fbpx
วิกิพีเดีย

ภควา

ภควา (บาลี: भगवा Bhagavā) (กัตตุการกเอกพจน์ของ ภควนฺตุ/ภควนฺตฺ (ลง -สิ วิภัตติ), จาก ภค + -วนฺตุ/-วนฺตฺ ปัจจัยในตทัสสัตถิตัทธิต) หรือ ภควานฺ (สันสกฤต: भगवान्; Bhagavān) เป็นสมัญญาของพระเจ้าในศาสนาแบบอินเดีย โดยพุทธศาสนิกชนใช้คำนี้หมายถึงพระพุทธเจ้า ชาวฮินดูลัทธิไวษณพใช้หมายถึงองค์อวตารของพระวิษณุ (เช่น พระกฤษณะ) ลัทธิไศวะใช้หมายถึงพระศิวะ แม้แต่ชาวฮินดูที่ไม่ได้บูชาเทพเจ้าองค์ใดโดยเฉพาะก็ใช้คำนี้หมายถึงพระเป็นเจ้าแบบนามธรรม โดยทั่วไปจึงแปลว่าคำนี้ว่า พระผู้เป็นเจ้า

ในศาสนาพุทธ มีการใช้คำนี้ในพระไตรปิฎกภาษาบาลีรวมทั้งคัมภีร์ชั้นหลังในเถรวาท มหายาน และวัชรยาน นิยมแปลเป็นภาษาไทยว่าพระผู้มีพระภาค ส่วนในศาสนาฮินดูไม่ปรากฏคำนี้ในคัมภีร์พระเวท แต่ใช้ในคัมภีร์ยุคหลัง เช่น ภควัทคีตา ปุราณะ เป็นต้น บางสำนักถือว่าคำนี้มีมีความหมายเหมือนกับ อีศวร เทวดา หริ ประภู และในบางลัทธิก็ใช้คำนี้เรียกอาจารย์ผู้นำลัทธิด้วย

อ้างอิง

เชิงอรรถ
  1. Buswell, Robert E.; Lopez, Donald S. (2014). The Princeton Dictionary of Buddhism. Princeton: Princeton University Press. p. 108.
  2. James Lochtefeld (2000), "Bhagavan", The Illustrated Encyclopedia of Hinduism, Vol. 1: A–M, Rosen Publishing. ISBN 978-0823931798, page 94
  3. Friedhelm Hardy (1990), The World's Religions: The Religions of Asia, Routledge, ISBN 978-0415058155, pages 79-83
  4. พจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2554, หน้า 864
  5. John Campbell (2009), Vajra hermeneutics: A study of Vajrayana scholasticism in the "Pradipoddyotana", PhD Thesis accepted by Columbia University (Advisor: Robert Thurman), page 355
  6. Peter Harvey, Buddhism, Bloomsbury Academic, ISBN 978-0826453501, page 4
  7. V.S.Apte. The Practical Sanskrit-English Dictionary. Digital Dictionaries of South Asia. p. 118.
บรรณานุกรม

ภควา, บาล, भगव, bhagavā, ตต, การกเอกพจน, ของ, ภควน, ภควน, ลง, ตต, จาก, ภค, วน, วน, จจ, ยในตท, สส, ตถ, ทธ, หร, นสกฤต, भगव, bhagavān, เป, นสม, ญญาของพระเจ, าในศาสนาแบบอ, นเด, โดยพ, ทธศาสน, กชนใช, คำน, หมายถ, งพระพ, ทธเจ, ชาวฮ, นด, ทธ, ไวษณพใช, หมายถ, งองค, อวตาร. phkhwa bali भगव Bhagava kttukarkexkphcnkhxng phkhwn tu phkhwn t lng si wiphtti cak phkh wn tu wn t pccyintthsstthitththit hrux phkhwan snskvt भगव न Bhagavan epnsmyyakhxngphraecainsasnaaebbxinediy odyphuththsasnikchnichkhanihmaythungphraphuththeca 1 chawhindulththiiwsnphichhmaythungxngkhxwtarkhxngphrawisnu echn phrakvsna lththiiswaichhmaythungphrasiwa 2 3 aemaetchawhinduthiimidbuchaethphecaxngkhidodyechphaakichkhanihmaythungphraepnecaaebbnamthrrm odythwipcungaeplwakhaniwa phraphuepneca 4 insasnaphuthth mikarichkhaniinphraitrpidkphasabalirwmthngkhmphirchnhlnginethrwath mhayan aelawchryan 5 6 niymaeplepnphasaithywaphraphumiphraphakh swninsasnahinduimpraktkhaniinkhmphirphraewth aetichinkhmphiryukhhlng echn phkhwthkhita purana epntn 3 bangsankthuxwakhanimimikhwamhmayehmuxnkb xiswr ethwda hri praphu 7 aelainbanglththikichkhanieriykxacaryphunalththidwyxangxing aekikhechingxrrth Buswell Robert E Lopez Donald S 2014 The Princeton Dictionary of Buddhism Princeton Princeton University Press p 108 James Lochtefeld 2000 Bhagavan The Illustrated Encyclopedia of Hinduism Vol 1 A M Rosen Publishing ISBN 978 0823931798 page 94 3 0 3 1 Friedhelm Hardy 1990 The World s Religions The Religions of Asia Routledge ISBN 978 0415058155 pages 79 83 phcnanukrm chbbrachbnthitysthan ph s 2554 hna 864 John Campbell 2009 Vajra hermeneutics A study of Vajrayana scholasticism in the Pradipoddyotana PhD Thesis accepted by Columbia University Advisor Robert Thurman page 355 Peter Harvey Buddhism Bloomsbury Academic ISBN 978 0826453501 page 4 V S Apte The Practical Sanskrit English Dictionary Digital Dictionaries of South Asia p 118 brrnanukrmrachbnthitysthan phcnanukrm chbbrachbnthitysthan ph s 2554 phimphkhrngthi 2 krungethph rachbnthitysthan 2556 1 544 hna ISBN 978 616 7073 80 4 rachbnthitysthan phcnanukrmsphthsasnasakl chbbrachbnthitysthan krungethph rachbnthitysthan 2552 734 hna ISBN 978 616 7073 03 3ekhathungcak https th wikipedia org w index php title phkhwa amp oldid 9209325, wikipedia, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด,

บทความ

, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม