fbpx
วิกิพีเดีย

รากที่ n

สำหรับความหมายอื่น ดูที่ รูต

ในทางคณิตศาสตร์ รากที่ n ของจำนวน x คือจำนวน r ที่ซึ่งเมื่อยกกำลัง n แล้วจะเท่ากับ x นั่นคือ

ตัวแปร n คือจำนวนที่ใส่เข้าไปเป็นดีกรีของราก โดยทั่วไปรากของดีกรี n จะเรียกว่ารากที่ n เช่นรากของดีกรีสองเรียกว่ารากที่สอง รากของดีกรีสามเรียกว่ารากที่สาม เป็นอาทิ

ตัวอย่างเช่น

  • 2 คือรากที่สองของ 4 เนื่องจาก 22 = 4
  • −2 ก็คือรากที่สองของ 4 เช่นกันเนื่องจาก (−2)2 = 4

รากที่ n ของจำนวนหนึ่งอาจมีหลายคำตอบก็ได้และไม่จำเป็นต้องเป็นจำนวนจริง

รากเหล่านี้โดยปกติเขียนแทนด้วยเครื่องหมายกรณฑ์ ซึ่งมีลักษณะดังนี้ โดยส่วนบนจะยาวคลุมตัวถูกดำเนินการโดยตลอด (เสมือนเป็นวงเล็บในตัว) รากที่สองของ x เขียนแทนด้วย รากที่สามเขียนแทนด้วย รากที่สี่เขียนแทนด้วย เช่นนี้เรื่อยไป เมื่อจำนวนหนึ่งเขียนอยู่ภายใต้กรณฑ์ มันต้องให้ค่าออกมาเพียงค่าเดียวเหมือนฟังก์ชัน ดังนั้นรากที่เป็นจำนวนจริงไม่เป็นลบ ซึ่งเรียกว่า รากที่ n มุขสำคัญ (principal n-th root) จะเป็นจำนวนที่ถูกเลือกมากกว่ารากอื่น จำนวนติดกรณฑ์ที่ไม่ได้แจงค่าหรือหาค่ามิได้ บ่อยครั้งที่ถูกเรียกว่าเสิร์ด (surd) หรือราก (radical) ไปอย่างนั้น ในภาษาไทยนิยมเรียกสั้น ๆ ว่ารูต (root)

ในแคลคูลัส รากต่าง ๆ ถือว่าเป็นกรณีพิเศษของยกกำลังซึ่งมีเลขชี้กำลังเป็นเศษส่วนดังนี้

รากต่าง ๆ มีความสำคัญโดยเฉพาะกับทฤษฎีของอนุกรมอนันต์ ซึ่งการทดสอบโดยรากเป็นตัวพิจารณารัศมีของการลู่เข้าของอนุกรมกำลัง รากที่ n อาจสามารถนิยามสำหรับจำนวนเชิงซ้อนและรากเชิงซ้อนของ 1 (รากปฐมฐาน) ซึ่งมีบทบาทสำคัญในคณิตศาสตร์ชั้นสูง ทฤษฎีกาลัวจำนวนมากที่เกี่ยวข้องกับการพิจารณาว่าจำนวนเชิงพีชคณิตสามารถเขียนแทนในรูปของกรณฑ์ได้ นำไปสู่ทฤษฎีบทอาเบล-รัฟฟินีที่ว่าพหุนามดีกรีห้าขึ้นไปโดยทั่วไปไม่สามารถหาคำตอบได้โดยใช้รากเพียงอย่างเดียว

ประวัติ

ต้นกำเนิดเกี่ยวกับเครื่องหมายกรณฑ์ (radical symbol, root symbol)   นั้นยังเป็นที่สงสัยอยู่ โดยเลออนฮาร์ด ออยเลอร์, เชื่อว่ามันมีที่มาจากอักษรตัว r, ซึ่งเป็นตัวอักษรขึ้นต้นของคำว่า radix ในภาษาลาตินอันมีความหมายเช่นเดียวกับการกระทำทางคณิตศาสตร์ที่เหมือนเดิม. ซึ่งเครื่องหมายนี้ถูกตีพิมพ์ครั้งแรกโดยไม่ปรากฏเส้นลากข้างบนในปี ค.ศ. 1525 ในหนังสือ Die Coss โดย คริสตอฟ รูดอล์ฟ นักคณิตศาสตร์ชาวเยอรมัน.

คุณสมบัติทั่วไป

  1. ค่าในกรณฑ์ต้องไม่เป็นจำนวนจริงลบจึงจะยังคงเป็นจำนวนจริง แต่หากค่าในกรณฑ์ติดลบ ถือว่าเป็นจำนวนจินตภาพ
  2. ค่าในกรณฑ์หากเป็นทศนิยมไปเรื่อยๆ อย่างเช่น   จะไม่พบตำแหน่งที่เริ่มมีการซ้ำได้
  3.  
  4.  
  5.  
  6.  
  7.  
  8.     เมื่อ  

ปฏิบัติการมูลฐาน

  • การใช้งานเครื่องหมายกรณฑ์นั้นมีดังนี้:
 
 
  ; a > 0, b > 0
  • ขณะที่ a และ b ต่างเป็นจำนวนบวก.

และทุกๆ a เป็นจำนวนเชิงซ้อนที่ไม่ใช่ศูนย์ , จะทำให้มี b เป็นจำนวนเชิงซ้อนที่แตกต่างกัน n จำนวนซึ่ง bn = a, ดังนั้นการใช้   จึงไม่อาจใช้อย่างกำกวมได้. รากที่ n ของ รากของเอกภพ จึงมีความสำคัญยิ่ง.

จำนวนสามารถเปลี่ยนไปอยู่ในรูปเอกซ์โปเนนเชียลได้, โดยให้รากที่ต้องการอยู่ในรูปของส่วนในเศษส่วนเลขยกกำลังได้ ดังนี้

 
 
 

ตัวอย่าง:

 
 
  • การที่จะรื้อออกเครื่องหมายกรณฑ์นั้นมีความสำคัญ โดยจะต้องยึดหลักดังต่อไปนี้.
 

เมื่อเข้าใจหลักการพื้นฐานในการนำตัวเลขเข้าและออกเครื่องหมายกรณฑ์แล้ว ก็จะสามารถจัดกลุ่มพหุนามได้ เช่น

 
 
 
 

อ้างอิง

  1. Bansal, R K (2006). New Approach to CBSE Mathematics IX. Laxmi Publications. p. 25. ISBN 9788131800133.
  2. Silver, Howard A. (1986). Algebra and trigonometry. Englewood Cliffs, N.J.: Prentice-Hall. ISBN 0130212709.
  3. Leonhard Euler (1755). Institutiones calculi differentialis (ภาษาละติน).

รากท, สำหร, บความหมายอ, ในทางคณ, ตศาสตร, ของจำนวน, อจำนวน, งเม, อยกกำล, แล, วจะเท, าก, นค, displaystyle, วแปร, อจำนวนท, ใส, เข, าไปเป, นด, กร, ของราก, โดยท, วไปรากของด, กร, จะเร, ยกว, เช, นรากของด, กร, สองเร, ยกว, ารากท, สอง, รากของด, กร, สามเร, ยกว, ารากท, สา. sahrbkhwamhmayxun duthi rut inthangkhnitsastr rakthi n khxngcanwn x khuxcanwn r thisungemuxykkalng n aelwcaethakb x nnkhux r n x displaystyle r n x dd twaepr n khuxcanwnthiisekhaipepndikrikhxngrak odythwiprakkhxngdikri n caeriykwarakthi n echnrakkhxngdikrisxngeriykwarakthisxng rakkhxngdikrisameriykwarakthisam epnxathitwxyangechn 2 khuxrakthisxngkhxng 4 enuxngcak 22 4 2 kkhuxrakthisxngkhxng 4 echnknenuxngcak 2 2 4rakthi n khxngcanwnhnungxacmihlaykhatxbkidaelaimcaepntxngepncanwncringrakehlaniodypktiekhiynaethndwyekhruxnghmaykrnth sungmilksnadngni displaystyle sqrt odyswnbncayawkhlumtwthukdaeninkarodytlxd esmuxnepnwngelbintw rakthisxngkhxng x ekhiynaethndwy x displaystyle sqrt x rakthisamekhiynaethndwy x 3 displaystyle sqrt 3 x rakthisiekhiynaethndwy x 4 displaystyle sqrt 4 x echnnieruxyip emuxcanwnhnungekhiynxyuphayitkrnth mntxngihkhaxxkmaephiyngkhaediywehmuxnfngkchn dngnnrakthiepncanwncringimepnlb sungeriykwa rakthi n mukhsakhy principal n th root caepncanwnthithukeluxkmakkwarakxun canwntidkrnththiimidaecngkhahruxhakhamiid bxykhrngthithukeriykwaesird surd 1 hruxrak radical 2 ipxyangnn inphasaithyniymeriyksn warut root inaekhlkhuls raktang thuxwaepnkrniphiesskhxngykkalngsungmielkhchikalngepnessswndngni x n x 1 n displaystyle sqrt n x x 1 n dd raktang mikhwamsakhyodyechphaakbthvsdikhxngxnukrmxnnt sungkarthdsxbodyrakepntwphicarnarsmikhxngkarluekhakhxngxnukrmkalng rakthi n xacsamarthniyamsahrbcanwnechingsxnaelarakechingsxnkhxng 1 rakpthmthan sungmibthbathsakhyinkhnitsastrchnsung thvsdikalwcanwnmakthiekiywkhxngkbkarphicarnawacanwnechingphichkhnitsamarthekhiynaethninrupkhxngkrnthid naipsuthvsdibthxaebl rffinithiwaphhunamdikrihakhunipodythwipimsamarthhakhatxbidodyichrakephiyngxyangediyw enuxha 1 prawti 2 khunsmbtithwip 3 ptibtikarmulthan 4 xangxingprawti aekikhtnkaenidekiywkbekhruxnghmaykrnth radical symbol root symbol displaystyle sqrt nnyngepnthisngsyxyu odyelxxnhard xxyelxr 3 echuxwamnmithimacakxksrtw r sungepntwxksrkhuntnkhxngkhawa radix inphasalatinxnmikhwamhmayechnediywkbkarkrathathangkhnitsastrthiehmuxnedim sungekhruxnghmaynithuktiphimphkhrngaerkodyimpraktesnlakkhangbninpi kh s 1525 inhnngsux Die Coss ody khristxf rudxlf nkkhnitsastrchaweyxrmn khunsmbtithwip aekikhkhainkrnthtxngimepncanwncringlbcungcayngkhngepncanwncring aethakkhainkrnthtidlb thuxwaepncanwncintphaph khainkrnthhakepnthsniymiperuxy xyangechn 2 1 414213562373095048 displaystyle sqrt 2 1 414213562373095048 caimphbtaaehnngthierimmikarsaid a n b n a b n displaystyle sqrt n a cdot sqrt n b sqrt n ab a b n a n b n displaystyle sqrt n frac a b frac sqrt n a sqrt n b a a a n n n n a n 1 displaystyle sqrt n a sqrt n a sqrt n a sqrt n sqrt n 1 a a a a 1 4 a 1 2 displaystyle sqrt a sqrt a sqrt a sqrt frac 1 sqrt 4a 1 2 a a a 1 4 a 3 2 displaystyle sqrt a sqrt a sqrt a sqrt frac 1 sqrt 4a 3 2 a 2 displaystyle sqrt a 2 neq a displaystyle pm left a right emux a lt 0 displaystyle a lt 0 ptibtikarmulthan aekikhkarichnganekhruxnghmaykrnthnnmidngni a b n a n b n a 0 b 0 displaystyle sqrt n ab sqrt n a sqrt n b qquad a geq 0 b geq 0 a b n a n b n a 0 b gt 0 displaystyle sqrt n frac a b frac sqrt n a sqrt n b qquad a geq 0 b gt 0 a m n a n m a 1 n m a m n displaystyle sqrt n a m left sqrt n a right m left a frac 1 n right m a frac m n a gt 0 b gt 0khnathi a aela b tangepncanwnbwk aelathuk a epncanwnechingsxnthiimichsuny cathaihmi b epncanwnechingsxnthiaetktangkn n canwnsung bn a dngnnkarich a n displaystyle sqrt n a cungimxacichxyangkakwmid rakthi n khxng rakkhxngexkphph cungmikhwamsakhyying canwnsamarthepliynipxyuinrupexksopennechiylid odyihrakthitxngkarxyuinrupkhxngswninessswnelkhykkalngid dngni a m a n a m n displaystyle a m a n a m n a b m a m b m displaystyle left frac a b right m frac a m b m a m n a m n displaystyle a m n a mn twxyang a 5 3 a 4 5 a 5 3 a 4 5 a 25 12 15 a 37 15 displaystyle sqrt 3 a 5 sqrt 5 a 4 a frac 5 3 a frac 4 5 a frac 25 12 15 a frac 37 15 a a 4 a 1 2 a 1 4 a 4 2 8 a 2 8 a 1 4 displaystyle frac sqrt a sqrt 4 a a frac 1 2 a frac 1 4 a frac 4 2 8 a frac 2 8 a frac 1 4 karthicaruxxxkekhruxnghmaykrnthnnmikhwamsakhy odycatxngyudhlkdngtxipni a 5 3 a a a a a 3 a 3 a 2 3 a a 2 3 displaystyle sqrt 3 a 5 sqrt 3 aaaaa sqrt 3 a 3 a 2 a sqrt 3 a 2 emuxekhaichlkkarphunthaninkarnatwelkhekhaaelaxxkekhruxnghmaykrnthaelw kcasamarthcdklumphhunamid echn a 5 3 a 8 3 displaystyle sqrt 3 a 5 sqrt 3 a 8 a 3 a 2 3 a 6 a 2 3 displaystyle sqrt 3 a 3 a 2 sqrt 3 a 6 a 2 a a 2 3 a 2 a 2 3 displaystyle a sqrt 3 a 2 a 2 sqrt 3 a 2 a a 2 a 2 3 displaystyle a a 2 sqrt 3 a 2 xangxing aekikh Bansal R K 2006 New Approach to CBSE Mathematics IX Laxmi Publications p 25 ISBN 9788131800133 Silver Howard A 1986 Algebra and trigonometry Englewood Cliffs N J Prentice Hall ISBN 0130212709 Leonhard Euler 1755 Institutiones calculi differentialis phasalatin ekhathungcak https th wikipedia org w index php title rakthi n amp oldid 9080388, wikipedia, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด,

บทความ

, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม