fbpx
วิกิพีเดีย

ภาวะสมองตาย

ภาวะสมองตาย (อังกฤษ: brain death) เป็นบทนิยามที่ทางนิติศาสตร์และทางแพทยศาสตร์ใช้หมายเอาการตายของบุคคล ซึ่งได้ริเริ่มขึ้นในช่วง พ.ศ. 2503 ทั้งนี้ โดยทั่วไปมักหมายเอาภาวะที่ไม่สามารถฟื้นฟูระบบการทำงานของสมองของบุคคลได้อีกแล้ว อันเป็นผลมาจากการตายหมดแล้วทุกส่วนของเซลล์ประสาทในสมอง (อังกฤษ: total necrosis of cerebral neurons) เพราะเหตุที่ได้ขาดเลือดและออกซิเจนหล่อเลี้ยง

สมองของมนุษย์

ทั้งนี้ พึงไม่สับสนภาวะสมองตายกับสภาพร่างกายทำงานนอกบังคับจิตใจเป็นการเรื้อรัง หรือสภาพผักเรื้อรังของผู้ป่วย (อังกฤษ: persistent vegetative state)

ประวัติ

 
รายงานนิยามความตาย : ประเด็นทางแพทยศาสตร์ นิติศาสตร์ และจริยศาสตร์ในการกำหนดนิยามของความตาย

แต่เดิมทั้งทางนิติศาสตร์และทางแพทยศาสตร์หมายเอาการตายของบุคคลว่าได้แก่การสิ้นสุดลงของการทำงานของอวัยวะสำคัญบางส่วน โดยเฉพาะการหายใจและการเต้นของหัวใจ ต่อเมื่อโลกทางแพทยศาสตร์พัฒนาตามลำดับ ความสามารถในการกู้ชีพ (resuscitation) บุคคลซึ่งหัวใจหยุดทำงานแล้ว ไม่หายใจแล้ว หรือไร้ซึ่งสัญญาณว่ามีชีวิตอยู่ก็พัฒนาไปด้วย จึงจำเป็นต้องมีการปรับปรุงบทนิยามของการตายเสียใหม่เพื่อให้สอดคล้องกับสถานการณ์ที่เปลี่ยนแปลงไป ซึ่งความจำเป็นเช่นว่านี้เกิดต้องกระทำรีบด่วนขึ้นเมื่ออุปกรณ์การพยุงชีวิต เช่น การปลูกถ่ายอวัยวะ (organ transplantation) ได้แพร่หลายยิ่งขึ้น อันเป็นผลให้อวัยวะของมนุษย์หลายชิ้นทำงานต่อไปได้อีก

ในสหรัฐอเมริกา พ.ศ. 2511 คณะกรรมการเฉพาะกิจ (ad hoc committee) ที่วิทยาลัยการแพทย์ฮาร์วาร์ด (Harvard Medical School) แต่งตั้งขึ้นได้จัดพิมพ์รายงานชิ้นสำคัญเกี่ยวกับการให้นิยามของอาการโคม่าเหลือจะเยียวยา (irreversible coma) ซึ่งได้กลายมาเป็นความเข้าใจเกี่ยวกับภาวะสมองตายของผู้คนส่วนใหญ่ในปัจจุบันนี้

ใน พ.ศ. 2519 สมาชิกสภานิติบัญญัติแห่งสหรัฐอเมริกาได้มีมติเห็นชอบด้วยที่จะกำหนดให้ภาวะสมองตายเป็นการส่อว่าบุคคลได้ถึงแก่ความตายแล้ว ต่อมาใน พ.ศ. 2524 คณะกรรมาธิการในประธานาธิบดีเพื่อการศึกษาปัญหาทางจริยธรรมในการวิจัยทางแพทยศาสตร์ และทางชีววิทยา และทางพฤติกรรมศาสตร์ (President's Commission for the Study of Ethnical Problem in Medicine and Biomedical and Behavioral Reseach) ได้จัดเผยแพร่รายงานสำคัญชื่อ "นิยามความตาย : ประเด็นทางแพทยศาสตร์ นิติศาสตร์ และจริยศาสตร์ในการกำหนดนิยามของความตาย" (Defin­ing Death: Medical, Legal, and Ethical Issues in the Determination of Death) ซึ่งมีสาระสำคัญเป็นการปฏิเสธว่า สมองส่วนบน (higher brain หรือ upper brain) ตาย สมองทั้งมวลก็ตายไปด้วย ซึ่งรายงานฉบับได้กลายเป็นมูลฐานในการกำหนดบทอธิบายศัพท์ว่า "ความตาย" ในรัฐบัญญัติจัดระเบียบการกำหนดนิยามของความตาย (Uniform Determination of Death Act) อันยังใช้บังคับอยู่ในรัฐกว่าห้าสิบรัฐ

ปัจจุบัน ทั้งทางนิติศาสตร์และทางแพทยศาสตร์กำหนดให้ภาวะสมองตายเป็นการตายในทางกฎหมายของบุคคล ซึ่งตรงกับข้อเท็จจริงทางวิทยาศาสตร์ที่ว่าระบบร่างกายทั้งปวงจะค่อย ๆ สิ้นสุดลงซึ่งการทำงานตามลำดับภายหลังจากที่สมองสิ้นสุดการทำงานลง

ด้วยเหตุนี้ แม้บุคคลที่สมองตายแล้วจะดำรงอยู่ได้ด้วยอุปกรณ์ช่วยชีวิตขั้นพื้นฐาน เช่น การให้ออกซิเจน การใช้เครื่องเปลี่ยนถ่ายโลหิต แต่แพทย์ก็สามารถประกาศได้ว่าบุคคลนี้ถึงแก่ความตายแล้ว

ชาติแรกที่กำหนดให้ภาวะสมองตายเป็นการตายทางกฎหมายของบุคคลคือประเทศฟินแลนด์ ใน พ.ศ. 2514 ซึ่งต่อมาอีกไม่นาน รัฐแคนซัสแห่งสหรัฐอเมริกาก็ประกาศใช้กฎหมายในทำนองเดียวกัน สำหรับประเทศไทยยังไม่มีการกำหนดเช่นนี้

ข้อเท็จจริงทางแพทยศาสตร์

หลังจากที่สมองของบุคคลตาย กล่าวคือ หยุดการทำงานลงโดยสิ้นเชิง ร่างกายของบุคคลจะไม่ตอบสนองต่อการกระทบกระทั่งภายนอกอีก โดยระบบการทำงานอื่น ๆ ในร่างกายและชีวิตของบุคคลนั้นจะค่อย ๆ สิ้นสุดลงตามกาลและตามลำดับ เว้นแต่จะมีการประทังชีวิตด้วยอุปกรณ์ทางการแพทย์ เป็นต้นว่า เครื่องช่วยหายใจ เครื่องช่วยฟอกเลือด เครื่องช่วยสูบฉีดโลหิตแทนหัวใจ

หลังจากที่หัวใจหยุดเต้น เซลล์ในสมองบางส่วนจะหยุดทำงานภายในสามถึงห้านาที แต่บางส่วนอาจทำงานได้อีกประมาณสิบห้านาที ไตจะอยู่ได้อีกหนึ่งชั่วโมง กล้ามเนื้อมีชีวิตอยู่ได้อีกสี่ถึงห้าชั่วโมง นอกจากนี้ ผมและเล็บก็ออกได้อีกหลายวัน

การรู้ว่าสมองของบุคคลตายแล้วอาจกระทำได้โดยดูจากการตรวจวิเคราะห์ทางกายภาพ เช่น บุคคลที่สมองตายแล้วไม่มีอาการตอบสนองต่อความเจ็บปวด และไม่มีรีเฟล็กซ์ของประสาทที่โพรงกะโหลก (cranial nerve reflexes) ทั้งนี้ ยังสามารถตรวจได้โดยเครื่องฉายภาพคลื่นไฟฟ้าสมอง หรืออีอีจี (electroencephalogramme หรือ EEG) โดยหากกราฟในจอเครื่องปรากฏราบเรียบแสดงว่าสมองของผู้รับการฉายภาพสิ้นสุดการทำงานลงแล้ว

พึงสังวรว่าควรแยกความต่างระหว่างภาวะสมองตายกับภาวะอื่นที่อาจดูคล้ายสมองตายให้ได้ ภาวะอื่นดังกล่าว เช่น ภาวะเป็นพิษเหตุยากดประสาท (barbiturate intoxication) ภาวะเป็นพิษเหตุสุรา (alcohol intoxication) การได้รับยาระงับประสาทเกินขนาด (sedative overdose) ภาวะตัวเย็นเกิน (hypothermia) ภาวะน้ำตาลต่ำในเลือด (hypoglycaemia) และสภาพผักเรื้อรังของผู้ป่วย (chronic vegetative states)

มีกรณีที่ผู้ป่วยบางรายแม้อยู่ในขั้นตรีทูตก็อาจประทังความเจ็บไข้ถึงขั้นรักษาหายได้ และบางรายแม้บรรดาประสาทจะเสียการทำงานถึงขั้นตรีทูตแล้วก็อาจประทังความเจ็บไข้ได้เช่นกัน หากไม่ได้สูญเสียเปลือกสมอง (cortex cerebri) และระบบการทำงานของก้านสมอง (brainstem) ด้วยเหตุเช่นว่านี้ ถึงแม้ผู้ป่วยอยู่ในสภาพไร้สมองใหญ่ (anencephaly) หากไม่ได้สูญเสียสิ่งทั้งสอง ก็ยังไม่ถือว่าประสบภาวะสมองตาย แต่ผู้มีสภาพไร้สมองใหญ่ก็อาจถูกกระทำแพทยานุเคราะหฆาตได้ตามเหมาะสม

ประเด็นการรับรู้ของร่างกายในเมื่อสมองตาย

เป็นที่เข้าใจกันว่า การสิ้นสุดลงของกิจกรรมของสมอง หรือที่เรียก "กิจกรรมทางศักย์" (electrical activity) ก็หมายถึงการรับรู้ต่าง ๆ ของมนุษย์สิ้นสุดลงด้วย

สำหรับผู้เห็นว่า เปลือกสมอง (cortex cerebri) เป็นเพียงส่วนเดียวในร่างกายที่มีหน้าที่รับผิดชอบเกี่ยวกับการรับรู้ต่าง ๆ ของมนุษย์ มักเห็นว่าการสิ้นสุดลงของกิจกรรมทางศักย์ดังกล่าวควรใช้เป็นที่ตัดสินว่าบุคคลตายแล้วเพียงประการเดียว อย่างไรก็ดี มีหลายกรณีที่เลือดไม่ไปหล่อเลี้ยงสมองเพราะความกดดันในกะโหลกศีรษะ อันเป็นผลให้สมองทั้งส่วนไม่ทำงาน และร่างกายขาดการรับรู้ในที่สุด ซึ่งหมายความว่าไม่ได้มีแค่เปลือกสมองเท่านั้นที่อาจส่งผลต่อการรับรู้ของร่างกาย

มีกรณีตัวอย่าง คือ กรณีของนายซัค ดันแลป (Zach Dunlap) ชายวัยยี่สิบเอ็ดปี (พ.ศ. 2550) ผู้ซึ่งแพทย์แถลงว่าสมองตายแล้ว[ต้องการอ้างอิง]เมื่อวันที่ 19 พฤศจิกายน 2550 แต่สี่ชั่วโมงต่อมากลับฟื้นคืนสติและไม่ได้สูญเสียความทรงจำใด ๆ โดยยังให้สัมภาษณ์ในภายหลังอีกว่ายังได้ยินเสียงแพทย์ประกาศว่าสมองของตนตายแล้วอย่างแม่นชัด ซึ่งในระหว่างที่นายซัคหมดสติไปนั้น นางแดน คอฟฟิน (Dan Coffin) ญาติของนายซัคและเป็นนางพยาบาลด้วย พบว่าร่างกายของนายซัคยังตอบสนองต่ออาการเจ็บปวดซึ่งน่าจะหมายความว่าเขายังมีชีวิตอยู่แม้สมองจะตายแล้วตามที่มีการแถลงอย่างเป็นทางการ เป็นเหตุให้เกิดข้อกังขาในขณะนี้เกี่ยวกับความเข้าใจว่ามนุษย์สิ้นสุดการรับรู้เมื่อสมองหยุดทำงานดังข้างต้น

อ้างอิง

  1. President's Commission for the Study of Ethnical Problem in Medicine and Biomedical and Behavioral Reseach. (1981). Defin­ing Death: Medical, Legal, and Ethical Issues in the Determination of Death. [Online]. Available: http://www.bioethics.gov/reports/past_commissions/defining_death.pdf 2008-06-02 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน. (Accessed: 25 June 2008).
  2. Randell T. (2004). Medical and legal considerations of brain death. ACTA ANAESTHESIOLOGICA SCANDINAVICA, 48 (2). pp. 139–144.
  3. ประพัฒน์พงศ์ สุคนธ์. (2529). การยกเว้นความรับผิดในการทำให้ผู้ป่วยตายด้วยความสงสาร. วิทยานิพนธ์ในการศึกษาตามหลักสูตรปริญญานิติศาสตรมหาบัณฑิต, ภาควิชานิติศาสตร์ บัณฑิตวิทยาลัย จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. หน้า 51.
  4. สันต์ หัตถีรีตน์. (2521). การดูแลรักษาผู้ป่วยที่หมดหวัง. กรุงเทพฯ : อมรินทร์การพิมพ์. หน้า 18.
  5. ประพัฒน์พงศ์ สุคนธ์. (2529). การยกเว้นความรับผิดในการทำให้ผู้ป่วยตายด้วยความสงสาร. วิทยานิพนธ์ในการศึกษาตามหลักสูตรปริญญานิติศาสตรมหาบัณฑิต, ภาควิชานิติศาสตร์ บัณฑิตวิทยาลัย จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. หน้า 52.
  6. Heraldsun.com.au. (2008, 25 March). Dead man says he feels pretty good. [Online]. Available: http://www.news.com.au/heraldsun/story/0,21985,23427539-23109,00.html. (Accessed: 25 June 2008).
  7. Mike Celizic. (2008, 24 March). Pronounced dead, man takes ‘miraculous’ turn. [Online]. Available: http://today.msnbc.msn.com/id/23775873/ 2008-05-12 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน. (25 June 2008).

แหล่งข้อมูลอื่น

การจำแนกโรค
D
  • ICD-10-CM: G93.82
  • ICD-9-CM: 348.82
  • MeSH: D001926
  • DiseasesDB: 1572

ภาวะสมองตาย, งกฤษ, brain, death, เป, นบทน, ยามท, ทางน, ศาสตร, และทางแพทยศาสตร, ใช, หมายเอาการตายของบ, คคล, งได, เร, มข, นในช, วง, 2503, งน, โดยท, วไปม, กหมายเอาภาวะท, ไม, สามารถฟ, นฟ, ระบบการทำงานของสมองของบ, คคลได, กแล, นเป, นผลมาจากการตายหมดแล, วท, กส, วนของ. phawasmxngtay xngkvs brain death epnbthniyamthithangnitisastraelathangaephthysastrichhmayexakartaykhxngbukhkhl sungidrierimkhuninchwng ph s 2503 thngni odythwipmkhmayexaphawathiimsamarthfunfurabbkarthangankhxngsmxngkhxngbukhkhlidxikaelw xnepnphlmacakkartayhmdaelwthukswnkhxngesllprasathinsmxng xngkvs total necrosis of cerebral neurons ephraaehtuthiidkhadeluxdaelaxxksiecnhlxeliyngsmxngkhxngmnusy thngni phungimsbsnphawasmxngtaykbsphaphrangkaythangannxkbngkhbciticepnkareruxrng hruxsphaphphkeruxrngkhxngphupwy xngkvs persistent vegetative state enuxha 1 prawti 2 khxethccringthangaephthysastr 3 praednkarrbrukhxngrangkayinemuxsmxngtay 4 xangxing 5 aehlngkhxmulxunprawti aekikh raynganniyamkhwamtay praednthangaephthysastr nitisastr aelacriysastrinkarkahndniyamkhxngkhwamtay aetedimthngthangnitisastraelathangaephthysastrhmayexakartaykhxngbukhkhlwaidaekkarsinsudlngkhxngkarthangankhxngxwywasakhybangswn odyechphaakarhayicaelakaretnkhxnghwic txemuxolkthangaephthysastrphthnatamladb khwamsamarthinkarkuchiph resuscitation bukhkhlsunghwichyudthanganaelw imhayicaelw hruxirsungsyyanwamichiwitxyukphthnaipdwy cungcaepntxngmikarprbprungbthniyamkhxngkartayesiyihmephuxihsxdkhlxngkbsthankarnthiepliynaeplngip sungkhwamcaepnechnwaniekidtxngkratharibdwnkhunemuxxupkrnkarphyungchiwit echn karplukthayxwywa organ transplantation idaephrhlayyingkhun xnepnphlihxwywakhxngmnusyhlaychinthangantxipidxikinshrthxemrika ph s 2511 khnakrrmkarechphaakic ad hoc committee thiwithyalykaraephthyharward Harvard Medical School aetngtngkhunidcdphimphraynganchinsakhyekiywkbkarihniyamkhxngxakarokhmaehluxcaeyiywya irreversible coma sungidklaymaepnkhwamekhaicekiywkbphawasmxngtaykhxngphukhnswnihyinpccubnniin ph s 2519 smachiksphanitibyytiaehngshrthxemrikaidmimtiehnchxbdwythicakahndihphawasmxngtayepnkarsxwabukhkhlidthungaekkhwamtayaelw txmain ph s 2524 khnakrrmathikarinprathanathibdiephuxkarsuksapyhathangcriythrrminkarwicythangaephthysastr aelathangchiwwithya aelathangphvtikrrmsastr President s Commission for the Study of Ethnical Problem in Medicine and Biomedical and Behavioral Reseach idcdephyaephrrayngansakhychux niyamkhwamtay praednthangaephthysastr nitisastr aelacriysastrinkarkahndniyamkhxngkhwamtay Defin ing Death Medical Legal and Ethical Issues in the Determination of Death 1 sungmisarasakhyepnkarptiesthwa smxngswnbn higher brain hrux upper brain tay smxngthngmwlktayipdwy sungraynganchbbidklayepnmulthaninkarkahndbthxthibaysphthwa khwamtay inrthbyyticdraebiybkarkahndniyamkhxngkhwamtay Uniform Determination of Death Act xnyngichbngkhbxyuinrthkwahasibrthpccubn thngthangnitisastraelathangaephthysastrkahndihphawasmxngtayepnkartayinthangkdhmaykhxngbukhkhl sungtrngkbkhxethccringthangwithyasastrthiwarabbrangkaythngpwngcakhxy sinsudlngsungkarthangantamladbphayhlngcakthismxngsinsudkarthanganlngdwyehtuni aembukhkhlthismxngtayaelwcadarngxyuiddwyxupkrnchwychiwitkhnphunthan echn karihxxksiecn karichekhruxngepliynthayolhit aetaephthyksamarthprakasidwabukhkhlnithungaekkhwamtayaelwchatiaerkthikahndihphawasmxngtayepnkartaythangkdhmaykhxngbukhkhlkhuxpraethsfinaelnd in ph s 2514 sungtxmaxikimnan rthaekhnssaehngshrthxemrikakprakasichkdhmayinthanxngediywkn 2 sahrbpraethsithyyngimmikarkahndechnnikhxethccringthangaephthysastr aekikhhlngcakthismxngkhxngbukhkhltay klawkhux hyudkarthanganlngodysineching rangkaykhxngbukhkhlcaimtxbsnxngtxkarkrathbkrathngphaynxkxik odyrabbkarthanganxun inrangkayaelachiwitkhxngbukhkhlnncakhxy sinsudlngtamkalaelatamladb ewnaetcamikarprathngchiwitdwyxupkrnthangkaraephthy epntnwa ekhruxngchwyhayic ekhruxngchwyfxkeluxd ekhruxngchwysubchidolhitaethnhwic 3 hlngcakthihwichyudetn esllinsmxngbangswncahyudthanganphayinsamthunghanathi aetbangswnxacthanganidxikpramansibhanathi itcaxyuidxikhnungchwomng klamenuxmichiwitxyuidxiksithunghachwomng nxkcakni phmaelaelbkxxkidxikhlaywn 4 karruwasmxngkhxngbukhkhltayaelwxackrathaidodyducakkartrwcwiekhraahthangkayphaph echn bukhkhlthismxngtayaelwimmixakartxbsnxngtxkhwamecbpwd aelaimmirieflkskhxngprasaththiophrngkaohlk cranial nerve reflexes thngni yngsamarthtrwcidodyekhruxngchayphaphkhluniffasmxng hruxxixici electroencephalogramme hrux EEG odyhakkrafincxekhruxngpraktraberiybaesdngwasmxngkhxngphurbkarchayphaphsinsudkarthanganlngaelw 5 phungsngwrwakhwraeykkhwamtangrahwangphawasmxngtaykbphawaxunthixacdukhlaysmxngtayihid phawaxundngklaw echn phawaepnphisehtuyakdprasath barbiturate intoxication phawaepnphisehtusura alcohol intoxication karidrbyarangbprasathekinkhnad sedative overdose phawatweynekin hypothermia phawanataltaineluxd hypoglycaemia aelasphaphphkeruxrngkhxngphupwy chronic vegetative states mikrnithiphupwybangrayaemxyuinkhntrithutkxacprathngkhwamecbikhthungkhnrksahayid aelabangrayaembrrdaprasathcaesiykarthanganthungkhntrithutaelwkxacprathngkhwamecbikhidechnkn hakimidsuyesiyepluxksmxng cortex cerebri aelarabbkarthangankhxngkansmxng brainstem dwyehtuechnwani thungaemphupwyxyuinsphaphirsmxngihy anencephaly hakimidsuyesiysingthngsxng kyngimthuxwaprasbphawasmxngtay aetphumisphaphirsmxngihykxacthukkrathaaephthyanuekhraahkhatidtamehmaasmpraednkarrbrukhxngrangkayinemuxsmxngtay aekikhepnthiekhaicknwa karsinsudlngkhxngkickrrmkhxngsmxng hruxthieriyk kickrrmthangsky electrical activity khmaythungkarrbrutang khxngmnusysinsudlngdwysahrbphuehnwa epluxksmxng cortex cerebri epnephiyngswnediywinrangkaythimihnathirbphidchxbekiywkbkarrbrutang khxngmnusy mkehnwakarsinsudlngkhxngkickrrmthangskydngklawkhwrichepnthitdsinwabukhkhltayaelwephiyngprakarediyw xyangirkdi mihlaykrnithieluxdimiphlxeliyngsmxngephraakhwamkddninkaohlksirsa xnepnphlihsmxngthngswnimthangan aelarangkaykhadkarrbruinthisud sunghmaykhwamwaimidmiaekhepluxksmxngethannthixacsngphltxkarrbrukhxngrangkaymikrnitwxyang khux krnikhxngnayskh dnaelp Zach Dunlap chaywyyisibexdpi ph s 2550 phusungaephthyaethlngwasmxngtayaelw txngkarxangxing emuxwnthi 19 phvscikayn 2550 aetsichwomngtxmaklbfunkhunstiaelaimidsuyesiykhwamthrngcaid odyyngihsmphasninphayhlngxikwayngidyinesiyngaephthyprakaswasmxngkhxngtntayaelwxyangaemnchd sunginrahwangthinayskhhmdstiipnn nangaedn khxffin Dan Coffin yatikhxngnayskhaelaepnnangphyabaldwy phbwarangkaykhxngnayskhyngtxbsnxngtxxakarecbpwdsungnacahmaykhwamwaekhayngmichiwitxyuaemsmxngcatayaelwtamthimikaraethlngxyangepnthangkar epnehtuihekidkhxkngkhainkhnaniekiywkbkhwamekhaicwamnusysinsudkarrbruemuxsmxnghyudthangandngkhangtn 6 7 xangxing aekikh President s Commission for the Study of Ethnical Problem in Medicine and Biomedical and Behavioral Reseach 1981 Defin ing Death Medical Legal and Ethical Issues in the Determination of Death Online Available http www bioethics gov reports past commissions defining death pdf Archived 2008 06 02 thi ewyaebkaemchchin Accessed 25 June 2008 Randell T 2004 Medical and legal considerations of brain death ACTA ANAESTHESIOLOGICA SCANDINAVICA 48 2 pp 139 144 praphthnphngs sukhnth 2529 karykewnkhwamrbphidinkarthaihphupwytaydwykhwamsngsar withyaniphnthinkarsuksatamhlksutrpriyyanitisastrmhabnthit phakhwichanitisastr bnthitwithyaly culalngkrnmhawithyaly hna 51 snt htthiritn 2521 karduaelrksaphupwythihmdhwng krungethph xmrinthrkarphimph hna 18 praphthnphngs sukhnth 2529 karykewnkhwamrbphidinkarthaihphupwytaydwykhwamsngsar withyaniphnthinkarsuksatamhlksutrpriyyanitisastrmhabnthit phakhwichanitisastr bnthitwithyaly culalngkrnmhawithyaly hna 52 Heraldsun com au 2008 25 March Dead man says he feels pretty good Online Available http www news com au heraldsun story 0 21985 23427539 23109 00 html Accessed 25 June 2008 Mike Celizic 2008 24 March Pronounced dead man takes miraculous turn Online Available http today msnbc msn com id 23775873 Archived 2008 05 12 thi ewyaebkaemchchin 25 June 2008 aehlngkhxmulxun aekikhkarcaaenkorkhDICD 10 CM G93 82ICD 9 CM 348 82MeSH D001926DiseasesDB 1572 ekhathungcak https th wikipedia org w index php title phawasmxngtay amp oldid 9577635, wikipedia, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด,

บทความ

, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม