fbpx
วิกิพีเดีย

ภาษาเขมรถิ่นไทย

ภาษาเขมรถิ่นไทย บ้างเรียก ภาษาเขมรเหนือ หรือ ภาษาเขมรสุรินทร์ เป็นภาษาย่อยของภาษาเขมร พูดโดยชาวไทยเชื้อสายเขมรในประเทศไทยที่อยู่ในจังหวัดสุรินทร์ บุรีรัมย์ นครราชสีมา ศรีสะเกษ อุบลราชธานี และร้อยเอ็ด รวมทั้งที่อพยพไปสู่ประเทศกัมพูชา โดยจังหวัดสุรินทร์มีผู้พูดภาษาเขมรถิ่นไทยมากที่สุด คิดเป็นร้อยละ 60 ของประชากรทั้งหมดในจังหวัด หรือประมาณ 8 แสนคน

ภาษาเขมรถิ่นไทย
ภาษาเขมรเหนือ, ภาษาเขมรสุรินทร์
พซาคแมร
ออกเสียง/pʰᵊsaː.kʰᵊmɛːr/
ประเทศที่มีการพูดประเทศไทย, ประเทศกัมพูชา
ชาติพันธุ์ไทยเชื้อสายเขมร
จำนวนผู้พูด1.4 ล้านคน ซึ่งคนพูดเพียงภาษาเดียวมีไม่มาก  (2006)
ตระกูลภาษา
ออสโตรเอเชียติก
ระบบการเขียนมาตรฐานกำหนดให้ใช้อักษรไทย
สถานภาพทางการ
ภาษาชนกลุ่มน้อยที่รับรองในประเทศไทย
ผู้วางระเบียบราชบัณฑิตยสภา
รหัสภาษา
ISO 639-3kxm

ภาษาเขมรถิ่นไทยต่างจากภาษาเขมรสำเนียงพนมเปญซึ่งเป็นสำเนียงมาตรฐาน ในด้านจำนวนและความต่างของหน่วยเสียงสระ การใช้พยัญชนะ รากศัพท์ และไวยากรณ์ ทำให้แยกสำเนียงเขมรถิ่นไทยออกจากสำเนียงอื่น ๆ ได้ง่าย ผู้พูดภาษาเขมรถิ่นไทยจะเข้าใจภาษาเขมรทุกสำเนียง แต่ผู้พูดสำเนียงพนมเปญจะมีปัญหาในการทำความเข้าใจภาษาเขมรถิ่นไทย ทำให้นักภาษาศาสตร์บางคนแยกภาษาเขมรถิ่นไทยออกเป็นภาษาใหม่ต่างหากจากภาษาเขมร โดยถือเป็นภาษาใกล้เคียงกัน

สัทวิทยา

พยัญชนะ

หน่วยเสียงพยัญชนะภาษาเขมรถิ่นไทย
ประเภทเสียง ตำแหน่งเกิดเสียง
ริมฝีปาก ริมฝีปาก
กับฟัน
ปุ่มเหงือก เพดานแข็ง เพดานอ่อน เส้นเสียง
เสียงนาสิก m n ɲ ŋ
เสียงหยุด ไม่ก้อง ไม่พ่นลม p t c k ʔ
พ่นลม
ก้อง b d
เสียงเสียดแทรก f s h
เสียงลิ้นรัว r
เสียงข้างลิ้น l
เสียงกึ่งสระ w j


  • หน่วยเสียงที่เป็นได้ทั้งพยัญชนะต้นและพยัญชนะท้ายมี 14 หน่วยเสียง ได้แก่ /m/, /n/, /ɲ/, /ŋ/, /p/, /t/, /c/, /k/, /ʔ/, /h/, /r/, /l/, /w/ และ /j/
  • หน่วยเสียง /k/ ในตำแหน่งท้ายพยางค์มีหน่วยเสียงย่อย 2 เสียง คือ [k] และ [ʔ] เช่น /tɨk/ 'น้ำ' อาจออกเสียงเป็น [tɨk] หรือ [tɨʔ]
  • หน่วยเสียง /c/ และ /cʰ/ ในบางตำรากล่าวว่าเป็นหน่วยเสียง /t͡ɕ/ และ /t͡ɕʰ/
  • หน่วยเสียง /f/ เป็นหน่วยเสียงที่ยืมมาจากภาษาไทยมาตรฐาน
  • กลุ่มพยัญชนะที่มีตัวแรกเป็นเสียงนาสิกและตัวถัดมาเป็นพยัญชนะที่เกิดจากฐานเดียวกัน พยัญชนะตัวแรกนั้นอาจกลายเป็นพยัญชนะท้ายของ /ʔa/ หรืออาจกลายเป็นพยางค์นาสิก /m̩/, /n̩/, /ɲ̍/, /ŋ̍/

สระ

สระเดี่ยว

หน่วยเสียงสระเดี่ยวภาษาเขมรถิ่นไทย
ประเภท สระหน้า สระกลาง สระหลัง
สระสูง i, iː ɨ, ɨː u, uː
สระกึ่งสูง ɪ, ɪː ɤ, ɤː ʊ, ʊː
สระกลาง e, eː ə, əː o, oː
สระกึ่งต่ำ ɛ, ɛː ʌ, ʌː ɔ, ɔː
สระต่ำ a, aː ɒ, ɒː

สระประสม

หน่วยเสียงสระประสมภาษาเขมรถิ่นไทยมี 6 หน่วยเสียง ได้แก่ /iə/, /iːə/, /ɨə/, /ɨːə/, /uə/ และ /uːə/ โดยหน่วยเสียง /ɨːə/ จะปรากฏเฉพาะในคำยืมภาษาไทย เช่น /kɨːək/ 'รองเท้า'

ไวยากรณ์

ลำดับคำในภาษาเขมรถิ่นไทยมักจะเป็น ประธาน-กริยา-กรรม ประกอบด้วยคำเดี่ยวเป็นหลัก แต่อาจจะมีสลับกันบ้าง เป็น ประธาน-กรรม-กริยา, กรรม-กริยา เสียงพยัญชนะท้าย (ตัวสะกด) มีเสียงบางเสียงที่ออกเสียงแตกต่างจากภาษาไทย เป็นเสียงที่ออกนาสิก เพิ่มจากปกติอีก 3 ตัว คือ จ, ญ, ฮ เช่น ตูจ /เล็ก/, เป็ญ /เต็ม/ , จัฮ /แก่/ ตัว ร เมื่อเป็นตัวสะกด ต้องออกเสียงรัวลิ้นด้วย เช่น การ, ตัว ล เมื่อเป็นตัวสะกด ต้องออกเสียงกระดกลิ้น คลายตัว L ในภาษาอังกฤษ เช่น กบาล (หัว),

ระบบการเขียน

นักภาษาศาสตร์ได้คิดค้นระบบการเขียนภาษาเขมรถิ่นไทยด้วยตัวอักษรไทยหลายระบบ โดยมีทั้งระบบของมหาวิทยาลัยมหิดล มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ท้ายที่สุดมีระบบราชบัณฑิตยสถาน ซึ่งดัดแปลงจากระบบก่อน ๆ เป็นมาตรฐานโดยปริยาย

ตัวเขียนภาษาเขมรถิ่นไทยอักษรไทยตามที่คณะกรรมการจัดทำระบบเขียนภาษาท้องถิ่นของกลุ่มชาติพันธุ์ด้วยอักษรไทย ราชบัณฑิตยสถาน (ปัจจุบันคือสำนักงานราชบัณฑิตยสภา) ได้กำหนดไว้ มีดังนี้

พยัญชนะ
อักษรไทย เสียง ตัวอย่างคำ ความหมาย
/k/ กฺู วัว
จรู หมู
/kʰ/ กางเกง
/ŋ/ ทไ พระอาทิตย์
ชนั หม้อ
/c/ กล้วย
กโร ส้ม
/cʰ/ ไม้
/s/ ซ็ ม้า
/ɲ/ ญียด ญาติ
พลฺี ฝน
/d/ มะพร้าว
/t/ (เมื่อเป็นพยัญชนะท้าย) ตฺี อีก
/t/ (เมื่อเป็นพยัญชนะต้น) ตี เป็ด
/tʰ/ ท็อฺง ถุง
/n/ นฺิ เต่า
จเรฺิ มาก
/b/ าย ข้าวสุก
/p/ (เมื่อเป็นพยัญชนะท้าย) โฮ รับประทาน
/p/ (เมื่อเป็นพยัญชนะต้น) ป็วฮ งู
/pʰ/ อฺะ ดื่ม
/f/ ฟฟ ไฟฟ้า
/m/ มื็อน ไก่
กม หญิงสาว
/j/ ยียะ ยักษ์
คเนฺิ หมอน
/r/ เต็ฮ เกวียน
ซกว กลอง
/l/ ลฺู พระสงฆ์
กบา หัว
/w/ วื็อด วัด (นาม)
เล กระดุม
/ʔ/ (เมื่อเป็นพยัญชนะต้น) าว เสื้อ
/h/ ฮี อึ่งอ่าง
จแร็ สนิม
ไม่มีรูป /ʔ/ (เมื่อเป็นพยัญชนะท้าย) บะ หัก
สระ
อักษรไทย เสียง ตัวอย่างคำ ความหมาย
–ะ /a/ (เมื่อไม่มีพยัญชนะท้าย
และอยู่ในคำหลายพยางค์
หรือเมื่อมีพยัญชนะท้ายเป็น /ʔ/)
ปเริ็ฮ ยั้งดง (พืช)
มะกอกบก
–ั /a/ (เมื่อมีพยัญชนะท้าย
ที่ไม่ใช่ /ʔ/, /m/, /j/, /w/)
อักั ขี้เหล็ก
–า /aː/ อันซ กระต่าย
–ิ /i/ ติ ซื้อ
–ี /iː/ ปี สอง
–ฺิ /ɪ/ ปฺิ เต็ม
–ฺี /ɪː/ มฺี แมว
–ึ /ɨ/ รึ เช้า
–ือ /ɨː/ ปือ มะเฟือง
–ฺึ /ɤ/ รฺึ จักจั่น
–ฺือ /ɤː/ (เมื่อไม่มีพยัญชนะท้าย) ปฺือ จระเข้
–ฺื /ɤː/ (เมื่อมีพยัญชนะท้าย) กำพลฺื ปืน
–ุ /u/ มุ ก่อน, สิว
–ู /uː/ ปู อา, น้า (ชาย)
–ฺุ /ʊ/ ยฺุ กลางคืน
–ฺู /ʊː/ ซฺูนกรฺู สวนครัว
เ–ะ /e/ (เมื่อมีพยัญชนะท้ายเป็น /ʔ/) ติ
เ–็ /e/ (เมื่อมีพยัญชนะท้ายอื่น) อำเม็ เกลือ
เ– /eː/ วง ซ้าย
แ–ะ /ɛ/ (เมื่อมีพยัญชนะท้ายเป็น /ʔ/) สนุกสนาน
แ–็ /ɛ/ (เมื่อมีพยัญชนะท้ายอื่น) แร็ ปลา
แ– /ɛː/ พระจันทร์
โ–ะ /o/ (เมื่อมีพยัญชนะท้ายเป็น /ʔ/) เกราะ (เครื่องตี)
โ–็ /o/ (เมื่อมีพยัญชนะท้ายเป็น /h/) โล็ บวมเป่ง
โ–ะ (ลดรูป) /o/ (เมื่อมีพยัญชนะท้ายอื่น) คลย ขลุ่ย
โ– /oː/ จล เข้า
สระ
อักษรไทย เสียง ตัวอย่างคำ ความหมาย
เ–าะ /ɔ/ (เมื่อมีพยัญชนะท้ายเป็น /ʔ/) าะ หมู่บ้าน
–็อ /ɔ/ (เมื่อมีพยัญชนะท้ายอื่น) น็อ ขนุน
–อ /ɔː/ บร ขี้เหร่
เ–ฺาะ /ɒ/ (เมื่อมีพยัญชนะท้ายเป็น /ʔ/) เตฺาะแก ตุ๊กแก
–็อฺ /ɒ/ (เมื่อมีพยัญชนะท้ายอื่น) ร็อฺ มะเขือ
–อฺ /ɒː/ ซันลอฺ แกง
เ–อะ /ə/ (เมื่อมีพยัญชนะท้ายเป็น /ʔ/) อะ บ้า ๆ บอ ๆ
เ–ิ็ /ə/ (เมื่อมีพยัญชนะท้ายอื่น) เซิ็ คุ้นเคย
เ–อ /əː/ (เมื่อไม่มีพยัญชนะท้าย) ไม้
เ–ิ /əː/ (เมื่อมีพยัญชนะท้าย) เคิ เห็น
เ–อฺะ /ʌ/ (เมื่อมีพยัญชนะท้ายเป็น /ʔ/) อฺะ แตงโม
เ–ฺิ็ /ʌ/ (เมื่อมีพยัญชนะท้ายอื่น) เรฺิ็ ข้าวเปลือก
เ–อฺ /ʌː/ (เมื่อไม่มีพยัญชนะท้าย) อฺ เพื่อนเกลอ
เ–ฺิ /ʌː/ (เมื่อมีพยัญชนะท้าย) เฮฺิ บิน
เ–ียะ /iə/ (เมื่อมีพยัญชนะท้ายเป็น /ʔ/) เลียะ ตก
เ–ี็ย /iə/ (เมื่อมีพยัญชนะท้ายอื่น) เรี็ย แล้ง
เ–ีย /iːə/ เลีย ละลาย
เ–ื็อ /ɨə/ เมื็อ ปาก
เ–ือ /ɨːə/ ซำเปือ มะหาด (พืช)
–ัวะ /uə/ (เมื่อมีพยัญชนะท้ายเป็น /ʔ/) ติญกัวะ คางคก
–็ว– /uə/ (เมื่อมีพยัญชนะท้ายอื่น) ปะกร็ว พิจารณา
–ัว /uːə/ (เมื่อไม่มีพยัญชนะท้าย) ปันรัว ตะคร้อ (พืช)
–ว– /uːə/ (เมื่อมีพยัญชนะท้าย) ไข่
–ํา /am/ อันจรำ สับ
ไ– /aj/ มือ
เ–า /aw/ กาเหว่า
  • ภาษาเขมรถิ่นไทยไม่มีหน่วยเสียงวรรณยุกต์ ในการเขียนเป็นอักษรไทยจึงเลือกใช้พยัญชนะไทยที่เป็นอักษรกลางและอักษรต่ำเท่านั้น ไม่ใช้อักษรสูงเพราะจะมีเสียงวรรณยุกต์จัตวาเข้ามาเกี่ยวข้อง
  • หน่วยเสียง /t/ และ /p/ มีรูปพยัญชนะต้นและพยัญชนะท้ายแตกต่างกันดังที่แสดงในตาราง โดยการใช้พยัญชนะเสียงก้องมาแทนพยัญชนะท้ายเสียงไม่ก้องนั้นนำแบบอย่างมาจากภาษาไทย
  • หน่วยเสียง /ʔ/ เมื่อเป็นพยัญชนะท้ายจะไม่มีรูปเขียน แต่ให้แสดงด้วยสระเสียงสั้นที่ไม่มีตัวสะกด
  • คำบางคำที่มีพยัญชนะต้น 2 ตัวเรียงกัน บางครั้งอาจออกเสียงสระแทรกกลาง (แสดงด้วย /ᵊ/ หรือ /a/) และบางครั้งอาจออกเสียงคล้ายพยัญชนะควบ ให้เขียนตามแบบคำที่มีพยัญชนะต้นควบ เช่น ซดํ ('ขวา'), ซอ็อฺบ ('เกลียดชัง'), ต็ ('เกวียน')
  • เสียงสระที่ไม่มีในภาษาไทยจะเขียนแทนด้วยรูปสระไทยที่ออกเสียงใกล้เคียงกันและใช้เครื่องหมายพินทุ ( ฺ) กำกับ เพื่อแสดงเสียงที่ต่างออกไป หากเป็นรูปสระที่ไม่มี อ ประกอบ ให้ใส่พินทุกำกับใต้พยัญชนะต้น เช่น เบฺิ ('เปิด') หากเป็นรูปสระที่มี อ ประกอบ ให้ใส่พินทุกำกับใต้ อ เช่น อฺ ('ขาว') ยกเว้นสระ –ือ ให้ใส่พินทุกำกับใต้พยัญชนะต้น เช่น ลฺื ('บน') เพราะ อ ในกรณีนี้ไม่ถือว่าเป็นส่วนหนึ่งของรูปสระอย่างแท้จริง
  • รูปสระที่ซ้อนกันหลายตัวตามแนวดิ่ง ในการพิมพ์ทางคอมพิวเตอร์ให้พิมพ์จากล่างขึ้นบน เช่น สระ /ʌ/ ที่มีพยัญชนะท้าย กดพยัญชนะต้น กดพินทุ ตามด้วย –ิ แล้วตามด้วยไม้ไต่คู้

อ้างอิง

  1. William J. Frawley, บ.ก. (2003). International Encyclopedia of Linguistics. 1 (2nd ed.). Oxford University Press. p. 488.
  2. องค์ บรรจุน. สยาม หลากเผ่าหลายพันธุ์. กรุงเทพฯ : มติชน, 2553, หน้า 63
  3. ราชบัณฑิตยสถาน. คู่มือระบบเขียนภาษาเขมรถิ่นไทยอักษรไทย ฉบับราชบัณฑิตยสถาน. กรุงเทพฯ : ราชบัณฑิตยสถาน, 2556, หน้า 41.
  4. ราชบัณฑิตยสถาน. คู่มือระบบเขียนภาษาเขมรถิ่นไทยอักษรไทย ฉบับราชบัณฑิตยสถาน. กรุงเทพฯ : ราชบัณฑิตยสถาน, 2556, หน้า 45.
  5. http://www.royin.go.th/?printing=คู่มือระบบเขียนภาษาเขม-2
  • Description of Khmer: Lecture by Paul Sidwell of Australian National University
  • Ethnologue Report for Norther Khmer, ISO 693-3 code kxm


ภาษาเขมรถ, นไทย, างเร, ยก, ภาษาเขมรเหน, หร, ภาษาเขมรส, นทร, เป, นภาษาย, อยของภาษาเขมร, ดโดยชาวไทยเช, อสายเขมรในประเทศไทยท, อย, ในจ, งหว, ดส, นทร, มย, นครราชส, มา, ศร, สะเกษ, บลราชธาน, และร, อยเอ, รวมท, งท, อพยพไปส, ประเทศก, มพ, ชา, โดยจ, งหว, ดส, นทร, ดมากท, ด. phasaekhmrthinithy 2 bangeriyk phasaekhmrehnux hrux phasaekhmrsurinthr epnphasayxykhxngphasaekhmr phudodychawithyechuxsayekhmrinpraethsithythixyuincnghwdsurinthr burirmy nkhrrachsima srisaeks xublrachthani aelarxyexd rwmthngthixphyphipsupraethskmphucha odycnghwdsurinthrmiphuphudphasaekhmrthinithymakthisud khidepnrxyla 60 khxngprachakrthnghmdincnghwd hruxpraman 8 aesnkhnphasaekhmrthinithyphasaekhmrehnux phasaekhmrsurinthrphsakhaemrxxkesiyng pʰᵊsaː kʰᵊmɛːr praethsthimikarphudpraethsithy praethskmphuchachatiphnthuithyechuxsayekhmrcanwnphuphud1 4 lankhn sungkhnphudephiyngphasaediywmiimmak 1 2006 trakulphasaxxsotrexechiytik mxy ekhmrmxy ekhmrtawnxxkekhmrphasaekhmrthinithyrabbkarekhiynmatrthankahndihichxksrithysthanphaphthangkarphasachnklumnxythirbrxnginpraethsithyphuwangraebiybrachbnthityspharhsphasaISO 639 3kxmphasaekhmrthinithytangcakphasaekhmrsaeniyngphnmepysungepnsaeniyngmatrthan indancanwnaelakhwamtangkhxnghnwyesiyngsra karichphyychna raksphth aelaiwyakrn thaihaeyksaeniyngekhmrthinithyxxkcaksaeniyngxun idngay phuphudphasaekhmrthinithycaekhaicphasaekhmrthuksaeniyng aetphuphudsaeniyngphnmepycamipyhainkarthakhwamekhaicphasaekhmrthinithy thaihnkphasasastrbangkhnaeykphasaekhmrthinithyxxkepnphasaihmtanghakcakphasaekhmr odythuxepnphasaiklekhiyngkn enuxha 1 sthwithya 1 1 phyychna 1 2 sra 1 2 1 sraediyw 1 2 2 sraprasm 2 iwyakrn 3 rabbkarekhiyn 4 xangxingsthwithya aekikhphyychna aekikh hnwyesiyngphyychnaphasaekhmrthinithy 3 praephthesiyng taaehnngekidesiyngrimfipak rimfipakkbfn pumehnguxk ephdanaekhng ephdanxxn esnesiyngesiyngnasik m n ɲ ŋesiynghyud imkxng imphnlm p t c k ʔphnlm pʰ tʰ cʰ kʰkxng b desiyngesiydaethrk f s hesiynglinrw resiyngkhanglin lesiyngkungsra w j hnwyesiyngthiepnidthngphyychnatnaelaphyychnathaymi 14 hnwyesiyng idaek m n ɲ ŋ p t c k ʔ h r l w aela j hnwyesiyng k intaaehnngthayphyangkhmihnwyesiyngyxy 2 esiyng khux k aela ʔ echn tɨk na xacxxkesiyngepn tɨk hrux tɨʔ hnwyesiyng c aela cʰ inbangtaraklawwaepnhnwyesiyng t ɕ aela t ɕʰ hnwyesiyng f epnhnwyesiyngthiyummacakphasaithymatrthan klumphyychnathimitwaerkepnesiyngnasikaelatwthdmaepnphyychnathiekidcakthanediywkn phyychnatwaerknnxacklayepnphyychnathaykhxng ʔa hruxxacklayepnphyangkhnasik m n ɲ ŋ sra aekikh sraediyw aekikh hnwyesiyngsraediywphasaekhmrthinithy 4 praephth srahna sraklang srahlngsrasung i iː ɨ ɨː u uːsrakungsung ɪ ɪː ɤ ɤː ʊ ʊːsraklang e eː e eː o oːsrakungta ɛ ɛː ʌ ʌː ɔ ɔːsrata a aː ɒ ɒː sraprasm aekikh hnwyesiyngsraprasmphasaekhmrthinithymi 6 hnwyesiyng 4 idaek ie iːe ɨe ɨːe ue aela uːe odyhnwyesiyng ɨːe capraktechphaainkhayumphasaithy echn kɨːek rxngetha iwyakrn aekikhswnnirxephimetimkhxmul khunsamarthchwyephimkhxmulswnniidladbkhainphasaekhmrthinithymkcaepn prathan kriya krrm prakxbdwykhaediywepnhlk aetxaccamislbknbang epn prathan krrm kriya krrm kriya esiyngphyychnathay twsakd miesiyngbangesiyngthixxkesiyngaetktangcakphasaithy epnesiyngthixxknasik ephimcakpktixik 3 tw khux c y h echn tuc elk epy etm ch aek tw r emuxepntwsakd txngxxkesiyngrwlindwy echn kar tw l emuxepntwsakd txngxxkesiyngkradklin khlaytw L inphasaxngkvs echn kbal hw rabbkarekhiyn aekikhnkphasasastridkhidkhnrabbkarekhiynphasaekhmrthinithydwytwxksrithyhlayrabb odymithngrabbkhxngmhawithyalymhidl mhawithyalyechiyngihm thaythisudmirabbrachbnthitysthan 5 sungddaeplngcakrabbkxn epnmatrthanodypriyaytwekhiynphasaekhmrthinithyxksrithytamthikhnakrrmkarcdtharabbekhiynphasathxngthinkhxngklumchatiphnthudwyxksrithy rachbnthitysthan pccubnkhuxsanknganrachbnthityspha idkahndiw midngni phyychna xksrithy esiyng twxyangkha khwamhmayk k k u wwcruk hmukh kʰ khx kangekngng ŋ thing phraxathitychnng hmxc c ecc klwykorc smch cʰ echx ims s aesh may ɲ eyiyd yatiphl iy fnd d odng maphraw t emuxepnphyychnathay t id xikt t emuxepnphyychnatn etiy epdth tʰ thx ng thungn n en ik etacer in makb b bay khawsuk p emuxepnphyychnathay ohb rbprathanp p emuxepnphyychnatn pwh nguph pʰ ephx a dumf f iffa iffam m emuxn ikkmm hyingsawy j eyiya ykskhen iy hmxnr r reth ekwiynskwr klxngl l l uk phrasngkhkbal hww w ewuxd wd nam elw kradumx ʔ emuxepnphyychnatn xaw esuxh h hiy xungxangcaerh snimimmirup ʔ emuxepnphyychnathay ba hk sra xksrithy esiyng twxyangkha khwamhmay a a emuximmiphyychnathayaelaxyuinkhahlayphyangkhhruxemuxmiphyychnathayepn ʔ paperih yngdng phuch maka makxkbk a emuxmiphyychnathaythiimich ʔ m j w xngky khiehlk a aː xnsay kratay i i tiy sux i iː pir sxng i ɪ p iy etm i ɪː m iw aemw u ɨ pruk echa ux ɨː spux maefuxng u ɤ r uy ckcn ux ɤː emuximmiphyychnathay kp ux craekh u ɤː emuxmiphyychnathay kaphl ung pun u u mun kxn siw u uː pu xa na chay u ʊ y ub klangkhun u ʊː s unkr u swnkhrwe a e emuxmiphyychnathayepn ʔ eta tie e emuxmiphyychnathayxun xaeml ekluxe eː chewng sayae a ɛ emuxmiphyychnathayepn ʔ raera snuksnanae ɛ emuxmiphyychnathayxun taery plaae ɛː aekh phracnthro a o emuxmiphyychnathayepn ʔ opa ekraa ekhruxngti o o emuxmiphyychnathayepn h lolh bwmepngo a ldrup o emuxmiphyychnathayxun khly khluyo oː ocl ekha sra xksrithy esiyng twxyangkha khwamhmaye aa ɔ emuxmiphyychnathayepn ʔ seraa hmuban x ɔ emuxmiphyychnathayxun khnxr khnun x ɔː brx khiehre aa ɒ emuxmiphyychnathayepn ʔ et aaaek tukaek x ɒ emuxmiphyychnathayxun trx b maekhux x ɒː snlx aeknge xa e emuxmiphyychnathayepn ʔ lepxa ba bx e i e emuxmiphyychnathayxun esim khunekhye x eː emuximmiphyychnathay echx ime i eː emuxmiphyychnathay ekhiy ehne x a ʌ emuxmiphyychnathayepn ʔ xelx a aetngome i ʌ emuxmiphyychnathayxun ser iw khawepluxke x ʌː emuximmiphyychnathay kelx ephuxneklxe i ʌː emuxmiphyychnathay eh ir bine iya ie emuxmiphyychnathayepn ʔ theliya tke iy ie emuxmiphyychnathayxun eriyng aelnge iy iːe leliyy lalaye ux ɨe emuxd pake ux ɨːe saepuxr mahad phuch wa ue emuxmiphyychnathayepn ʔ tiykwa khangkhk w ue emuxmiphyychnathayxun pakrwh phicarna w uːe emuximmiphyychnathay pnrw takhrx phuch w uːe emuxmiphyychnathay pwng ikh a am xncra sbi aj id muxe a aw tewa kaehwaphasaekhmrthinithyimmihnwyesiyngwrrnyukt inkarekhiynepnxksrithycungeluxkichphyychnaithythiepnxksrklangaelaxksrtaethann imichxksrsungephraacamiesiyngwrrnyuktctwaekhamaekiywkhxng hnwyesiyng t aela p mirupphyychnatnaelaphyychnathayaetktangkndngthiaesdngintarang odykarichphyychnaesiyngkxngmaaethnphyychnathayesiyngimkxngnnnaaebbxyangmacakphasaithy hnwyesiyng ʔ emuxepnphyychnathaycaimmirupekhiyn aetihaesdngdwysraesiyngsnthiimmitwsakd khabangkhathimiphyychnatn 2 tweriyngkn bangkhrngxacxxkesiyngsraaethrkklang aesdngdwy ᵊ hrux a aelabangkhrngxacxxkesiyngkhlayphyychnakhwb ihekhiyntamaebbkhathimiphyychnatnkhwb echn sda khwa sxx b ekliydchng reth ekwiyn esiyngsrathiimmiinphasaithycaekhiynaethndwyrupsraithythixxkesiyngiklekhiyngknaelaichekhruxnghmayphinthu kakb ephuxaesdngesiyngthitangxxkip hakepnrupsrathiimmi x prakxb ihisphinthukakbitphyychnatn echn eb ik epid hakepnrupsrathimi x prakxb ihisphinthukakbit x echn sx khaw ykewnsra ux ihisphinthukakbitphyychnatn echn l ux bn ephraa x inkrniniimthuxwaepnswnhnungkhxngrupsraxyangaethcring rupsrathisxnknhlaytwtamaenwding inkarphimphthangkhxmphiwetxrihphimphcaklangkhunbn echn sra ʌ thimiphyychnathay kdphyychnatn kdphinthu tamdwy i aelwtamdwyimitkhuxangxing aekikh William J Frawley b k 2003 International Encyclopedia of Linguistics 1 2nd ed Oxford University Press p 488 xngkh brrcun syam hlakephahlayphnthu krungethph mtichn 2553 hna 63 rachbnthitysthan khumuxrabbekhiynphasaekhmrthinithyxksrithy chbbrachbnthitysthan krungethph rachbnthitysthan 2556 hna 41 4 0 4 1 rachbnthitysthan khumuxrabbekhiynphasaekhmrthinithyxksrithy chbbrachbnthitysthan krungethph rachbnthitysthan 2556 hna 45 http www royin go th printing khumuxrabbekhiynphasaekhm 2 Description of Khmer Lecture by Paul Sidwell of Australian National University Ethnologue Report for Norther Khmer ISO 693 3 code kxmekhathungcak https th wikipedia org w index php title phasaekhmrthinithy amp oldid 9539892, wikipedia, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด,

บทความ

, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม