fbpx
วิกิพีเดีย

ภาษามันดาอิก

ภาษามันดาอิก เป็นภาษาที่ใช้ในศาสนามันเดียน ใกล้เคียงกับภาษาอราเมอิก และได้รับอิทธิพลจากภาษากลุ่มอิหร่านอื่นๆทั้งในด้านไวยากรณ์และรากศัพท์ ภาษามันดาอิกคลาสสิก จัดอยู่ในภาษากลุ่มเซมิติกตะวันออก สาขาตะวันออกเฉียงเหนือ ใกล้เคียงกับภาษาอราเมอิกที่ใช้พูดในบาบิโลเนียและภาษาในเมโสโปเตเมียอื่นๆ มีความใกล้เคียงกับภาษาซีเรียค ที่เป็นภาษาของชาวคริสต์ในตะวันออกกลาง

ภาษามันดาอิก
Mandāyì, Ra
ประเทศที่มีการพูดอิหร่าน, อิรัก, สหรัฐอเมริกา
ภูมิภาคจังหวัดคูเซสถาน ประเทศอิหร่าน
จำนวนผู้พูด100 คนสำหรับภาษามันดาอิกใหม่  (ไม่พบวันที่)
ตระกูลภาษา
รหัสภาษา
ISO 639-2arc
ISO 639-3อย่างใดอย่างหนึ่ง:
mid — ภาษามันดาอิกใหม่
myz — ภาษามันดาอิกคลาสสิก

ภาษามันดาอิกใหม่

ภาษามันดาอิกใหม่พัฒนามาจากภาษามันดาอิก ที่จัดอยู่ในกลุ่มเดียวกับภาษาอราเมอิก ภาษาอราเมอิกเคยใช้เป็นภาษากลางในยุคอัสซีเรียและอคาแมนิด และการเป็นภาษาสำหรับการติดต่อระหว่างชาติ หลังจากนั้น ภาษาอราเมอิกพัฒนาออกไปเป็นสองกลุ่มใหญ่คือ กลุ่มตะวันตกได้แก่ภาษาทัลมูดิกในปาเลสไตน์ ภาษาปาเลสไตน์ของชาวคริสต์ และภาษาซามาริทัน กับกลุ่มตะวันออก ได้แก่ ภาษาบาบิโลเนียยุคสุดท้าย ภาษาซีเรียคและภาษามันดาอิก

ภาษาที่ยังเหลืออยู่ของภาษาอราเมอิกกลุ่มตะวันออกได้แก่ ภาษาอราเมอิกใหม่กลาง (ภาษาตูโรโยและภาษามลาโซ) ภาษาอราเมอิกใหม่ตะวันออกเฉียงเหนือ (เป็นกลุ่มใหญ่สุด ซึ่งรวมทั้งภาษาอราเมอิกใหม่ในหมู่ชาวยิวและภาษาอราเมอิกใหม่อัสซีเรียและภาษาอราเมอิกใหม่คัลเดีย) และภาษามันดาอิกใหม่ ส่วนภาษาที่เหลือรอดของกลุ่มตะวันตกมีภาษาเดียวคือภาษาอราเมอิกใหม่ตะวันตกที่ใช้พูดในบางหมู่บ้านในดามัสกัส ในบรรดาภาษาที่เหลือรอดเหล่านี้ ภาษามันดาอิกใหม่จัดว่าเป็นภาษาที่สืบทอดมาจากภาษาอราเมอิกโดยตรง ในทางไวยากรณ์ ภาษามันดาอิกใหม่มีลักษณะอนุรักษนิยมเมื่อเทียบกับภาษาอราเมอิใหม่กลุ่มตะวันออกอื่นๆ โดยยังคงใช้การเชื่อมต่อปัจจัยแบบภาษาเซมิติกยุคเก่า

ภาษามันดาอิกใหม่เหลืออยู่สามสำเนียง ใช้พูดในเมืองซุซตาร์ ชาห์ วาลติ และเดซฟูล ในคุเซสถานตะวันออกเฉียงเหนือ ประเทศอิหร่าน ชุมชนชาวมันเดียในเมืองเหล่านี้อพยพออกในช่วงพ.ศ. 2523 และเข้าไปตั้งถิ่นฐานในเมืองอะห์วาซและโคร์รัมชาห์ ซึ่งเป็นผลมาจากสงครามอิรัก-อิหร่าน

อ้างอิง

  • Drower, Ethel Stefana and Rudolf Macuch. 1963. A Mandaic Dictionary. Oxford: Clarendon.
  • Häberl, Charles. 2006. The Neo-Mandaic Dialect of Khorramshahr. PhD Dissertation, Harvard University.
  • Macuch, Rudolf. 1965. Handbook of Classical and Modern Mandaic. Berlin: De Gruyter.
  • Macuch, Rudolf. 1989. Neumandäische Chrestomathie. Wiesbaden: Harrasowitz.
  • Macuch, Rudolf. 1993. Neumandäische Texte im Dialekt von Ahwaz. Wiesbaden: Harrasowitz.
  • Nöldeke, Theodor. 1862. “Ueber die Mundart der Mandäer.” Abhandlungen der Historisch-Philologischen Classe der königlichen Gesellschaft der Wissenschaften zu Göttingen 10: 81-160.
  • Nöldeke, Theodor. 1875. Mandäische Grammatik. Halle: Waisenhaus

ภาษาม, นดาอ, เป, นภาษาท, ใช, ในศาสนาม, นเด, ยน, ใกล, เค, ยงก, บภาษาอราเมอ, และได, บอ, ทธ, พลจากภาษากล, มอ, หร, านอ, นๆท, งในด, านไวยากรณ, และรากศ, พท, คลาสส, ดอย, ในภาษากล, มเซม, กตะว, นออก, สาขาตะว, นออกเฉ, ยงเหน, ใกล, เค, ยงก, บภาษาอราเมอ, กท, ใช, ดในบาบ, โล. phasamndaxik epnphasathiichinsasnamnediyn iklekhiyngkbphasaxraemxik aelaidrbxiththiphlcakphasaklumxihranxunthngindaniwyakrnaelaraksphth phasamndaxikkhlassik cdxyuinphasaklumesmitiktawnxxk sakhatawnxxkechiyngehnux iklekhiyngkbphasaxraemxikthiichphudinbabioleniyaelaphasainemosopetemiyxun mikhwamiklekhiyngkbphasasieriykh thiepnphasakhxngchawkhristintawnxxkklangphasamndaxikMandayi Raṭ napraethsthimikarphudxihran xirk shrthxemrikaphumiphakhcnghwdkhuessthan praethsxihrancanwnphuphud100 khnsahrbphasamndaxikihm imphbwnthi trakulphasaaexofrexchiaextik phasaklumesmitikphasaklumesmitikklangphasaklumesmitiktawntkechiyngehnuxphasaxraemxikphasaxraemxiktawnxxkphasamndaxikrhsphasaISO 639 2arcISO 639 3xyangidxyanghnung mid phasamndaxikihmmyz phasamndaxikkhlassikphasamndaxikihm aekikhphasamndaxikihmphthnamacakphasamndaxik thicdxyuinklumediywkbphasaxraemxik phasaxraemxikekhyichepnphasaklanginyukhxssieriyaelaxkhaaemnid aelakarepnphasasahrbkartidtxrahwangchati hlngcaknn phasaxraemxikphthnaxxkipepnsxngklumihykhux klumtawntkidaekphasathlmudikinpaelsitn phasapaelsitnkhxngchawkhrist aelaphasasamarithn kbklumtawnxxk idaek phasababioleniyyukhsudthay phasasieriykhaelaphasamndaxikphasathiyngehluxxyukhxngphasaxraemxikklumtawnxxkidaek phasaxraemxikihmklang phasatuoroyaelaphasamlaos phasaxraemxikihmtawnxxkechiyngehnux epnklumihysud sungrwmthngphasaxraemxikihminhmuchawyiwaelaphasaxraemxikihmxssieriyaelaphasaxraemxikihmkhlediy aelaphasamndaxikihm swnphasathiehluxrxdkhxngklumtawntkmiphasaediywkhuxphasaxraemxikihmtawntkthiichphudinbanghmubanindamsks inbrrdaphasathiehluxrxdehlani phasamndaxikihmcdwaepnphasathisubthxdmacakphasaxraemxikodytrng inthangiwyakrn phasamndaxikihmmilksnaxnurksniymemuxethiybkbphasaxraemxiihmklumtawnxxkxun odyyngkhngichkarechuxmtxpccyaebbphasaesmitikyukhekaphasamndaxikihmehluxxyusamsaeniyng ichphudinemuxngsustar chah walti aelaedsful inkhuessthantawnxxkechiyngehnux praethsxihran chumchnchawmnediyinemuxngehlanixphyphxxkinchwngph s 2523 aelaekhaiptngthinthaninemuxngxahwasaelaokhrrmchah sungepnphlmacaksngkhramxirk xihranxangxing aekikhDrower Ethel Stefana and Rudolf Macuch 1963 A Mandaic Dictionary Oxford Clarendon Haberl Charles 2006 The Neo Mandaic Dialect of Khorramshahr PhD Dissertation Harvard University Macuch Rudolf 1965 Handbook of Classical and Modern Mandaic Berlin De Gruyter Macuch Rudolf 1989 Neumandaische Chrestomathie Wiesbaden Harrasowitz Macuch Rudolf 1993 Neumandaische Texte im Dialekt von Ahwaz Wiesbaden Harrasowitz Noldeke Theodor 1862 Ueber die Mundart der Mandaer Abhandlungen der Historisch Philologischen Classe der koniglichen Gesellschaft der Wissenschaften zu Gottingen 10 81 160 Noldeke Theodor 1875 Mandaische Grammatik Halle Waisenhausekhathungcak https th wikipedia org w index php title phasamndaxik amp oldid 9354141, wikipedia, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด,

บทความ

, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม