fbpx
วิกิพีเดีย

สงครามอิรัก–อิหร่าน

สงครามอิรัก–อิหร่าน (อังกฤษ: Iran–Iraq War) เป็นความขัดแย้งระหว่างประเทศอิหร่านและประเทศอิรัก ซึ่งเริ่มตั้งแต่เดือนกันยายน 1980 ถึงสิงหาคม 1988 มีการประเมินว่าสงครามครั้งนี้สร้างความเสียหายทางเศรษฐกิจรวมกันกว่า 1.2 ล้านล้านดอลลาร์สหรัฐ (30.6 ล้านล้านบาท)

สงครามอิรัก–อิหร่าน
เป็นส่วนหนึ่งของ ความขัดแย้งในอ่าวเปอร์เซีย

ทหารเด็กชาวอิหร่านถูกประจำการเป็นกองหน้า; ร่างของทหารอิหร่านที่ถูกสังหารโดยทหารอิรัก (บนขวา); การอัปปางของเรือรบ USS Stark ซึ่งถูกโจมตีโดยขีปนาวุธอิรักโดยความเข้าใจผิด; กองกำลังมูจาฮีดีนอิหร่านถูกสังหารโดยกองทัพอิหร่าน (กลางขวา); เชลยสงครามอิรัก; ปืนใหญ่ต่อสู้อากาศยาน ZU-23-2 ถูกใช้งานโดยกองทัพอิหร่าน (ล่างขวา)
วันที่ 22 กันยายน ค.ศ. 1980 – 20 สิงหาคม ค.ศ. 1988
(7 years, 10 months, 4 weeks and 1 day)
สถานที่ ชายแดนอิหร่าน-อิรัก
ผลลัพธ์ เอาชนะกันไม่ได้
  • อิรักไม่สามารถผนวกดินแดนทางตะวันออกของแม่น้ำชัฏฏุลอะร็อบ และไม่สามารถหนุนขบวนการแบ่งแยกดินแดนในจังหวัดฆูเซสถานของอิหร่านได้อีกต่อไป
  • อิหร่านไม่สามารถโค่นซัดดัม ฮุสเซนลงได้ และไม่สามารถทำลายแสนยานุภาพทางทหารของอิรักได้
  • ทั้งสองฝ่ายยอมรับมติคณะมนตรีความมั่นคงแห่งสหประชาชาติที่ 598 ที่ให้ทั้งสองฝ่ายหยุดยิงโดยทันที
  • อิรักเป็นหนี้มหาศาลกว่า 130 พันล้านดอลลาร์ต่อชาติพันธมิตรอาหรับ
คู่ขัดแย้ง
 อิหร่าน
  • พรรคประชาธิปไตยเคอร์ดิสถาน
  • สหภาพปิตุภูมิเคอร์ดิสถาน
 อิรัก
  • มูจาฮีดีนประชาชนอิหร่าน
ผู้บัญชาการหรือผู้นำ
รูฮุลลอฮ์ โคมัยนี
(ผู้นำสูงสุดอิหร่าน)

อะบุล ฮาซัน บานีซาดร์
(ประธานาธิบดีอิหร่าน)

ซัดดัม ฮุสเซน
(ประธานาธิบดีอิรัก)
กองทัพ
กองทัพสาธารณรัฐอิสลามอิหร่าน

Peshmerga

กองทัพอิรัก
  • กองทัพบก
  • กองทัพเรือ
  • กองทัพอากาศ
  • หน่วยป้องกันภัยทางอากาศ
  • หน่วยบินกองทัพบก
  • Republican Guard
  • Popular Army

National Defense Battalions People's Mujahedin of Iran

กำลัง
ช่วงต้นสงคราม:
ทหาร 110,000–150,000 นาย,
1,700–2,100 รถถัง, (ใช้งานได้ 500)
1,000 รถหุ้มเกราะ
300 ปืนใหญ่ที่ใช้ได้
320 เครื่องบินทิ้งระเบิด (ใช้งานได้ ~100),
750 เฮลิคอปเตอร์
หลังอิรักถอนกำลังจากอิหร่านในปี 1982:
ทหาร 350,000
700 รถถัง
2,700 รถหุ้มเกราะ
400 ปืนใหญ่,
350 เครื่องบินรบ,
700 เฮลิคอปเตอร์
ช่วงต้นปี 1988:
ทหาร 600,000 นาย
1,000 รถถัง
800 รถหุ้มเกราะ
600 ปืนใหญ่หนัก
60–80 เครื่องบินรบ-ทิ้งระเบิด,
70–90 เฮลิคอปเตอร์
ช่วงต้นสงคราม:
ทหาร 200,000 นาย
2,800 รถถัง
4,000 APCs,
1,400 ปืนใหญ่
380 เครื่องบินรบ-ทิ้งระเบิด
350 เฮลิคอปเตอร์
หลังอิรักถอนกำลังจากอิหร่านในปี 1982:
ทหาร 175,000 นาย
1,200 รถถัง
2,300 รถหุ้มเกราะ
400 ปืนใหญ่
450 เครื่องบินรบ
180 เฮลิคอปเตอร์
เมื่อสงครามสิ้นสุด:
ทหาร 1,500,000 นาย
~5,000 รถถัง
8,500–10,000 APCs,
6,000–12,000 ปืนใหญ่
900 เครื่องบินรบ-ทิ้งระเบิด
1,000 เฮลิคอปเตอร์
กำลังพลสูญเสีย
123,220–160,000 ตายในหน้าที่ และ 60,711 สูญหายในหน้าที่ (คำอ้างของอิหร่าน)
200,000–600,000 ตาย (ประมาณการโดยที่อื่น)
800,000 ตาย (คำอ้างของอิรัก)

40,000–42,875 เชลยสงคราม
11,000–16,000 พลเรือนตาย
เศรษฐกิจเสียหายมูลค่า US$627 พันล้าน

105,000–375,000 ตายในหน้าที่
250,000–500,000 ตาย (ประมาณการโดยที่อื่น)

70,000 เชลยสงคราม
เศรษฐกิจเสียหายมูลค่า $561 พันล้าน

พลเรือนของทั้งสองฝ่าย ตายมากกว่า 100,000 คน
(ไม่รวมพลเรือนที่ตายในปฏิบัติการอัลอัลฟาลอีกราว 50,000-100,000 คน)
สงครามอิรัก–อิหร่าน - 22 กันยายน 1980 - เตหะราน

สงครามอิรัก–อิหร่านเริ่มขึ้นเมื่ออิรักทำการรุกรานอิหร่านในวันที่ 22 กันยายน 1980 อันเนื่องมาจากข้อพิพาททางชายแดนที่ดำเนินมาอย่างยาวนาน หลังการปฏิวัติอิหร่านในปี 1979 รูฮุลลอฮ์ โคมัยนี ได้ขึ้นเป็นผู้นำสูงสุดของอิหร่านและประกาศตนเป็นผู้นำอิสลามนิกายชีอะห์ ทำให้มุสลิมชีอะฮ์อันเป็นคนส่วนมากในอิรักขึ้นมาก่อจลาจลต่อต้านการปกครองของรัฐบาลนิกายซุนนี ขณะเดียวกัน อิรักก็มีความพยายามจะขึ้นมามีอิทธิพลครอบงำภูมิภาคอ่าวเปอร์เซียแทนที่อิหร่าน แม้ว่าอิรักจะใช้โอกาสที่อิหร่านกำลังวุ่นวายนี้เข้าโจมตีอิหร่านโดยไม่ประกาศก่อน แต่เข้ายึดครองยังได้ไม่มากก็ถูกโต้กลับอย่างรวดเร็ว อิหร่านสามารถชิงดินแดนที่สูญเสียไปทั้งหมดคืนมาได้ภายในเดือนมิถุนายน 1982 และตลอดหกปีจากนี้ อิหร่านก็กลายเป็นฝ่ายรุกไล่เข้าไปในดินแดนอิรัก

แม้คณะมนตรีความมั่นคงแห่งสหประชาชาติได้ร้องให้มีการหยุดยิงนับสิบ ๆ ครั้ง แต่การสู้รบก็ดำเนินไปจนถึงวันที่ 20 สิงหาคม 1988 และสิ้นสุดลงอย่างเป็นทางการตามมติคณะมนตรีความมั่นคงแห่งสหประชาชาติที่ 598 ที่ทั้งสองฝ่ายยอมรับคำขอหยุดยิง ซึ่งภายหลังข้อสรุปนี้ กองทัพอิหร่านต้องใช้เวลาหลายสัปดาห์ในการถอนกำลังออกจากดินแดนอิรักโดยยึดเอาหลักเขตแดนก่อนสงคราม เชลยสงครามคนสุดท้ายของสงครามนี้ถูกส่งตัวกลับประเทศตนในปี 2003

สงครามครั้งนี้ทำให้มีผู้เสียชีวิตรวมกันกว่าหนึ่งล้านคนแต่กลับไม่มีฝ่ายใดได้หรือสูญเสียดินแดนเลย สงครามครั้งนี้ถูกนำไปเปรียบเทียบกับสงครามโลกครั้งที่หนึ่งในแง่ของกลยุทธ ทั้งการใช้แท่นปืนกล, การโจมตีแบบคลื่นมนุษย์, การใช้อาวุธเคมีจำนวนมากโดยกองทัพอิรัก ประเทศอิสลามจำนวนมากอยู่ฝ่ายเดียวกับชาติตะวันตกในสงครามครั้งนี้ นั่นคือการสนับสนุนอิรักโดยการให้เงินกู้, ยุทโธปกรณ์ และภาพถ่ายดาวเทียมในช่วงที่อิรักโจมตีอิหร่าน ซึ่งในระหว่างสงคราม มีการวิจารณ์จากสื่อว่า "ประชาคมโลกต่างพากันเงียบกริบตอนอิรักใช้อาวุธอานุภาพทำลายล้างสูงต่ออิหร่านและชาวเคิร์ด" และกว่าคณะมนตรีความมั่นคงยูเอ็นจะประกาศให้อิรักเป็นผู้ก่อสงครามก็ล่วงเลยไปถึงวันที่ 11 ธันวาคม 1991 สิบสองปีให้หลังจากที่อิรักทำการรุกรานอิหร่าน และเป็นเวลาสิบหกเดือนหลังอิรักรุกรานคูเวต ซึ่งบานปลายเป็นสงครามอ่าว

เบื้องหลัง

ความขัดแย้งอิรัก-อิหร่าน

อิหร่านและอิรักมีความขัดแย้งกันจากปัญหาเชื้อชาติ ประชากรส่วนใหญ่ของอิรักมีเชื้อสายอาหรับใช้ภาษาอารบิก ในขณะที่ส่วนน้อยมีเชื้อสายเปอร์เซียใช้ภาษาเปอร์เซีย คนเชื้อสายเปอร์เซียในอิรักมีสถานะเป็นรองเชื้อสายอาหรับอยู่เสมอและมักถูกกดขี่โดยคนเชื้ออาหรับ ทำให้ชาวอิรักเชื้อสายเปอร์เซียเหล่านี้เกิดความคับแค้นใจต่อชาวอิรักเชื้อสายอาหรับ ปัญหาเช่นนี้เกิดในอิหร่านเช่นกัน ประชากรของอิหร่านมีเชื้อสายเปอร์เซียกับอาหรับอย่างละครึ่ง แต่ชนชั้นปกครองในอิหร่านเกือบทั้งหมดเป็นเชื้อสายเปอร์เซีย ฉะนั้นในอิหร่านเองก็มีความไม่พอใจของคนเชื้อสายอาหรับต่อคนเชื้อสายเปอร์เซีย

คนอิหร่านเชื้อสายอาหรับส่วนใหญ่จะอาศัยอยู่ทางตะวันตกของประเทศในจังหวัดฆูเซสถานติดกับพรมแดนอิรัก ซึ่งจังหวัดฆูเซสถานนี้เป็นแหล่งน้ำมันที่สำคัญที่สุดของอิหร่าน ขณะเดียวกัน อิรักก็พยายามอ้างอยู่เสมอว่าจังหวัดดังกล่าวเป็นดินแดนของอิรัก ถึงกับตั้งชื่อให้ว่า จังหวัดอราเบแซน ทหารของสองประเทศมักมีการปะทะกันย่อม ๆ อยู่เสมอในจังหวัดนี้

นอกจากนี้ยังมีปัญหาชนกลุ่มน้อยที่เรียกว่า "ชาวเคิร์ด" เป็นชนกลุ่มน้อยเชื้อสายอารยัน ไม่มีประเทศเป็นของตนเองแต่อาศัยอยู่ในพื้นที่ของอิรัก, อิหร่าน, ตุรกี และสหภาพโซเวียต ชาวเคิร์ดได้ดำเนินกิจกรรมทางการเมืองเพื่อนำไปสู่การจัดตั้งรัฐอิสระของตนเองขึ้นในอิหร่าน ชาวเคิร์ดได้ก่อจลาจลขึ้นในอิหร่านในปี 1930 และถูกรัฐบาลอิหร่านปราบปรามอย่างรุนแรง ชาวเคิร์ดจำนวนมากหลบหนีเข้าไปยังอิรัก การปราบปราบอย่างรุนแรงทำให้ชาวเคิร์ดหมดหวังที่จะตั้งรัฐอิสระของตนในอิหร่าน และตั้งเป้าหมายที่จะตั้งรัฐอิสระขึ้นในอิรักแทน จนกระทั่งในปี 1969 ชาวเคิร์ดในอิรักกลายเป็นปัญหามากขึ้นเมื่อพระเจ้าชาห์แห่งอิหร่านได้ให้ความช่วยเหลือทั้งด้านการเงิน, การทูต และด้านอื่น ๆ แก่ชาวเคิร์ดในอิรัก ต่อมาในปี 1974 รัฐบาลอิรักเข้าประนีประนอมกับรัฐบาลอิหร่านเนื่องจากเห็นว่าขณะนั้นอิหร่านเป็นชาติแข็งแกร่งและยังเป็นมิตรกับสหรัฐอเมริกา การเจรจาดังกล่าวกลายเป็น "สนธิสัญญาแอลเจียร์ ค.ศ. 1975" ที่ทางอิหร่านจะยุติให้การสนับสนุนแก่ชาวเคิร์ดแลกกับการที่อิรักเสียส่วนหนึ่งของปากแม่น้ำชัฏฏุลอะร็อบแก่อิหร่าน

จากสนธิสัญญาดังกล่าว จะเห็นได้ว่า อิหร่านไม่ได้มีส่วนแก้ปัญหาชาวเคิร์ดในอิรักเลย แต่อิรักกลับต้องเสียดินแดนส่วนหนึ่งแก่อิหร่าน อิรักมองว่าสนธิสัญญาดังกล่าวหาความเป็นธรรมไม่ได้

จุดยืนของสหรัฐอเมริกา

สหรัฐอเมริกาถือเป็นมิตรประเทศของประเทศอิหร่านก่อนการปฏิวัติ แม้กระทั่งหลังการปฏิวัติอิหร่านแล้ว รัฐบาลของประธานาธิบดีคาร์เตอร์ ก็ยังคงมองอิหร่านเป็นปราการเพื่อต่อต้านอิรักและสหภาพโซเวียต สหรัฐมีการเจรจาเป็นหุ้นส่วนทางยุทธศาสตร์กับรัฐบาลเฉพาะกาลของอิหร่าน มีการอนุมัติความร่วมมือด้านข่าวกรองระหว่างสองประเทศในปี 1979 ทั้งสหรัฐและอิหร่าน แต่ความสัมพันธ์ระหว่างสหรัฐ-อิหร่าน ขาดสะบั้นลงเมื่อเกิดวิกฤตการณ์ตัวประกันอิหร่าน และอิหร่านยังกล่าวหาสหรัฐว่าอยู่เบื้องหลังการรัฐประหารอิหร่านในปี 1953 สหรัฐได้ตัดทางการทูตเป็นการตอบโต้ ในขณะที่บรรดาผู้นำของอิหร่านรวมทั้งรูฮุลลอฮ์ โคมัยนีต่างเชื่อทฤษฎีสมคบคิดที่ว่าสหรัฐให้ "ไฟเขียว" แก่ซัดดัม ฮุสเซน ในการบุกอิหร่าน และยังสงสัยว่าสหรัฐจะใช้อิรักเป็นหมากในการแก้แค้นเรื่องวิกฤตตัวประกัน ตามบันทึกของประธานาธิบดีคาร์เตอร์เองก็ได้ระบุในไดอารีของเขาว่า "พวกผู้ก่อการร้ายอิหร่านกำลังจะทำเรื่องบ้า ๆ อย่างฆ่าตัวประกันชาวอเมริกันถ้าพวกเขาถูกบุกโดยอิรัก ที่เขาบอกว่าเป็นหุ่นเชิดของอเมริกา"

ความพร้อมของอิรัก

อิรักได้วางแผนโจมตีอิหร่านโดยเชื่อมั่นอย่างมากว่าจะประสบความสำเร็จ เนื่องจากรัฐบาลอิหร่านในขณะนั้นยังขาดเสถียรภาพและแตกออกเป็นสองขั้วระหว่างขั้วอเมริกันกับขั้วอังกฤษ อิรักมีศักยภาพในการจัดกองพลยานเกราะได้ 12 กองพล และตลอดช่วงทศวรรษที่ 1970 ซัดดัมได้เสริมสร้างแสนยานุภาพของอิรักด้วยอาวุธยุทโธปกรณ์สมัยใหม่ที่สุดจากสหรัฐอเมริกา และ สหภาพโซเวียต

นอกจากนี้ แม่น้ำชัฏฏุลอะร็อบก็ไม่ถือเป็นอุปสรรคต่อการเคลื่อนกำลังพลของอิรัก เนื่องจากกองทัพอิรักมีสะพานสำเร็จรูปที่ประกอบได้อย่างรวดเร็ว อิรักยังคาดการณ์ได้อย่างถูกต้องว่าแนวป้องกันของอิหร่านบริเวณแม่น้ำคาร์เคและแม่น้ำคารุนนั้นมีกำลังทหารไม่เพียงพอ ทำให้อิรักสามารถข้ามแม่น้ำได้โดยง่าย การข่าวกรองของอิรักยังยืนยันอีกว่า กำลังทหารอิหร่านในจังหวัดฆูเซสถานนั้นมียุทโธปกรณ์ที่ล้าหลังและประสิทธิภาพต่ำ และมีเพียงรถถังเพียงหยิบมือเท่านั้นที่ใช้งานได้

สิ่งเดียวที่อิรักเป็นกังวลก็คือกำลังทางอากาศของอิหร่านซึ่งมีศักยภาพ นั่นเองจึงทำให้ผู้บัญชาการทหารของอิรัก ตัดสินใจที่จะทำการโจมตีแบบฉาบฉวยต่อฐานทัพและโครงสร้างพื้นฐานทางอากาศของอิหร่านก่อนเพื่อเป็นการเบิกทางให้กับการรุกรานทางบก

ความพร้อมของอิหร่าน

กองทัพอิหร่านในขณะนั้นกำลังอยู่ในสภาพอ่อนแอ นายทหารจำนวนมากถูกประหารโดยศาลปฏิวัติอิสลามในช่วงการปฏิวัติอิหร่าน กองทัพขาดอาวุธยุทโธปกรณ์และอะไหล่ที่ผลิตโดยสหรัฐ-อังกฤษอย่างรุนแรง ในเดือนกุมภาพันธ์ถึงกันยายน 1979 รัฐบาลอิหร่านประหารนายพลระดับสูงกว่า 85 ราย และบังคับนายพลคนอื่นๆที่เหนือรวมถึงเหล่าผู้บัญชาการกองพลน้อยให้เกษียณก่อนกำหนด

ก่อนเดือนกันยายน 1980 รัฐบาลอิหร่านปลดเจ้าหน้าที่ทหารกว่า 12,000 นาย การปลดครั้งนี้ได้ลดศักยภาพความพร้อมรบของกองทัพอิหร่านลงอย่างรุนแรง กำลังทหารปกติของอิหร่าน (ซึ่งเคยได้รับการยอมรับว่ามีกองทัพบกที่ทรงแสนยานุภาพที่สุดประเทศหนึ่งของโลกในปี 1978) อ่อนแอลงอย่างมาก อัตราการหนีทหารสูงลิบกว่า 60% นายทหารและนักบินทักษะสูงส่วนใหญ่ต่างลี้ภัย, ถูกจำคุก หรือถูกประหาร นับเป็นภาวะสมองไหลที่ส่งผลต่อศักยภาพกองทัพอิหร่านมาจนถึงปัจจุบัน

อิหร่านยังถูกขัดขวางไม่ให้เข้าถึงอาวุธหนักอย่างรถถังหรืออากาศยานได้ ซึ่งเป็นผลจากการแทรงแซงโดยสหรัฐและสหราชอาณาจักร เมื่ออิรักเริ่มทำการบุก มีการปล่อยตัวนักบินและนายทหารจำนวนมากออกจากคุก หรือเปลี่ยนโทษประหารเป็นส่งไปรบกับอิรักแทน นอกจากนี้ ยังได้มีการเลื่อนขั้นทหารรุ่นใหม่จำนวนมากขึ้นเป็นนายพล ทำให้กองทัพอิหร่านมีความเป็นเนื้อเดียวกับรัฐบาลมากขึ้นตั้งแต่สิ้นสุดสงครามจวบจนปัจจุบัน แม้จะถูกแทรกแซงจากมหาอำนาจภายนอก แต่อิหร่านก็ยังคงมีรถถังที่ใช้งานได้อย่างน้อยกว่า 1,000 คันรวมถึงอากาศยานอีกหลายร้อยเครื่อง ทำให้สามารถใช้ชิ้นส่วนของเครื่องที่มีอยู่เป็นอะไหล่ได้อยู่บ้าง

อ้างอิง

  1. {{https://en.wikipedia.org/wiki/Iran%E2%80%93Israel_proxy_conflict}}
  2. Iran and Syria| Jubin Goodarzi
  3. Copulsky, Alex (Winter 2008), "Death of a Salesman", Harvard Political Review, 356 (6370): 627, Bibcode:1992Natur.356..627R, doi:10.1038/356627a0
  4. Metz, Helen Chapin, ed. (1988), "The Soviet Union", Iraq: a Country Study, Library of Congress Country Studies
  5. Metz, Helen Chapin, ed. (1988), "Arms from The Soviet Union", Iraq: a Country Study, Library of Congress
  6. Metz, Helen Chapin, ed. (1988), "Arms from France", Iraq: a Country Study, Library of Congress[ต้องการตรวจสอบความถูกต้อง]
  7. Timmerman, Kenneth R., "Fanning the Flames: Guns, Greed & Geopolitics in the Gulf War", Iran Brief |contribution= ignored (help)
  8. "Brief History of Qatar". Heritage of Qatar. สืบค้นเมื่อ 7 November 2012.
  9. Vatanka, Alex (22 March 2012). "The Odd Couple". The Majalla. Saudi Research and Publishing Company. สืบค้นเมื่อ 7 November 2012.
  10. Friedman, Alan. Spider's Web: The Secret History of How the White House Illegally Armed Iraq, Bantam Books, 1993.
  11. Timmerman, Kenneth R. (1991). The Death Lobby: How the West Armed Iraq. New York: Houghton Mifflin Company. ISBN 0-395-59305-0.
  12. http://www.ft.com/cms/s/0/52add2c4-30b4-11e1-9436-00144feabdc0.html
  13. Anthony, John Duke; Ochsenwald, William L.; Crystal, Jill Ann. "Kuwait". Encyclopædia Britannica.
  14. Schenker, David Kenneth (2003). Dancing with Saddam: The Strategic Tango of Jordanian-Iraqi Relations (PDF). The Washington Institute for Near East Policy / Lexington Books. ISBN 0-7391-0649-X.
  15. Pollack, p, 186
  16. Farrokh, Kaveh, 305 (2011)
  17. Pollack, p. 187
  18. Farrokh, Kaveh, 304 (2011)
  19. Pollack, p. 232
  20. Pollack, p. 186
  21. Pollack, p. 3
  22. Hiro, Dilip (1991). The Longest War: The Iran–Iraq Military Conflict. New York: Routledge. p. 205. ISBN 9780415904063. OCLC 22347651.
  23. Abrahamian, Ervand (2008). A History of Modern Iran. Cambridge, U.K.; New York: Cambridge University Press. pp. 171–175, 212. ISBN 9780521528917. OCLC 171111098.
  24. Rajaee, Farhang (1997). Iranian Perspectives on the Iran–Iraq War. Gainesville: University Press of Florida. p. 2. ISBN 9780813014760. OCLC 492125659.
  25. Mikaberidze, Alexander (2011). Conflict and Conquest in the Islamic World: A Historical Encyclopedia. Santa Barbara, California: ABC-CLIO. p. 418. ISBN 9781598843361. OCLC 775759780.
  26. Hammond Atlas of the 20th Century (1999) P. 134-5
  27. Dunnigan, A Quick and Dirty Guide to War (1991)
  28. Dictionary of Twentieth Century World History, by Jan Palmowski (Oxford, 1997)
  29. Clodfelter, Michael, Warfare and Armed Conflict: A Statistical Reference to Casualty and Other Figures, 1618-1991
  30. Chirot, Daniel: Modern Tyrants : the power and prevalence of evil in our age (1994)
  31. "B&J": Jacob Bercovitch and Richard Jackson, International Conflict : A Chronological Encyclopedia of Conflicts and Their Management 1945-1995 (1997) p. 195
  32. Potter, Lawrence G.; Sick, Gary (2006). Iran, Iraq and the Legacies of War. Basingstoke: Palgrave Macmillan. p. 8. ISBN 9781403976093. OCLC 70230312.
  33. Zargar, Moosa; Araghizadeh, Hassan; Soroush, Mohammad Reza; Khaji, Ali (December 2012). "Iranian casualties during the eight years of Iraq-Iran conflict" (PDF). Revista de Saúde Pública. São Paulo: Faculdade de Higiene e Saúde Pública da Universidade de São Paulo. 41 (6): 1065–1066. doi:10.1590/S0034-89102007000600025. ISSN 0034-8910. OCLC 4645489824. สืบค้นเมื่อ 2 November 2013.
  34. Hiro, Dilip (1991). The Longest War: The Iran–Iraq Military Conflict. New York: Routledge. p. 251. ISBN 9780415904063. OCLC 22347651.
  35. Rumel, Rudolph. "Centi-Kilo Murdering States: Estimates, Sources, and Calculations". Power Kills. University of Hawai'i.
  36. Karsh, Efraim (2002). The Iran–Iraq War, 1980-1988. Oxford: Osprey Publishing. p. 89. ISBN 9781841763712. OCLC 48783766.
  37. Koch, Christian; Long, David E. (1997). Gulf Security in the Twenty-First Century. Abu Dhabi: Emirates Center for Strategic Studies and Research. p. 29. ISBN 9781860643163. OCLC 39035954.
  38. Ian Black. "Iran and Iraq remember war that cost more than a million lives". the Guardian.
  39. Rumel, Rudolph. "Lesser Murdering States, Quasi-States, and Groups: Estimates, Sources, and Calculations". Power Kills. University of Hawai'i.
  40. Sinan, Omar (25 June 2007). "Iraq to hang 'Chemical Ali'". Tampa Bay Times. Associated Press.
  41. Farrokh, Kaveh. Iran at War: 1500–1988. Oxford: Osprey Publishing. ISBN 9781780962214.
  42. Molavi, Afshin (2005). The Soul of Iran: A Nation's Journey to Freedom (Revised ed.). England: W. W. Norton & Company. p. 152. ISBN 978-0-393-32597-3.
  43. Fathi, Nazila (14 March 2003). "Threats And Responses: Briefly Noted; Iran-Iraq Prisoner Deal". The New York Times.
  44. "IRAQ vii. IRAN–IRAQ WAR". Encyclopædia Iranica. 15 December 2006.
  45. Hiltermann, Joost (17 January 2003). "America Didn't Seem to Mind Poison Gas". Global Policy Forum.
  46. King, John (31 March 2003). "Arming Iraq and the Path to War". U.N. Observer & International Report.
  47. "Iran-Iraq War 1980–1988". History of Iran. Iran Chamber Society.
  48. Karsh, Efraim (25 April 2002). The Iran–Iraq War: 1980–1988. Osprey Publishing. pp. 1–8, 12–16, 19–82. ISBN 978-1-84176-371-2.
  49. Farmanfarmaian, Roxane (14 February 2011). "What makes a revolution succeed?". Al Jazeera.
  50. "National Security". Pars Times.
  51. Pollack, Kenneth M. (2004). "Iraq". Arabs at War: Military Effectiveness, 1948–1991. Lincoln: University of Nebraska Press. ISBN 978-0-8032-8783-9.

ดูเพิ่ม

สงครามอ, หร, าน, บทความน, างอ, งคร, สต, กราช, คร, สต, ทศวรรษ, คร, สต, ศตวรรษ, งเป, นสาระสำค, ญของเน, อหา, งกฤษ, iran, iraq, เป, นความข, ดแย, งระหว, างประเทศอ, หร, านและประเทศอ, งเร, มต, งแต, เด, อนก, นยายน, 1980, งส, งหาคม, 1988, การประเม, นว, าสงครามคร, งน, ส. bthkhwamnixangxingkhristskrach khristthswrrs khriststwrrs sungepnsarasakhykhxngenuxha sngkhramxirk xihran xngkvs Iran Iraq War epnkhwamkhdaeyngrahwangpraethsxihranaelapraethsxirk sungerimtngaeteduxnknyayn 1980 thungsinghakhm 1988 mikarpraeminwasngkhramkhrngnisrangkhwamesiyhaythangesrsthkicrwmknkwa 1 2 lanlandxllarshrth 30 6 lanlanbath sngkhramxirk xihranepnswnhnungkhxng khwamkhdaeynginxawepxresiythharedkchawxihranthukpracakarepnkxnghna rangkhxngthharxihranthithuksngharodythharxirk bnkhwa karxppangkhxngeruxrb USS Stark sungthukocmtiodykhipnawuthxirkodykhwamekhaicphid kxngkalngmucahidinxihranthuksngharodykxngthphxihran klangkhwa echlysngkhramxirk punihytxsuxakasyan ZU 23 2 thukichnganodykxngthphxihran langkhwa wnthi 22 knyayn kh s 1980 20 singhakhm kh s 1988 7 years 10 months 4 weeks and 1 day sthanthi chayaednxihran xirkphllphth exachnaknimid xirkimsamarthphnwkdinaednthangtawnxxkkhxngaemnachttulxarxb aelaimsamarthhnunkhbwnkaraebngaeykdinaednincnghwdkhuessthankhxngxihranidxiktxip xihranimsamarthokhnsddm husesnlngid aelaimsamarththalayaesnyanuphaphthangthharkhxngxirkid thngsxngfayyxmrbmtikhnamntrikhwammnkhngaehngshprachachatithi 598 thiihthngsxngfayhyudyingodythnthi xirkepnhnimhasalkwa 130 phnlandxllartxchatiphnthmitrxahrbkhukhdaeyng xihran phrrkhprachathipityekhxrdisthan shphaphpituphumiekhxrdisthanphusnbsnun xisraexl cnthungpi 1985 1 sieriy 2 ekahliehnux 3 xirk mucahidinprachachnxihranphusnbsnun shphaphosewiyt 4 5 frngess 6 7 katar 8 9 shrth 10 11 shrachxanackr 12 khuewt 13 cxraedn 14 saxudixaraebiy cin shrthxahrbexmiertsphubychakarhruxphunaruhullxh okhmyni phunasungsudxihran xabul hasn banisadr prathanathibdixihran sddm husesn prathanathibdixirk kxngthphkxngthphsatharnrthxislamxihran kxngthphaehngchati kxngthphbk kxngthphxakas kxngthpherux hnwypxngknphythangxakas krmkarbinkxngthphbk kxngphithkskarptiwti Ground Force Aerospace Force Navy kxngkalngokds Gendarmerie Shahrbani Basij Irregular Warfare HeadquartersPeshmerga kxngthphxirk kxngthphbk kxngthpherux kxngthphxakas hnwypxngknphythangxakas hnwybinkxngthphbk Republican Guard Popular ArmyNational Defense Battalions People s Mujahedin of Irankalngchwngtnsngkhram 15 thhar 110 000 150 000 nay 1 700 2 100 rththng 16 ichnganid 500 17 1 000 rthhumekraa300 punihythiichid 18 320 ekhruxngbinthingraebid ichnganid 100 750 ehlikhxpetxrhlngxirkthxnkalngcakxihraninpi 1982 thhar 350 000700 rththng2 700 rthhumekraa400 punihy 350 ekhruxngbinrb 700 ehlikhxpetxrchwngtnpi 1988 19 thhar 600 000 nay1 000 rththng800 rthhumekraa600 punihyhnk60 80 ekhruxngbinrb thingraebid 70 90 ehlikhxpetxr chwngtnsngkhram 20 thhar 200 000 nay2 800 rththng4 000 APCs 1 400 punihy380 ekhruxngbinrb thingraebid350 ehlikhxpetxrhlngxirkthxnkalngcakxihraninpi 1982 thhar 175 000 nay1 200 rththng2 300 rthhumekraa400 punihy450 ekhruxngbinrb180 ehlikhxpetxremuxsngkhramsinsud thhar 1 500 000 nay 21 5 000 rththng8 500 10 000 APCs 6 000 12 000 punihy900 ekhruxngbinrb thingraebid1 000 ehlikhxpetxrkalngphlsuyesiy123 220 160 000 tayinhnathi aela 60 711 suyhayinhnathi khaxangkhxngxihran 22 23 200 000 600 000 tay pramankarodythixun 22 24 25 26 27 28 29 30 31 800 000 tay khaxangkhxngxirk 22 40 000 42 875 echlysngkhram 32 33 11 000 16 000 phleruxntay 22 23 esrsthkicesiyhaymulkha US 627 phnlan 24 34 105 000 375 000 tayinhnathi 32 34 35 36 37 250 000 500 000 tay pramankarodythixun 38 70 000 echlysngkhram 25 36 esrsthkicesiyhaymulkha 561 phnlan 24 34 phleruxnkhxngthngsxngfay taymakkwa 100 000 khn 39 imrwmphleruxnthitayinptibtikarxlxlfalxikraw 50 000 100 000 khn 40 sngkhramxirk xihran 22 knyayn 1980 etharan sngkhramxirk xihranerimkhunemuxxirkthakarrukranxihraninwnthi 22 knyayn 1980 xnenuxngmacakkhxphiphaththangchayaednthidaeninmaxyangyawnan hlngkarptiwtixihraninpi 1979 ruhullxh okhmyni idkhunepnphunasungsudkhxngxihranaelaprakastnepnphunaxislamnikaychixah thaihmuslimchixahxnepnkhnswnmakinxirkkhunmakxclacltxtankarpkkhrxngkhxngrthbalnikaysunni khnaediywkn xirkkmikhwamphyayamcakhunmamixiththiphlkhrxbngaphumiphakhxawepxresiyaethnthixihran aemwaxirkcaichoxkasthixihrankalngwunwayniekhaocmtixihranodyimprakaskxn aetekhayudkhrxngyngidimmakkthukotklbxyangrwderw xihransamarthchingdinaednthisuyesiyipthnghmdkhunmaidphayineduxnmithunayn 1982 aelatlxdhkpicakni xihrankklayepnfayrukilekhaipindinaednxirkaemkhnamntrikhwammnkhngaehngshprachachatiidrxngihmikarhyudyingnbsib khrng aetkarsurbkdaeninipcnthungwnthi 20 singhakhm 1988 aelasinsudlngxyangepnthangkartammtikhnamntrikhwammnkhngaehngshprachachatithi 598 thithngsxngfayyxmrbkhakhxhyudying sungphayhlngkhxsrupni kxngthphxihrantxngichewlahlayspdahinkarthxnkalngxxkcakdinaednxirkodyyudexahlkekhtaednkxnsngkhram 41 echlysngkhramkhnsudthaykhxngsngkhramnithuksngtwklbpraethstninpi 2003 42 43 sngkhramkhrngnithaihmiphuesiychiwitrwmknkwahnunglankhnaetklbimmifayididhruxsuyesiydinaednely sngkhramkhrngnithuknaipepriybethiybkbsngkhramolkkhrngthihnunginaengkhxngklyuthth thngkarichaethnpunkl karocmtiaebbkhlunmnusy karichxawuthekhmicanwnmakodykxngthphxirk praethsxislamcanwnmakxyufayediywkbchatitawntkinsngkhramkhrngni nnkhuxkarsnbsnunxirkodykarihenginku yuthothpkrn aelaphaphthaydawethiyminchwngthixirkocmtixihran sunginrahwangsngkhram mikarwicarncaksuxwa prachakhmolktangphaknengiybkribtxnxirkichxawuthxanuphaphthalaylangsungtxxihranaelachawekhird 44 45 46 aelakwakhnamntrikhwammnkhngyuexncaprakasihxirkepnphukxsngkhramklwngelyipthungwnthi 11 thnwakhm 1991 sibsxngpiihhlngcakthixirkthakarrukranxihran aelaepnewlasibhkeduxnhlngxirkrukrankhuewt sungbanplayepnsngkhramxaw enuxha 1 ebuxnghlng 1 1 khwamkhdaeyngxirk xihran 1 2 cudyunkhxngshrthxemrika 2 khwamphrxmkhxngxirk 3 khwamphrxmkhxngxihran 4 xangxing 5 duephimebuxnghlng aekikhkhwamkhdaeyngxirk xihran aekikh xihranaelaxirkmikhwamkhdaeyngkncakpyhaechuxchati prachakrswnihykhxngxirkmiechuxsayxahrbichphasaxarbik inkhnathiswnnxymiechuxsayepxresiyichphasaepxresiy khnechuxsayepxresiyinxirkmisthanaepnrxngechuxsayxahrbxyuesmxaelamkthukkdkhiodykhnechuxxahrb thaihchawxirkechuxsayepxresiyehlaniekidkhwamkhbaekhnictxchawxirkechuxsayxahrb pyhaechnniekidinxihranechnkn prachakrkhxngxihranmiechuxsayepxresiykbxahrbxyanglakhrung aetchnchnpkkhrxnginxihranekuxbthnghmdepnechuxsayepxresiy channinxihranexngkmikhwamimphxickhxngkhnechuxsayxahrbtxkhnechuxsayepxresiykhnxihranechuxsayxahrbswnihycaxasyxyuthangtawntkkhxngpraethsincnghwdkhuessthantidkbphrmaednxirk sungcnghwdkhuessthanniepnaehlngnamnthisakhythisudkhxngxihran khnaediywkn xirkkphyayamxangxyuesmxwacnghwddngklawepndinaednkhxngxirk thungkbtngchuxihwa cnghwdxraebaesn thharkhxngsxngpraethsmkmikarpathaknyxm xyuesmxincnghwdninxkcakniyngmipyhachnklumnxythieriykwa chawekhird epnchnklumnxyechuxsayxaryn immipraethsepnkhxngtnexngaetxasyxyuinphunthikhxngxirk xihran turki aelashphaphosewiyt chawekhirdiddaeninkickrrmthangkaremuxngephuxnaipsukarcdtngrthxisrakhxngtnexngkhuninxihran chawekhirdidkxclaclkhuninxihraninpi 1930 aelathukrthbalxihranprabpramxyangrunaerng chawekhirdcanwnmakhlbhniekhaipyngxirk karprabprabxyangrunaerngthaihchawekhirdhmdhwngthicatngrthxisrakhxngtninxihran aelatngepahmaythicatngrthxisrakhuninxirkaethn cnkrathnginpi 1969 chawekhirdinxirkklayepnpyhamakkhunemuxphraecachahaehngxihranidihkhwamchwyehluxthngdankarengin karthut aeladanxun aekchawekhirdinxirk txmainpi 1974 rthbalxirkekhapranipranxmkbrthbalxihranenuxngcakehnwakhnannxihranepnchatiaekhngaekrngaelayngepnmitrkbshrthxemrika karecrcadngklawklayepn snthisyyaaexleciyr kh s 1975 thithangxihrancayutiihkarsnbsnunaekchawekhirdaelkkbkarthixirkesiyswnhnungkhxngpakaemnachttulxarxbaekxihrancaksnthisyyadngklaw caehnidwa xihranimidmiswnaekpyhachawekhirdinxirkely aetxirkklbtxngesiydinaednswnhnungaekxihran xirkmxngwasnthisyyadngklawhakhwamepnthrrmimid cudyunkhxngshrthxemrika aekikh shrthxemrikathuxepnmitrpraethskhxngpraethsxihrankxnkarptiwti aemkrathnghlngkarptiwtixihranaelw rthbalkhxngprathanathibdikharetxr kyngkhngmxngxihranepnprakarephuxtxtanxirkaelashphaphosewiyt shrthmikarecrcaepnhunswnthangyuththsastrkbrthbalechphaakalkhxngxihran mikarxnumtikhwamrwmmuxdankhawkrxngrahwangsxngpraethsinpi 1979 thngshrthaelaxihran aetkhwamsmphnthrahwangshrth xihran khadsabnlngemuxekidwikvtkarntwpraknxihran aelaxihranyngklawhashrthwaxyuebuxnghlngkarrthpraharxihraninpi 1953 shrthidtdthangkarthutepnkartxbot inkhnathibrrdaphunakhxngxihranrwmthngruhullxh okhmynitangechuxthvsdismkhbkhidthiwashrthih ifekhiyw aeksddm husesn inkarbukxihran aelayngsngsywashrthcaichxirkepnhmakinkaraekaekhneruxngwikvttwprakn tambnthukkhxngprathanathibdikharetxrexngkidrabuinidxarikhxngekhawa phwkphukxkarrayxihrankalngcathaeruxngba xyangkhatwpraknchawxemriknthaphwkekhathukbukodyxirk thiekhabxkwaepnhunechidkhxngxemrika khwamphrxmkhxngxirk aekikhxirkidwangaephnocmtixihranodyechuxmnxyangmakwacaprasbkhwamsaerc enuxngcakrthbalxihraninkhnannyngkhadesthiyrphaphaelaaetkxxkepnsxngkhwrahwangkhwxemriknkbkhwxngkvs xirkmiskyphaphinkarcdkxngphlyanekraaid 12 kxngphl aelatlxdchwngthswrrsthi 1970 sddmidesrimsrangaesnyanuphaphkhxngxirkdwyxawuthyuthothpkrnsmyihmthisudcakshrthxemrika aela shphaphosewiyt 47 nxkcakni aemnachttulxarxbkimthuxepnxupsrrkhtxkarekhluxnkalngphlkhxngxirk enuxngcakkxngthphxirkmisaphansaercrupthiprakxbidxyangrwderw xirkyngkhadkarnidxyangthuktxngwaaenwpxngknkhxngxihranbriewnaemnakharekhaelaaemnakharunnnmikalngthharimephiyngphx thaihxirksamarthkhamaemnaidodyngay karkhawkrxngkhxngxirkyngyunynxikwa kalngthharxihranincnghwdkhuessthannnmiyuthothpkrnthilahlngaelaprasiththiphaphta aelamiephiyngrththngephiynghyibmuxethannthiichnganid 47 singediywthixirkepnkngwlkkhuxkalngthangxakaskhxngxihransungmiskyphaph nnexngcungthaihphubychakarthharkhxngxirk tdsinicthicathakarocmtiaebbchabchwytxthanthphaelaokhrngsrangphunthanthangxakaskhxngxihrankxnephuxepnkarebikthangihkbkarrukranthangbk 47 khwamphrxmkhxngxihran aekikhkxngthphxihraninkhnannkalngxyuinsphaphxxnaex naythharcanwnmakthukpraharodysalptiwtixislaminchwngkarptiwtixihran kxngthphkhadxawuthyuthothpkrnaelaxaihlthiphlitodyshrth xngkvsxyangrunaerng ineduxnkumphaphnththungknyayn 1979 rthbalxihranpraharnayphlradbsungkwa 85 ray aelabngkhbnayphlkhnxunthiehnuxrwmthungehlaphubychakarkxngphlnxyiheksiynkxnkahnd 48 kxneduxnknyayn 1980 rthbalxihranpldecahnathithharkwa 12 000 nay karpldkhrngniidldskyphaphkhwamphrxmrbkhxngkxngthphxihranlngxyangrunaerng kalngthharpktikhxngxihran sungekhyidrbkaryxmrbwamikxngthphbkthithrngaesnyanuphaphthisudpraethshnungkhxngolkinpi 1978 49 xxnaexlngxyangmak xtrakarhnithharsunglibkwa 60 naythharaelankbinthksasungswnihytangliphy thukcakhuk hruxthukprahar nbepnphawasmxngihlthisngphltxskyphaphkxngthphxihranmacnthungpccubn 50 xihranyngthukkhdkhwangimihekhathungxawuthhnkxyangrththnghruxxakasyanid sungepnphlcakkaraethrngaesngodyshrthaelashrachxanackr emuxxirkerimthakarbuk mikarplxytwnkbinaelanaythharcanwnmakxxkcakkhuk hruxepliynothspraharepnsngiprbkbxirkaethn nxkcakni yngidmikareluxnkhnthharrunihmcanwnmakkhunepnnayphl thaihkxngthphxihranmikhwamepnenuxediywkbrthbalmakkhuntngaetsinsudsngkhramcwbcnpccubn 50 aemcathukaethrkaesngcakmhaxanacphaynxk aetxihrankyngkhngmirththngthiichnganidxyangnxykwa 1 000 khnrwmthungxakasyanxikhlayrxyekhruxng thaihsamarthichchinswnkhxngekhruxngthimixyuepnxaihlidxyubang 51 xangxing aekikh https en wikipedia org wiki Iran E2 80 93Israel proxy conflict Iran and Syria Jubin Goodarzi Copulsky Alex Winter 2008 Death of a Salesman Harvard Political Review 356 6370 627 Bibcode 1992Natur 356 627R doi 10 1038 356627a0 Metz Helen Chapin ed 1988 The Soviet Union Iraq a Country Study Library of Congress Country Studies Metz Helen Chapin ed 1988 Arms from The Soviet Union Iraq a Country Study Library of Congress Metz Helen Chapin ed 1988 Arms from France Iraq a Country Study Library of Congress txngkartrwcsxbkhwamthuktxng Timmerman Kenneth R Fanning the Flames Guns Greed amp Geopolitics in the Gulf War Iran Brief contribution ignored help Brief History of Qatar Heritage of Qatar subkhnemux 7 November 2012 Vatanka Alex 22 March 2012 The Odd Couple The Majalla Saudi Research and Publishing Company subkhnemux 7 November 2012 Friedman Alan Spider s Web The Secret History of How the White House Illegally Armed Iraq Bantam Books 1993 Timmerman Kenneth R 1991 The Death Lobby How the West Armed Iraq New York Houghton Mifflin Company ISBN 0 395 59305 0 http www ft com cms s 0 52add2c4 30b4 11e1 9436 00144feabdc0 html Anthony John Duke Ochsenwald William L Crystal Jill Ann Kuwait Encyclopaedia Britannica Schenker David Kenneth 2003 Dancing with Saddam The Strategic Tango of Jordanian Iraqi Relations PDF The Washington Institute for Near East Policy Lexington Books ISBN 0 7391 0649 X Pollack p 186 Farrokh Kaveh 305 2011 Pollack p 187 Farrokh Kaveh 304 2011 Pollack p 232 Pollack p 186 Pollack p 3 22 0 22 1 22 2 22 3 Hiro Dilip 1991 The Longest War The Iran Iraq Military Conflict New York Routledge p 205 ISBN 9780415904063 OCLC 22347651 23 0 23 1 Abrahamian Ervand 2008 A History of Modern Iran Cambridge U K New York Cambridge University Press pp 171 175 212 ISBN 9780521528917 OCLC 171111098 24 0 24 1 24 2 Rajaee Farhang 1997 Iranian Perspectives on the Iran Iraq War Gainesville University Press of Florida p 2 ISBN 9780813014760 OCLC 492125659 25 0 25 1 Mikaberidze Alexander 2011 Conflict and Conquest in the Islamic World A Historical Encyclopedia Santa Barbara California ABC CLIO p 418 ISBN 9781598843361 OCLC 775759780 Hammond Atlas of the 20th Century 1999 P 134 5 Dunnigan A Quick and Dirty Guide to War 1991 Dictionary of Twentieth Century World History by Jan Palmowski Oxford 1997 Clodfelter Michael Warfare and Armed Conflict A Statistical Reference to Casualty and Other Figures 1618 1991 Chirot Daniel Modern Tyrants the power and prevalence of evil in our age 1994 B amp J Jacob Bercovitch and Richard Jackson International Conflict A Chronological Encyclopedia of Conflicts and Their Management 1945 1995 1997 p 195 32 0 32 1 Potter Lawrence G Sick Gary 2006 Iran Iraq and the Legacies of War Basingstoke Palgrave Macmillan p 8 ISBN 9781403976093 OCLC 70230312 Zargar Moosa Araghizadeh Hassan Soroush Mohammad Reza Khaji Ali December 2012 Iranian casualties during the eight years of Iraq Iran conflict PDF Revista de Saude Publica Sao Paulo Faculdade de Higiene e Saude Publica da Universidade de Sao Paulo 41 6 1065 1066 doi 10 1590 S0034 89102007000600025 ISSN 0034 8910 OCLC 4645489824 subkhnemux 2 November 2013 34 0 34 1 34 2 Hiro Dilip 1991 The Longest War The Iran Iraq Military Conflict New York Routledge p 251 ISBN 9780415904063 OCLC 22347651 Rumel Rudolph Centi Kilo Murdering States Estimates Sources and Calculations Power Kills University of Hawai i 36 0 36 1 Karsh Efraim 2002 The Iran Iraq War 1980 1988 Oxford Osprey Publishing p 89 ISBN 9781841763712 OCLC 48783766 Koch Christian Long David E 1997 Gulf Security in the Twenty First Century Abu Dhabi Emirates Center for Strategic Studies and Research p 29 ISBN 9781860643163 OCLC 39035954 Ian Black Iran and Iraq remember war that cost more than a million lives the Guardian Rumel Rudolph Lesser Murdering States Quasi States and Groups Estimates Sources and Calculations Power Kills University of Hawai i Sinan Omar 25 June 2007 Iraq to hang Chemical Ali Tampa Bay Times Associated Press Farrokh Kaveh Iran at War 1500 1988 Oxford Osprey Publishing ISBN 9781780962214 Molavi Afshin 2005 The Soul of Iran A Nation s Journey to Freedom Revised ed England W W Norton amp Company p 152 ISBN 978 0 393 32597 3 Fathi Nazila 14 March 2003 Threats And Responses Briefly Noted Iran Iraq Prisoner Deal The New York Times IRAQ vii IRAN IRAQ WAR Encyclopaedia Iranica 15 December 2006 Hiltermann Joost 17 January 2003 America Didn t Seem to Mind Poison Gas Global Policy Forum King John 31 March 2003 Arming Iraq and the Path to War U N Observer amp International Report 47 0 47 1 47 2 Iran Iraq War 1980 1988 History of Iran Iran Chamber Society Karsh Efraim 25 April 2002 The Iran Iraq War 1980 1988 Osprey Publishing pp 1 8 12 16 19 82 ISBN 978 1 84176 371 2 Farmanfarmaian Roxane 14 February 2011 What makes a revolution succeed Al Jazeera 50 0 50 1 National Security Pars Times Pollack Kenneth M 2004 Iraq Arabs at War Military Effectiveness 1948 1991 Lincoln University of Nebraska Press ISBN 978 0 8032 8783 9 duephim aekikhkhxmmxns miphaphaelasuxekiywkb sngkhramxirk xihransngkhramxawepxresiy sngkhramxirk karsnbsnunxirkkhxngosewiytinsngkhramxirk xihran bthkhwamekiywkbthhar karthhar hruxxawuthniyngepnokhrng khunsamarthchwywikiphiediyidodyephimkhxmul duephimthi sthaniyxy karthharekhathungcak https th wikipedia org w index php title sngkhramxirk xihran amp oldid 9528530, wikipedia, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด,

บทความ

, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม