fbpx
วิกิพีเดีย

ฟอสฟอเรสเซนซ์

ฟอสฟอเรสเซนซ์ (อังกฤษ: Phosphorescence) คือการเปล่งแสงของวัตถุคล้ายกับฟลูออเรสเซนซ์ วัตถุฟอสฟอเรสเซนซ์จะไม่เปล่งแสงทันทีหลังจากดูดซับแสงเข้ามาแต่จะค่อยๆปล่อยแสงออกมา การปล่อยแสงที่ช้าลงนั้นเกิดจากกระบวนการณ์ต้องห้าม (Forbidden mechanism) ของการเปลี่ยนแปลงระดับพลังงานในกลศาสตร์ควอนตัม การเปลี่ยนแปลงเหล่านี่จะเกิดได้ช้ามากในวัสดุบางชนิด รังสีที่ถูกปล่อยออกมาจะมีความเข้มต่ำแต่จะปล่อยอย่างต่อเนื่องเป็นเวลาหลายชั่วโมงหลังจากถูกกระตุ้น

Phosphorescent, ผงฟอสฟอเรสเซนซ์ในแสงขาว รังสีอัลตราไวโอเลต และในความมืด

ตัวอย่างของวัตถุฟอสฟอเรสเซนซ์ในชีวิตประจำวันคือพวกของเล่น สติกเกอร์ สี และ เข็มนาฬิกา ที่เรืองแสงได้ในความมืด หลังจากดูดซับแสงอาทิตย์หรือแสงจากหลอดไฟ การเรืองแสงจะค่อยๆเลือนหายไปในไม่กี่นาทีหรือชั่วโมงในที่มืด

การศึกษาวัสดุฟอสฟอเรสเซนซ์นั้นนำไปสู้การค้นพบกัมมันตภาพรังสีใน ค.ศ. 1986

คำอธิบาย

ทั่วไป

 
แผนผังพลังงานของการเกิดฟอสฟอเรซเซนซ์ โมเลกุล A ถูกกระตุ้นมาอยู่ในสถานะกระตุ้นซิงเลต (1A*) และข้ามมาที่สถานะทริปเลต (3A) แล้วจึงคายหลังงานโดยการปล่อยแสงออกมาลงมาที่สถานะพื้น (ground state) ในขณะที่การคายพลังงานแบบฟลูออเรซเซนซ์ โมเลกุลในสถานะกระตุ้นจะคายพลังงานลงมาสถานะพื้นโดยตรง

โดยทั่วไปฟอสฟอเรสเซนซ์คือกระบวนการที่พลังงานทีถูกดูดซับโดยสสารนั้นถูกปล่อยออกมาอย่างช้าๆในรูปแบบของแสง ในบางกรณีก็จะทำให้เกิดการเรืองแสงในที่มืดได้โดยวัสดุนั่นจะสะสมพลังงานจากการรับแสงแล้วค่อยๆออกมาพลังงานออกมาในรูปแบบของแสงที่มองเห็นได้

ในกลศาสตร์ควอนตัม

 
หลังจากอิเล็กตรอนดูดซับโฟตอนพลังงานสูงแล้ว มันอาจจะคายพลังงานโดยการสั่นและเปลี่ยนสถานะสปินของมัน ระบบจะสั่นและเปลี่ยนสถานะสปินไปเรือยๆจนสามารถปล่อยโฟตอนเพื่อคายพลังงานออกมาได้

ในปรากฏการณ์เปล่งแสงส่วนใหญ่ สารเคมีจะดูดซับและปล่อยอนุภาคโฟตอนในช่วงเวลาสั้นๆในหลัก 10 นาโนวินาที ซึ่งกระบวนการดูดและคายแสงในเวลาอันรวดเร็วเช่นนี้จะเกิดได้ก็ต่อเมื่อพลังงานของโฟตอนนั้นพอดีกับระดับพลังงานทำให้สสารนั้นสามารถคายพลังงานมาสถานะพิ้นได้ ในกรณีพิเศษของสารฟอสฟอเรสเซนซ์อิเล็กตรอนที่ดูดพลังงานโฟตอนเข้ามาจะข้ามไปในสถานะอื่นที่มีสปินสูงขึ้น โดยมักจะเปลี่ยนจากสถานะดั้งเดิมที่เป็นแบบซิงเลตไปเป็นทริปเลต ผลที่ตามมาก็คืออิเล็กตรอนในสถานะกระต้นจะติดอยู่ในสถานะทริปเลตที่จะสามารถคายพลังงานได้ผ่านกระบวนการต้องห้าม (forbidden mechanism) เท่านั่นเพราะ กระบวนการนี้ตามหลักแล้วไม่สามารถเกิดขึ้นได้แต่ในกลศาสตร์ควอนตัมนั้นมันสามารถเกิดขึ้นได้แต่ใช้พลังงานสูงกว่าจึงเกิดขึ้นได้ช้ากว่ามาก สารฟอสฟอเรสเซนซ์ส่วนใหญ่จะคายพลังงานออกมาได้ค่อนข้างเร็วโดยอิเล็ดตรอนจะอยู่ในสถานะทริปเลตประมาณมิลลิวินาที แต่สารบางชนิดมีช่วงชีวิตของสถานะทริปเลตได้หลายนาทีหรือชั่วโมงทำให้สามารถใช้สารพวกนี้ในการกักเก็บพลังงานแสงในรูปของอิเล็กตรอนที่ถูกกระตุ้นซึ่งจะคายพลังงานออกมาช้าๆ สารเหล่านี้นำมาทำเป็นวัสดุเรืองแสงได้ถ้าแสงถูกปล่อยออกมาในปริมาณมากพอ

สมการ

 

โดยที่ S คือสถานะซิงเลต และ T คือสถานะทริปเลต ตัวห้อยบอกถึงสถานะพลังงาน (0 คือสถานะพิ้น และ 1 คือสถานะกระตุ้น) กระบวนการนี้อาจจะเกิดขึ้นได้ในระดับพลังงานที่สูงกว่าแต่เพื่อความเรียบง่ายจึงเขียนแค่สถานะของระดับพลังงานแรก

อ้างอิง

  1. Karl A. Franz, Wolfgang G. Kehr, Alfred Siggel, Jürgen Wieczoreck, and Waldemar Adam "Luminescent Materials" in Ullmann's Encyclopedia of Industrial Chemistry 2002, Wiley-VCH, Weinheim. doi:10.1002/14356007.a15_519

ฟอสฟอเรสเซนซ, งกฤษ, phosphorescence, อการเปล, งแสงของว, ตถ, คล, ายก, บฟล, ออเรสเซนซ, ตถ, จะไม, เปล, งแสงท, นท, หล, งจากด, ดซ, บแสงเข, ามาแต, จะค, อยๆปล, อยแสงออกมา, การปล, อยแสงท, าลงน, นเก, ดจากกระบวนการณ, องห, าม, forbidden, mechanism, ของการเปล, ยนแปลงระด, . fxsfxersesns xngkvs Phosphorescence khuxkareplngaesngkhxngwtthukhlaykbfluxxersesns wtthufxsfxersesnscaimeplngaesngthnthihlngcakdudsbaesngekhamaaetcakhxyplxyaesngxxkma karplxyaesngthichalngnnekidcakkrabwnkarntxngham Forbidden mechanism khxngkarepliynaeplngradbphlngnganinklsastrkhwxntm karepliynaeplngehlanicaekididchamakinwsdubangchnid rngsithithukplxyxxkmacamikhwamekhmtaaetcaplxyxyangtxenuxngepnewlahlaychwomnghlngcakthukkratunPhosphorescent phngfxsfxersesnsinaesngkhaw rngsixltraiwoxelt aelainkhwammud twxyangkhxngwtthufxsfxersesnsinchiwitpracawnkhuxphwkkhxngeln stikekxr si aela ekhmnalika thieruxngaesngidinkhwammud hlngcakdudsbaesngxathityhruxaesngcakhlxdif kareruxngaesngcakhxyeluxnhayipinimkinathihruxchwomnginthimud 1 karsuksawsdufxsfxersesnsnnnaipsukarkhnphbkmmntphaphrngsiin kh s 1986 enuxha 1 khaxthibay 1 1 thwip 1 2 inklsastrkhwxntm 1 2 1 smkar 2 xangxingkhaxthibay aekikhthwip aekikh aephnphngphlngngankhxngkarekidfxsfxersesns omelkul A thukkratunmaxyuinsthanakratunsingelt 1A aelakhammathisthanathripelt 3A aelwcungkhayhlngnganodykarplxyaesngxxkmalngmathisthanaphun ground state inkhnathikarkhayphlngnganaebbfluxxersesns omelkulinsthanakratuncakhayphlngnganlngmasthanaphunodytrng odythwipfxsfxersesnskhuxkrabwnkarthiphlngnganthithukdudsbodyssarnnthukplxyxxkmaxyangchainrupaebbkhxngaesng inbangkrnikcathaihekidkareruxngaesnginthimudidodywsdunncasasmphlngngancakkarrbaesngaelwkhxyxxkmaphlngnganxxkmainrupaebbkhxngaesngthimxngehnid inklsastrkhwxntm aekikh hlngcakxielktrxndudsboftxnphlngngansungaelw mnxaccakhayphlngnganodykarsnaelaepliynsthanaspinkhxngmn rabbcasnaelaepliynsthanaspiniperuxycnsamarthplxyoftxnephuxkhayphlngnganxxkmaid inpraktkarneplngaesngswnihy sarekhmicadudsbaelaplxyxnuphakhoftxninchwngewlasninhlk 10 naonwinathi sungkrabwnkardudaelakhayaesnginewlaxnrwderwechnnicaekididktxemuxphlngngankhxngoftxnnnphxdikbradbphlngnganthaihssarnnsamarthkhayphlngnganmasthanaphinid inkrniphiesskhxngsarfxsfxersesnsxielktrxnthidudphlngnganoftxnekhamacakhamipinsthanaxunthimispinsungkhun odymkcaepliyncaksthanadngedimthiepnaebbsingeltipepnthripelt phlthitammakkhuxxielktrxninsthanakratncatidxyuinsthanathripeltthicasamarthkhayphlngnganidphankrabwnkartxngham forbidden mechanism ethannephraa krabwnkarnitamhlkaelwimsamarthekidkhunidaetinklsastrkhwxntmnnmnsamarthekidkhunidaetichphlngngansungkwacungekidkhunidchakwamak sarfxsfxersesnsswnihycakhayphlngnganxxkmaidkhxnkhangerwodyxieldtrxncaxyuinsthanathripeltpramanmilliwinathi aetsarbangchnidmichwngchiwitkhxngsthanathripeltidhlaynathihruxchwomngthaihsamarthichsarphwkniinkarkkekbphlngnganaesnginrupkhxngxielktrxnthithukkratunsungcakhayphlngnganxxkmacha sarehlaninamathaepnwsdueruxngaesngidthaaesngthukplxyxxkmainprimanmakphx smkar aekikh S 0 h n S 1 T 1 S 0 h n displaystyle S 0 h nu to S 1 to T 1 to S 0 h nu prime odythi S khuxsthanasingelt aela T khuxsthanathripelt twhxybxkthungsthanaphlngngan 0 khuxsthanaphin aela 1 khuxsthanakratun krabwnkarnixaccaekidkhunidinradbphlngnganthisungkwaaetephuxkhwameriybngaycungekhiynaekhsthanakhxngradbphlngnganaerkxangxing aekikh Karl A Franz Wolfgang G Kehr Alfred Siggel Jurgen Wieczoreck and Waldemar Adam Luminescent Materials in Ullmann s Encyclopedia of Industrial Chemistry 2002 Wiley VCH Weinheim doi 10 1002 14356007 a15 519ekhathungcak https th wikipedia org w index php title fxsfxersesns amp oldid 8345604, wikipedia, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด,

บทความ

, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม