fbpx
วิกิพีเดีย

ความร้อน

ในทางฟิสิกส์ ความร้อน (ใช้สัญลักษณ์ว่า Q ) หมายถึง พลังงานที่ถ่ายเทจากสสารหรือระบบหนึ่งไปยังสสารหรือระบบอื่นโดยอาศัยความแตกต่างของอุณหภูมิ ในทางอุณหพลศาสตร์จะใช้ปริมาณ TdS ในการวัดปริมาณความร้อน ซึ่งมีความหมายถึง อุณหภูมิสัมบูรณ์ของวัตถุ (T) คูณกับอัตราการเพิ่มของเอนโทรปีในระบบเมื่อวัดที่พื้นผิวของวัตถุ ความร้อนสามารถไหลผ่านจากวัตถุที่มีอุณหภูมิสูงไปยังวัตถุที่มีอุณหภูมิต่ำกว่า หากต้องการให้ความร้อนถ่ายเทไปยังวัตถุที่มีอุณหภูมิเท่ากันหรือสูงกว่าจะทำได้ก็ต่อเมื่อใช้ปั๊มความร้อนเท่านั้น การสร้างแหล่งความร้อนที่มีอุณหภูมิสูงสามารถทำได้จากปฏิกิริยาเคมี (เช่นการเผาไหม้) ปฏิกิริยานิวเคลียร์ (เช่นฟิวชันในดวงอาทิตย์) การเคลื่อนที่ของอนุภาคแม่เหล็กไฟฟ้า (เช่นเตาไฟฟ้า) หรือการเคลื่อนที่ทางกล (เช่นการเสียดสี) โดยที่อุณหภูมิเป็นหน่วยวัดปริมาณของพลังงานภายในหรือเอนทาลปี ซึ่งเป็นพื้นฐานที่ส่งผลต่ออัตราการถ่ายเทความร้อนของวัตถุนั้นๆ

ความร้อนสามารถถ่ายเทระหว่างวัตถุได้สามวิธีคือ การแผ่รังสี การนำความร้อน และการพาความร้อน นอกจากนี้มีกระบวนการถ่ายเทความร้อนอีกแบบหนึ่งคือ ความร้อนแฝง ซึ่งเกิดขึ้นในกระบวนการเปลี่ยนแปลงสถานะ เช่น จากของแข็งเป็นของเหลว หรือจากของเหลวเป็นก๊าซ เป็นต้น

อ้างอิง

  • Cengel, Yungus, A.; Boles, Michael (2002). Thermodynamics: An Engineering Approach (4th ed.). Boston: McGraw-Hill. pp. 17–18. ISBN 0-07-238332-1.

ความร, อน, ในทางฟ, กส, ใช, ญล, กษณ, หมายถ, พล, งงานท, ายเทจากสสารหร, อระบบหน, งไปย, งสสารหร, อระบบอ, นโดยอาศ, ยความแตกต, างของอ, ณหภ, ในทางอ, ณหพลศาสตร, จะใช, ปร, มาณ, ในการว, ดปร, มาณ, งม, ความหมายถ, ณหภ, มบ, รณ, ของว, ตถ, ณก, บอ, ตราการเพ, มของเอนโทรป, ในระบ. inthangfisiks khwamrxn ichsylksnwa Q hmaythung phlngnganthithayethcakssarhruxrabbhnungipyngssarhruxrabbxunodyxasykhwamaetktangkhxngxunhphumi inthangxunhphlsastrcaichpriman TdS inkarwdprimankhwamrxn sungmikhwamhmaythung xunhphumismburnkhxngwtthu T khunkbxtrakarephimkhxngexnothrpiinrabbemuxwdthiphunphiwkhxngwtthu khwamrxnsamarthihlphancakwtthuthimixunhphumisungipyngwtthuthimixunhphumitakwa haktxngkarihkhwamrxnthayethipyngwtthuthimixunhphumiethaknhruxsungkwacathaidktxemuxichpmkhwamrxnethann karsrangaehlngkhwamrxnthimixunhphumisungsamarththaidcakptikiriyaekhmi echnkarephaihm ptikiriyaniwekhliyr echnfiwchnindwngxathity karekhluxnthikhxngxnuphakhaemehlkiffa echnetaiffa hruxkarekhluxnthithangkl echnkaresiydsi odythixunhphumiepnhnwywdprimankhxngphlngnganphayinhruxexnthalpi sungepnphunthanthisngphltxxtrakarthayethkhwamrxnkhxngwtthunnkhwamrxnsamarththayethrahwangwtthuidsamwithikhux karaephrngsi karnakhwamrxn aelakarphakhwamrxn nxkcaknimikrabwnkarthayethkhwamrxnxikaebbhnungkhux khwamrxnaefng sungekidkhuninkrabwnkarepliynaeplngsthana echn cakkhxngaekhngepnkhxngehlw hruxcakkhxngehlwepnkas epntnxangxing aekikhCengel Yungus A Boles Michael 2002 Thermodynamics An Engineering Approach 4th ed Boston McGraw Hill pp 17 18 ISBN 0 07 238332 1 bthkhwamekiywkbfisiksniyngepnokhrng khunsamarthchwywikiphiediyidodyephimkhxmul duephimthi sthaniyxy fisiks ekhathungcak https th wikipedia org w index php title khwamrxn amp oldid 9098190, wikipedia, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด,

บทความ

, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม