph s 2432 n banhnxngkhxn tablhwtaphan xaephxxanacecriy cnghwdxublrachthani sunginpccubnkhux banhnxngkhxn tablhwtaphan xaephxhwtaphan cnghwdxanacecriy bidachux ephiyxinthwngs xan buyoth mardachux hla buyoth thanepnbutrkhnthi 4 incanwnphinxngthnghmd 7 khn butrkhnthi 5 khux phraxacarymhapin py yaphol p th 5 phranxngchaykhxnghlwngpusingh khn tyakhom brrphcha aekikh pi ph s 2446 emuxthanxayu 14 pi idbrrphchaepnsamenrsankphraxupchchaypxng n wdbanhnxngkhxn tablhwtaphan xaephxxanacecriy cnghwdxublrachthanipi ph s 2449 emuxthanxayu 17 pi idyayipxyu wdsuthsn emuxngxublrachthani ephuxsuksaelaeriynwichakhwamruihyingkhun aelaidbwchsaepnsamenrthrrmyutinsankphrakhrusmuhochm n wdsuthsn emuxngxublrachthani emuxwnphvhsbdi khun 15 kha eduxn 8 trngkbwnthi 5 krkdakhm ph s 2449 inpccubnkhux wdsuthsnaram tablinemuxng xaephxemuxngxublrachthani cnghwdxublrachthani xupsmbth aekikh pi ph s 2452 emuxthanxayu 20 pi idxupsmbthepnphraphiksu n phththsimawdsuthsn emuxngxublrachthani emuxwnthi 30 phvscikayn ph s 2452 odymi phrasasndilk xwn tis os txmadarngsmnskdithi smedcphramhawirwngs xwn tis os epnphraxupchchay phramhaesn chiteson txmadarngsmnskdithi phrasasndilk epnphrakrrmwacacary aela phrapldthsn epnphraxnusawnacary aelaidphankcaphrrsa n wdsuthsn emuxngxublrachthani aehngni inpccubnkhux wdsuthsnaram tablinemuxng xaephxemuxngxublrachthani cnghwdxublrachthanichiwitinrmkasawphstraelakarsuksathrrm aekikhpi ph s 2458 hlwngpumn phuritht ot idklbcakekhasarika cnghwdnkhrnayk ipphkcaphrrsa n wdburpharam cnghwdxublrachthani mikittisphthkhcripwa thanidsaercthrrmcakekhasarika dngnn phraxacarysingh khn tyakhom 1 cungidipsuksakrrmthankb hlwngpumn phuritht ot thanihkrrmthan kaykhtasti khx ppphasa pycka khux hthy ykn kiolmk pihk pp phas ihepnbthbrikrrm inchwngpini phraxacarysingh khn tyakhom idthwaytwepnsisy hlwngpumn phuritht ot phrxmkbephuxnshthrrmikkhux phraxacaryduly xtuol emuxidthwaytwepnsisyaelaidfukthasmathikbkhrubaxacary citicsngbdi mikhwamsngewchsldicekidkhwamebuxhnayinkarprakxbkhnththura echuxaenwayngimhmdekhtsmymrrkhphlniphphan ephraahnthangkarptibtidiptibtichxbmixyu cungtklngbaephydanwipssnathurasubip aelaidxxkthudngkhtidtam hlwngpumn phuritht ot nbaetnnmaip sungthanidthudngkhwiewktampaekhasthanthitanginekhtcnghwdmukdahar cnghwdnkhrphnm cnghwdhnxngkhay hlwngpuduly xtuol kb hlwngpusingh khn tyakhom n wdsuthsn cnghwdxublrachthani pi ph s 2460 hlngxxkphrrsa phraxacarysingh khn tyakhom idedinthangklbcnghwdxublrachthani phrxmkb edkchayethsk eriywaerng ephuxeyiymxakarpwykhxngphichayaelanxngchay txmaphichayidthungaekkrrm swnnxngchay khux phramhapin py yaphol haypwyaelaidedinthangipsuksaelaeriyn n wdbwrniewswihar krungethphmhankhrinkarklbmacnghwdxublrachthaniinkhrngni idrbbychacak smedcphramhawirwngs xwn tis os inkhnadarngsmnskdithi phrarachmuni ecaxawaswdsuptnaramwrwiharaelaecakhnamnthlxublrachthani ihchwysngsxnphuththbristhinwdsupdn wdsuptnaramwrwihar aelawdsuthsn wdsuthsnaram xikdwy aelahlngxxkcakphrrsainpi ph s 2461 thanidxxkthudngkhtidtamha hlwngpumn phuritht ot aelaphankcaphrrsainekhtcnghwdkalsinthu cnghwdxudrthani cnghwdhnxngkhaypi ph s 2463 phraxacarysingh khn tyakhom idthudngkhwiewkipphkcaphrrsaephiynglaephiyngrupediyw n thaphabing xaephxwngsaphung cnghwdely emuxidoxkasdicungerngkhwamephiyraettnphrrsa cnthungklangeduxn 9 idekidkhwamxscrrythangcit ekidkhwamrukhwamehnaecmaecnginphrathrrmwiny cungerngkhwamephiyrtxiptlxditrmas idekidkhwamekhaicwa phraphuththecathrngepnwiphchwathi phucaaenkthrrm trscaaenkkhnth 5 intwera hrux kaykbic xxkepnphrathrrmwinythung 84000 phrathrrmkhnth emuxklawkhwamcringaelw twkhnera hrux kaykbic niepntwxriyscthng 4 khux thukkh thukkhsmuthy thukkhniorth aelathukkhniorthkhaminiptiptha rwmknepnthrrmaethngediyw intxnnithanbnthuktxwa khwamruthiekidkhunintxnni laexiydechiybaehlmkhmkhaymak rucktdsinphrathrrmwinyideddkhad thaihkarptibtiphrathrrmaelaphrawinyepnipxyangeddediywmnkhngaelaklahay hlngcakxxkphrrsainpi ph s 2463 thanidedinthangiphahlwngpumn phuritht ot sungphankxyuthicnghwdsklnkhr aelathudngkhtidtamtxipinekhtcnghwdsklnkhr cnghwdnkhrphnm cnghwdmukdahar aelainchwngniidthanidphankkb hlwngpuesar kn tsiol sungepnkhrubaxacarykhxng hlwngpumn phuritht ot xikdwypi ph s 2466 hlngxxkphrrsa pi ph s 2465 thanidedinthangklbcnghwdxublrachthani enuxngcakoymmardathungaekkrrm aelaxyuphankcaphrrsa n wdsuthsn cnghwdxublrachthani sunginkarnithanidna samenrethsk eriywaerng thakarxupsmbth n phththsimawdsuthsn hrux wdsuthsnaram cnghwdxublrachthani emuxwnthi 16 phvsphakhm ph s 2466 odymi phramhartn rt thpaol p th 4 epnphraxupchchay phramhapin py yaphol epnphrakrrmwacacary sungsamenrethsk eriywaerng nninkaltxmakkhux phrarachniorthrngsikhmphirpyyawisist ethsk ethsrngsi inpini thanidthakarxbrm phramhapin py yaphol p th 5 phuepnphranxngchay inthangwipssnathura cnkrathngphramhapinphuepnnxngchayidtdsinicxxkthudngkhptibtithrrmkrrmthansuksadanwipssnathura aelaephyaephphrathrrmkhasxnsuprachachnekhiyngbaekhiyngihlphraphichay chuxesiyngkhcrhxmfungraluxipikl cnmiphucneluxmissrththaxyangkwangkhwangmacnthungpccubnpi ph s 2470 inwnephy eduxn 3 kxnekhaphrrsa khnaphrathudngkhkrrmthankhxnghlwngpumn phuritht ot pkhlkxyuinekhtcnghwdxublrachthani aelaidcdprachumkhnasngkhkhuninchwngwnmakhbucha sunginkarni hlwngpumn phuritht ot idprarphthungkarxxkthudngkhwiewkephiynglaphngephuxphicarnakhnkhwainptipthasmmaptibtixnepnthrrmxnsungsud aelaidmxbpharthurathukxyangihaek phraxacarysingh khn tyakhom aela phraxacarymhapin py yaphol sisyxawuosepnphubriharpkkhrxnghmukhnasngkh aenanaphrasxn tamaenwthangthithanidihiwaelwtxippi ph s 2471 phrakhruphisalxryekht inkaltxmakkhux phraethphsiththacary cnthr ekhmioy sungdarngtaaehnngecaxawaswdsricnthraelaecakhnacnghwdkhxnaekninkhnann idthahnngsuxipnimntphraxacarysingh khn tyakhom sisyxawuosinxngkhhlwngpumn phuritht ot ihmachwyephyaephphraphuththsasnathrrmptibtiihaekprachachncnghwdkhxnaekn thancungidkraberiynpruksahlwngpumn phuritht ot emuxehnwaehmaasmdiaelw cungmxbihepnhnathikhxngphraxacarysingh khn tyakhom rbnimnt hlwngpufn xacaor say hlwngpumhapin py yaphol klang hlwngpusingh khn tyakhom khwa kxngthphthrrmphrakrrmthan hlngcakxxkphrrsaaelw phraxacarysingh khn tyakhom phraxacarymhapin py yaphol kbhmukhnasngkh idedinethanakxngthphthrrmcakbannahwww xaephxkudchum cnghwdxublrachthani pccubnkhuxcnghwdyosthr mungsucnghwdkhxnaekn aelaidtngsanksngkhkhunthi pachaokhkehlanga sungxyuthangthistawnxxkkhxngcnghwdkhxnaekn sungpccubnkkhux wdpawiewkthrrm xaephxemuxng cnghwdkhxnaekn sunginkhnannmiphrasngkhsamenrrwmknimtakwa 70 rup thancungidprachumkhnasngkhtklngknihaeykyaykniptngepn sanksngkhwdpaxrywasi inphunthicnghwdkhxnaeknaelaphunthiiklekhiyng cungthaihwdpaxrywasiaelakhnasngkhthrrmyutiknikaytngkhunincnghwdkhxnaeknaelaphunthiiklekhiyngepncanwnmak dwyehtuniexngcungnbidwa wdpawiewkthrrm epnsunyklangkhxngphraphuththsasnafayxrywasikhxngphakhxisantxnklangpi ph s 2475 smedcphramhawirwngs xwn tis os inkhnathidarngsmnskdithi phrathrrmpaomkkh aeladarngtaaehnngepn ecaxawaswdsuththcindawrwihar aela ecakhnamnthlnkhrrachsima idbychaih phraxacarysingh khn tyakhom edinthangipephyaephphraphuththsasnafaywipssnathuraaelahlkthrrmkhasxnihaekprachachnchawcnghwdnkhrrachsima dngnn phraxacarysingh khn tyakhom cungnahmukhnasngkh xathi phraxacarymhapin py yaphol phraxacaryfn xacaor phraxacaryxxn yansiri phraxacarykngma cirpuy oy edinthangmungsungcnghwdnkhrrachsimainkarni smedcphramhawirwngs xwn tis os dariihsrangwdpaxrywasikhun sahrbkhnasngkhfaywipssnathura ephuxichcaphrrsaaelabaephyephiyrwipssnakrrmthan hlwngchanaynikhmekht phubngkhbkxngtarwckxngemuxngnkhrrachsimainkhnann misrththathwaythidinaelarbbychakxsrangepnsanksngkhkhun sungsmedcphramhawirwngs xwn tis os ihnamwa wdpasalwn odymi phraxacarysingh khn tyakhom epnecaxawasrupaerk aelaidsrangsanksngkhkhunxikaehng sungkkhux wdpasrththarwm odymi phraxacarymhapin py yaphol epnecaxawasrupaerk inkaltxmaidmisrangwdpaxrywasiinekhtcnghwdnkhrrachsimaaelacnghwdiklekhiyngephimmakkhunpi ph s 2480 smedcphramhawirwngs xwn tis os inkhnathidarngsmnskdithi phraphrhmmuni aeladarngtaaehnngepn ecaxawaswdbrmniwasrachwrwihar aela ecakhnamnthlnkhrrachsima idbychaih phraxacarysingh khn tyakhom edinthangchwythanecakhun phrapracinmuni tngwdpaxrywasisahrbphrafaywipssnathuraphakhtawnxxk aelaipephyaephphraphuththsasnafaywipssnathuraaelahlkthrrmkhasxnihaekprachachnchawcnghwdpracinburi dngnn phraxacarysingh khn tyakhom phrxmdwy phraxacarymhapin py yaphol idedinthangipyngcnghwdpracinburi thanthngsxngidtng sanksngkhwdpathrngkhun khun pccubnkkhux wdpathrngkhun tabldngphraram xaephxemuxngpracinburi cnghwdpracinburi aelaidchwyptisngkhrn wdpakkraphxk xaephxsrimhaophthi cnghwdpracinburi sungrangma 5 pi ihklbkhunsusphaphepnwdmiphraphiksusngkhxyupraca phraxacarymhapin py yaphol phranxngchaykhubarmi pi ph s 2483 inkhna phraxacarysingh khn tyakhom idklbmaphankcaphrrsathiwdpasalwn ephuxsxnphuththbristhihfukhdnngsmathiphawnaepnpraca krathngxxkphrrsa khnachawbanhnxngbwihy xaephxcturs cnghwdchyphumi idmaxarathnaihipsrangsanksngkhkhunthi banhnxngbwihy thancungidedinthangipsrangwdkhunaelaihchuxwa wdpaiphorcn pccubnkhux wdpasuwrrniphorcn t hnxngbwihy xaephxcturs cnghwdchyphumiinpini chwngthiphankxyu wdpaiphorcn phraxacarysingh khn tyakhom idedinthangipcnghwdxublrachthani ephuxepnprathaninkarcdnganthwaymuthitacit hlwngpuesar kn tsiol xayukhrb 80 pi odycdkhun n wdburpharam xaephxemuxng cnghwdxublrachthanipi ph s 2485 phraxacarysingh khn tyakhom idedinthangipcnghwdnkhrcmpaskdi praethsithy inkhnann ephuxrbsrirasngkhar hlwngpuesar kn tsiol sungidmrnphaphinxiriyabthnngkrabphraprathankhrngthi 3 inphraxuobsthwdxamatyaram xaephxwrrniwthyakr cnghwdnkhrcmpaskdi praethsithy inkhnann pccubnepnswnhnungkhxngaekhwngcapaskdi praethslaw emuxwnthi 3 kumphaphnth ph s 2485 sirixayu 82 pi phrrsa 62 khnasisyidechiysphkhxngthanklbma n wdburpharam xaephxemuxng cnghwdxublrachthani aelaidprakxbphithichapnkicinwnthi 15 16 emsayn ph s 2486inpini khnawdpaaesnsaray xaephxwarincharab cnghwdxublrachthani idmaxarathnaihipchwysngsxnphuththbristhyatioymaelachwysrangsalakarepriyy emuxthaesrcaelwcungklbipcaphrrsa n wdpasalwn cnghwdnkhrrachsima aela ph s 2486 inchwngewlanxkphrrsa idklbipcdsrangphraphuththbath kwang 1 emtr yaw 2 emtr phrxmmnthpepnthipradisthanphraphuththbath n wdpaaesnsaray xaephxwarincharab cnghwdxublrachthanipi ph s 2487 phraxacarysingh khn tyakhom idipphankcaphrrsa n wdpaaesnsaray xaephxwarincharab cnghwdxublrachthani enuxngcak phraxacarymhapin py yaphol phranxngchayxaphathaelaphankcaphrrsaxyuthiwdpaaesnsarayaehngni xikthng smedcphramhawirwngs xwn tis os kxaphathaelaidmaphkrksatwxyuthiwdsuptnaramwrwihar xaephxemuxng cnghwdxublrachthani sungecaprakhunsmedckidbychaihthanmaxyuphankcaphrrsainthiiklipmaeyiymeyiynknidngaypi ph s 2489 inkhnathiphraxacarysingh khn tyakhom idklbipphankcaphrrsa n wdpasalwn cnghwdnkhrrachsima nn phraxacarymhapin py yaphol idmrnphaph emuxwnthi 2 kumphaphnth ph s 2489 n n wdpaaesnsaray xaephxwarincharab cnghwdxublrachthani inkarni smedcphramhawirwngs xwn tis os idbychaihcdphithichapnakicodyimchkcha phraxacarysingh khn tyakhom cungidcdphithichapnakic phraxacarymhapin py yaphol emuxwnthi 5 minakhm ph s 2489pi ph s 2491 phraxacarysingh khn tyakhom idipphankcaphrrsa n wdpathrngkhun tabldngphraram xaephxemuxngpracinburi cnghwdpracinburi ephuxxbrmsngsxnkhnaphuththbristhwdpathrngkhun ihpraphvtiptibtitamphrathrrmwiny ihepnipephuxkhwamsamkhkhiepnxnhnungxnediywkn txmaidsrang wdpathrngthrrm tablthatum xaephxsrimhaophthi cnghwdpracinburi aelathanidipchwykhnasngkhcnghwdephchrburisrangwdthrrmyutkhuninekhtcnghwdephchrburixikdwypi ph s 2504 phraxacarysingh khn tyakhom idcdnganphukphththsimaphraxuobsthwdpasalwnkhun inkarni idthuxoxkascdprachumihykhnasngkhphrakrrmthan thnginphakhtawnxxkechiyngehnuxaelaphakhxun idmitwaethnphraphiksusngkhmarwmprachumepncanwnmak ephuxpruksaharuxkhxpyhathangphrawiny aelaraebiybkaredinthudngkhkhxngkhnaphrakrrmthan ephuxpxngknkhwamesiyhayxnxacmikhunenuxngcakkaredinthudngkhiptangthinhangiklkhrubaxacary emuxwnthi 1 phvsphakhm ph s 2504 aelaemuxesrckarprachumaelw khnasngkhidphrxmephriyngknswdthxdthxn aelaphukphththsimaphraxuobsthwdpasalwn xaephxemuxng cnghwdnkhrrachsima inwnthi 7 8 phvsphakhm ph s 2504mrnphaph aekikhphrayanwisistsmiththiwiracary singh khn tyakhom idlawangsngkharenuxngcakepnorkhmaernginkraephaaxahareruxrng mrnphaphdwyxakarsngb emuxwnthi 8 knyayn ph s 2504 ewla 10 20 n n wdpasalwn xaephxemuxng cnghwdnkhrrachsima sirixayu 72 pi phrrsa 52smnskdi aekikhidrboprdekla phrarachthansmnskditamladb dngni 5 thnwakhm ph s 2496 epnphrakhrusyyabtrthi phrakhruyanwisist 2 5 thnwakhm ph s 2500 epnphrarachakhnachnsamythi phrayanwisistsmiththiwiracary 3 khtithrrmkhasxn aekikh nkptibtithnghlayinphraphuththsasnani phungepnphumisilepnthirk miwtrptibtiphrxmbriburn aelamithrrmsungmixupkaramakepnthiecriyxyu cungepnphuecriyrungeruxng thrrmmixupkaramak mihlayprakar aetcaklawinthiniechphaa 3 prakar khux1 xp pmaoth xmt pth phungepnphuimpramath sungbththrrmxnimtay2 stima primukh sti xupt thepti phungepnphumisti echphaahnaesmx3 sm pchaon phungepnphumismpchyya rucitesmxthrrm 3 prakarehlani epnthrrmmixupkaramak nkptbtiyxmecriyxyuepnnity phrayanwisistsmiththiwiracary singh khn tyakhom xangxing aekikhrs dr pthm rs phthra nikhmannth phrayanwisistsmiththiwiracary hlwngpusingh khn tyakhom wnpasalwn xaephxemuxng cnghwdnkhrrachsima okhrngkarhnngsuxburphacaryxisanit elm 2 krungethph bristh phi ex liphwing cakd 2554 657 hna rs dr pthm rs phthra nikhmannth phrakhruwiewkphuththkic hlwngpuihyesar kntsiol phraprmacaryihyfayphrakrrmthan okhrngkarhnngsuxburphacary elm 5 krungethph bristh phi ex liphwing cakd 2546 u610 hna khnasisyanusisy wdpawiewkthrrm ehlanga khxnaekn hck khxnaeknkarphimph 2556 111 hna cngdi phirmyichy prawtiwdpawiewkthrrm ehlanga khxnaekn hck orngphimphkhlngnanathrrm 2557 75 hna phrathm mthor khrubaaecw thrrmprawtihlwngpucam mhapuy oy phumakmibuy krungethph orngphimphmtichn 2554 622 hna http www dhammathai org monk sangha21 php rachkiccanuebksa aecngkhwamsanknaykrthmntri eruxng phrarachthansyyabtrtngsmnskdi elm 70 txnthi 78 22 thnwakhm 2496 hna 5360 rachkiccanuebksa aecngkhwamsankkhnarthmntri eruxng phrarachthansyyabtrtngsmnskdi elm 74 txnthi 107 ng 17 thnwakhm 2500 hna 2955ekhathungcak https th wikipedia org w index php title phrayanwisistsmiththiwiracary singh khn tyakhom amp oldid 7458570, wikipedia, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด,

บทความ

, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม